Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore นายอับดุลอาซิส ประสิทธิหิมะ-วิชาภาษามลายูกลาง 5 -ชั้น ม. 5

นายอับดุลอาซิส ประสิทธิหิมะ-วิชาภาษามลายูกลาง 5 -ชั้น ม. 5

Published by ครรชิต แซ่โฮ่, 2022-02-05 05:47:36

Description: นายอับดุลอาซิส ประสิทธิหิมะ-วิชาภาษามลายูกลาง 5 -ชั้น ม. 5

Search

Read the Text Version

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน แผนการจดั การเรยี นรู้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร วชิ าภาษามลายกู ลาง 5 โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา นายอบั ดลุ อาซสิ ประสทิ ธหิ มิ ะ ตาแหน่ง ครู โรงเรยี นคณะราษฎรบารงุ จงั หวดั ยะลา สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษายะลา

รายวิชาภาษามลายูกลาง 5 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วิชา ม 32224 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5 ภาคเรยี น 2 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 40 ชวั่ โมง/ภาคเรยี น 1.0 หน่วยกิต ศึกษา ประโยคที่สัมพันธ์กัน พูด เสนอ ตอบรับ และปฏิเสธ กิจกรรม จับใจความสำคัญเกี่ยวกับ ประสบการณ์ในท้องถิ่น สังคม และโลก วิถีชีวิต ความเชื่อ วัฒนธรรม ประเพณี มารยาทการอยู่ในสังคม การ คน้ ควา้ รวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกับกลุ่มสาระการเรยี นร้อู ื่นๆจากแหล่งเรยี นรู้ต่างๆ เทคโนโลยี เครอ่ื งใช้ไฟฟา้ ประวัติ สว่ นตวั Iklan-iklan, Berita-berita อนาชดี และกิจกรรมทางภาษามลายู โดยใชก้ ระบวนการฟัง การพูด การอ่าน และการเขยี น การสืบคน้ การนำเสนอกระบวนการปฏบิ ตั ิ และ กระบวนการเผชญิ สถานการณจ์ รงิ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในการสื่อสาร มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ใฝ่เรียนรู้ มีวินัย ซื้อสัตย์ กล้า แสดงออก มงุ่ มน่ั ในการทำงาน เพ่อื พฒั นาตนเองและสังคมต่อไป ผลการเรยี นรู้ 1. พดู และเขียนแสดงความต้องการ เสนอ ตอบรับ และปฏเิ สธ 2. พูดและเขยี นให้ความชว่ ยเหลอื ในสถานการณจ์ ำลองหรอื สถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม 3. พดู และเขยี นนำเสนอข้อมลู เกียวกบั ตนเอง ประสบการณ์ ข่าวเหตกุ ารณ์ และประเด็นต่างๆ 4. อธิบายวิถชี ีวิต ความคดิ ความเช่อื และท่ีมาของขนบธรรมเนยี มประเพณขี องเจา้ ของภาษา 5. เขา้ ร่วมแนะนำ และจัดกิจกรรมท่เี ก่ียวกับภาษามลายู 6. อภปิ รายความเหมือนและความแตกต่างระหวา่ งวิถชี ีวติ ความเชอ่ื และวฒั นธรรมของมลายแู ละภาษาไทย 7. ค้นคว้า บนั ทึกและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลท่เี กย่ี วขอ้ งกบั กลุม่ สาระการเรยี นรู้อ่ืนจากแหลง่ การ เรยี นรู้ตา่ งๆ 8. สรปุ แสดงความคิดเห็น และนำเสนอข้อมูลทเ่ี ก่ยี วข้องกับกลุม่ สาระการเรยี นรู้อื่นๆจากแหล่งเรยี นรู้อนื่ ดว้ ยการพูดและการเขียน 9. ใชภ้ าษาเพื่อประชาสัมพนั ธ์ในสถานการณ์จริงหรือสถานารณจ์ ำลองทเี่ กิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษา ชุมชน และสังคม

รายวชิ า ภาษามลายกู ลาง 5 การจดั ทำโครงสร้างรายวิชา รหสั วิชา ม 32224 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ภาคเรียนท่ี 2 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ 40 ช่ัวโมง/ภาคเรยี น 1.0 หน่วยกติ ลำดับ ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั ที่ (ชว่ั โมง) คะแนน 1. Tata bahasa 1 - อธิบาย และเขียนประโยค - ประโยคและขอ้ ความการ 5 5 5 5 และข้อความ ระบุ และ ตีความ ถ่ายโอนข้อมลู ให้ 5 5 เขยี นสื่อที่ไมใ่ ชค่ วามเรยี ง สัมพนั ธก์ ับสือ่ ทีไ่ ม่ใชค่ วาม รูปแบบต่างๆใหส้ มั พนั ธ์ เรยี ง เช่น ayat majmuk, กบั ประโยคและข้อความท่ี rajah kata akronim, ฟงั หรอื อา่ น kata sinonim, kata - antonym ดว้ ยการพูดและ การเขยี น 2. Tata bahasa 2 - พดู และเขยี นแสดงความ - ภาษาทใี่ ช้ในการส่ือสาร ต้องการ เสนอ ตอบรับ เช่น ayat nyata, ayat และปฏิเสธ nafi - พดู และเขียนให้ความ - Boleh saya tolong, sila ช่วยเหลอื ในสถานการณ์ masuk dan jemput จำลองหรอื สถานการณ์ makan เป็นตน้ จรงิ อยา่ งเหมาะสม 3. Iklan dan berita - พูดเขียนสรุปใจความ - การจับใจความสำคญั การ Dunia hari ini สำคญั และแสดงความ วเิ คราะห์เรอ่ื งและแสดง คิดเหน็ เกยี่ วกบั กิจกรรม ความคดิ เหน็ เกย่ี วกับ ประสบการณ์ทว่ั ไปใน กิจกรรมและประสบการณ์ ท้องถ่ิน สังคมและโลก ตา่ งๆ เช่น pemanasan global

พร้อมทั้งให้เหตผุ ลและ ยกตวั อย่างประกอบ - ลำดับ ชอ่ื หน่วยการเรียนรู้ ผลการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั ที่ (ช่วั โมง) คะแนน 4. Simpulan bahasa - อธบิ ายวิถีชวี ติ ความคิด - วถิ ีชวี ติ ความคิด ความเช่ือ 5 5 ความเชอื่ และทมี่ าของ ของคนมลายู และทม่ี าของ 5 2 5 20 ขนบธรรมเนยี มประเพณี ขนบธรรมเนยี มประเพณี 2 ของเจ้าของภาษา มลายูเชน่ peribahasa, - เขา้ ร่วม แนะนำ และจัด simpulan bahasa, กิจกรรม bidalan - การจัดป้ายนเิ ทศ ภาษา มลายู แผ่นพบั เกี่ยวกบั สำนวนไทยเปรียบเทยี บ สำนวนมลายู 5. Kehidupan - อภปิ รายความเหมือน - การอภปิ รายความเหมอื น seharian และความแตกต่าง และความแตกต่างระหว่าง ระหวา่ งวถิ ีชีวติ ความเช่ือ วถิ ีชวี ติ ความเชอ่ื และ และวัฒนธรรมของมลายู วัฒนธรรมมลายูและไทย และไทย ผ่านวรรณกรรม สอบกลางภาค 6. Teknologi - สรุป แสดงความคดิ เห็น -การคน้ ควา้ การบันทกึ การ และนำเสนอข้อมูลท่ี สรปุ การแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวขอ้ งกับกลุ่มสาระการ และการนำเสนอข้อมลู ท่ี เรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ เกยี่ วขอ้ งกบั กลุ่มสาระการ อนื่ ดว้ ยการพูดและการ เรียนรอู้ ื่นจากแหลง่ เรียนรู้ เขยี น ตา่ งๆ เชน่ teknologi, alat- alat alekterik

7. Keadaan - ใช้ภาษาสอ่ื สารใน - สนทนาในสถานการณต์ ่างๆ 5 2 ekonomi dan 5 sosial สถานการณ์จรงิ หรือ perbualan di hospital 4 30 8. Peristiharan จำลองทเี่ กดิ ขึน้ ใน -Suasana di setesen bas 100 คะแนน หอ้ งเรยี นสถานศกึ ษา -ประชาสัมพันธ์ ชมุ ชน และสังคม - Berita-berita - ใช้ภาษาเพ่ือ -Ekonomi, social, politik, ประชาสัมพันธ์ใน sukan สถานการณจ์ ริงหรือ -พิจารณ์ภาษาบนฉลาก จำลองทเี กิดขึ้นใน ผลติ ภณั ฑ์อาหารและยา เชน่ หอ้ งเรียนและสถานศึกษา tanggal buat ชมุ ชน และสงั คม - Kandungan - ใชภ้ าษาในชวี ติ ประจำวัน สถานศกึ ษา ชมุ ชน และ สังคม - เผยแพร่ ประชา - ประชาสัมพันธ์อาชีพใน สมั พนั ธข์ อ้มูล ข่าวสาร ท้องถนิ่ และข้อมูลประเทศ ของโรงเรยี น ชุมชน และ อาเซียนในด้านตา่ ง เช่น สังคม makanan, pakaian, bahasa dan budaya สอบปลายภาค รวมตลอดภาคเรียน 1. คะแนนเก็บกอ่ นสอบกลางภาค 30 คะแนน 2. คะแนนสอบกลางภาค 20 คะแนน 3. คะแนนเกบ็ หลังสอบกลางภาค 20 คะแนน 4. คะแนนสอบปลายภาค 30 คะแนน รวม 100 คะแนน หมายเหตุ สามารถปรับเปลี่ยนตารางได้ตามหนว่ ยการเรยี นรู้

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 1 กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวิชา ภาษามลายูกลาง รหสั วิชา ม32224 หนว่ ยการเรยี นรู้ tata bahasa1 meN : me ชั้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ หนว่ ยกติ 1.0 ครผู ู้สอน นายอับดุลอาซสิ ประสทิ ธหิ ิมะ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลา สพม.ยะลา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั มาตรฐานการเรยี นรู้ ต.1.1 เขา้ ใจ และตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เหน็ อยา่ งมี เหตผุ ล ผลการเรยี นรู้ 1. มีทักษะในการเลอื กใช้อุปสรรค meN 2. สามารถสร้างประโยคอย่างงายจากอปุ สรรค meN 3. สามารถอธิบายโครงสรา้ งหรือหลักการการเติมอุปสรรค meN ใน imbuhan 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ดา้ นความรู้ (K) ผ้เู รียนรแู้ ละเข้าใจในหลักการใชเ้ กย่ี วกบั การเติม meN และสามารถแยกแยะชนิดของ คำหรอื รากศัพท์ (kata dasar) โดยเฉพาะ awalan 2.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรยี นมที กั ษะในการเลือกใช้ meN และสามารถสร้างประโยคจากเตมิ อปุ สรรคได้ อยา่ งถูกต้อง และสามารถระบวุ ธิ การใช้ได้ 2.3 ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) ผู้เรยี นมีเจตคติทด่ี ีต่อภาษามลายูหลกั การของ tata bahasa Melayu และสามารถ เข้าใจวัตถปุ ระสงค์ของการใช้ภาษาได้ 3. สาระสำคัญ meN- เปน็ me- เมอ่ื พบกับคำรากศัพทท์ ่ีขนึ้ ตน้ ด้วยอักษร m, n, ny, ng, r, l, y, w 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) การสรา้ งประโยคอย่างง่ายจากอปุ สรรคปจั จยั เช่น Masak = memasak

Nanti = menanti Nyanyi = menyanyi 4.1 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผูเ้ รยี นสามารถใช้และเลือกอุปสรรคปัจจยั ไดถ้ ูกต้องตามหลักการใช้ bahasa Melayu และมี ทกั ษะในการสนทนาโต้ตอบในสถานการณ์จรงิ อย่างเหมาะสม 4.2 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) ผู้เรียนมีเจตคตทิ ด่ี ีต่ ่อการเรียนภาษามลายู และเขา้ ใจถึงวฒั นธรรมมลายู 5. ช้นิ งาน หรอื ภาระงาน 1. สร้างประโยคโดยเลือกหรือใช้อปุ สรรคการเติมหน้าจากรากศพั ท์ คนละ 10 คำ 2. ตรวจสมุด และชน้ิ งานท่ที ำจากใบงาน 6. คำถามสำคัญ อปุ สรรค meN กลายเป็น me ใช้อยา่ งไร อธิบายอย่างละเอียด 7. การจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ โดยใช้รปู แบบการสอนดังน้ี ขั้นนำ (ชวั่ โมงที่ 1) ผู้สอนควรเร่ิมต้นด้วยการอธิบายหลักการใช้ หรือกฎของของฐานเสียงใหก้ บั นกั เรียน และอธิบาย เปรยี บเทยี บระหว่างเสยี งภาษาไทยและภาษามลายู เพือ่ ให้นกั เรียนเกดิ ความสงสัยและตั้งคำถามใน กระบวนการของ process skill ท่ีเรยี กวา่ ข้ันเผชญิ ปัญหา หรอื การริเริ่มต้ังคำถามจากทักษะทเ่ี รยี น เมือ่ เกดิ การตั้งคำถามจากนกั เรียน ครจู ะกระตุ้นให้นกั เรียนได้ได้ถกเถียงในประเดน็ ปญั หาเพ่อื นำไปสู่ การแกป้ ัญหาดว้ ยวิธที ่หี ลากหลาย และครูใหโ้ อกาสนักเรียนทกุ คนได้ฝกึ คิด และฝึกการต้ังคำถามว่า วิธีการใช้ me และหลักการใช้อยา่ งไร หลงั จากนั้น ครูยกตัวอย่าง เพื่อใหน้ ักเรยี นมองหลักการใชไ้ ด้ อยา่ งถูกต้องตามหลักการและยกตัวอย่างการใชค้ ำจากสอ่ื เอกกสารประกอบการสอน และสอ่ื จากขา่ วใน เว็ป berita online ของประเทศมาเลเซีย เพ่ือใหน้ กั เรียนได้สังเกตและดเู พื่อทำความเข้าใจในการ เรียนรเู้ รื่อง meN ในประโยคทางการและไมเ่ ป็นทางการวา่ ต่างกนั อยา่ งไร ขน้ั กิจกกรม ครูเร่ิมต้นด้วยการสอนเรื่อง คำศัพท์ และเขียนรากศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากนั้นเมื่อครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานุกรมท่ีครูเตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือก

และเขียนหรือปฏบิ ัติจริงตามหลักการ เม่ือเขียนเสรจ็ ให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปตามความเข้าใจ เพ่ือให้ผู้สอน ทำความเข้าใจวา่ นักเรยี นเขา้ ใจมากนอ้ ยเพียงใด เมื่อนักเรียนอธบิ ายให้ครูเสร็จ คุณครกู ็ใหค้ ำแนะนำ และอธิบายหลกั การใช้ meN ในภาษามลายูให้ ถกู ต้อง และใหน้ ักเรียนจัดกลุม่ เพ่ือค้นคว้าแสวงหาความรู้ เพ่ือนำเสนอหน้าห้องเรียน และให้แต่ละกลุ่มอภิปราย วเิ คราะหก์ ารทำงานของกลมุ่ ปัญหาและอุปสรรคในการทำงาน ข้ันสรุป และนำไปใช้ (ชวั่ โมงที่ 2) ครูทบทวนหลกั การใช้ meN เพอื่ ให้นักเรียนจำรากของคำศัพทแ์ ละความหมายของคำ และสามารถ นำไปใชใ้ นชีวติ จริง พร้อมๆกับใหค้ ำปรกึ ษาแก่นกั เรียน และตอบคำถามทนี่ ักเรยี นสงสัย สง่ เสรมิ สนบั สนุนหาก นกั เรียนยังต้องการแสวงหาความรู้เพ่มิ เติมต่อไป 8. การจัดบรรยากาศเชิงบวก 1. การจดั โต๊ะเรยี น และเก้าอ้ีของผูเ้ รียน 1.1 มีชอ่ งวา่ งระหวา่ งโต๊ะเรยี น เพ่ือใหผ้ เู้ รยี นทำกิจกรรมไดค้ ล่องตวั 1.2 มีความสะดวกต่อการจัดเขาที่ เมื่อดำเนนิ กิจกรรมการเรยี นการสอนเสรจ็ 1.3 ห้องเรยี นควรเปิดหนา้ ต่างเพือ่ ให้อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก และเพ่ิมความสวา่ งให้แก่ หอ้ งเรียน 2. .ให้รางวัลกบั นกั เรยี นทตี่ ่งั ใจเรียน และมีความซ่ือสัตย์ 9. สอื่ /แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. Power point/ website 10. การประเมนิ การเรียนรู้ 1. สะกดรากศัพท์ อ่านออกเสยี ง และบอกความหมายของรากคำศัพทไ์ ดถ้ กู ตอ้ ง 2. เขียนบทสนทนาอยา่ งง่ายได้ เชน่ การเลือกใชร้ ากศพั ท์กับ awalan โดยใช้แบบฝึกหัดในการ เขียน (ดตู ารางด้านล่าง) 3. ตรวจแบบฝกึ หดั ใชแ้ บบประเมนิ ทดสอบ (ดูตารางด้านลา่ ง)

ตารางเกณฑ์ทดสอบ วธิ ีการวัด เคร่ืองมอื เกณฑ์ คะแนน 5-10 ผ่าน การตอบแบทดสอบ แบบประเมินแบบทดสอบ คะแนน 0-4 ไมผ่ ่าน คะแนน 5-10 ผา่ น การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม คะแนน 0-4 ไมผ่ า่ น ตารางเกณฑ์ทดสอบการทดสอบ คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ การทดสอบ 5 ไม่มีขอ้ ผดิ พลาดในการเลอื กใชร้ ากศพั ท์ และเลือกใช้ meN 4 มขี ้อผิดพลาดเลก็ น้อย กลา่ วคือ การเลอื กใชร้ ากศพั ท์ และเลือกใช้ meN ออกไม่ คอ่ ยชัด และสะกดผิดเล็กนอ้ ย ประมาณ 80-90% 3 มขี ้อผิดพลาดบ้าง กลา่ วคือ การเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชดั บ้าง และสะกดผิดบ้าง ประมาณ 60-70% 2 มขี อ้ ผิดพลาดค่อนข้างบ่อยครั้ง กลา่ วคอื การเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชดั บอ่ ยครั้ง และสะกดผดิ บ่อยครงั้ ประมาณ 50% 1 มีข้อผดิ พลาดเป็นส่วนใหญ่ และการเลอื กใช้รากศัพท์ และเลอื กใช้ meN ออกไม่ ชดั เจนตามหลักภาษามลายูกลาง ตารางเกณฑท์ ดสอบชิน้ งาน คะแนน เกณฑ์ ช้นิ งาน 2 = ผา่ น -สง่ งานแบบฝกึ หัดตรงตามเวลา 1 = ผ่าน -ส่งงานแบบฝกึ หัดไมต่ รงตามเวลา แบบฝกึ หดั คำศัพท์ (เอกสาร 0 = ไมผ่ า่ น -ไม่สง่ งานแบบฝึกหัดเลย ประกอบการสอน ) การประเมินคณุ ลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี น ผู้ที่ใฝเ่ รยี นรู้ คือ ผทู้ ่มี ลี ักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ แสวงหาความร้จู ากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้วยการเลอื กใช้ส่ือ

อย่างเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เป็นองค์ความรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชวี ติ ประจำวันได้ การประเมินคณุ ลักษณะ รายการท่ีสังเกต 3 คะแนน 1 2 มเี จตคติท่ดี ี เขา้ รว่ มกิจกรรมกับเพอื่ นๆได้ เข้ารว่ มกิจกรรมกบั เพื่อน ไม่เขา้ รว่ มกจิ กรรมกับ ทุกคน เปน็ บางครั้ง เพ่ือนหรือเพื่อนต่างๆ ห้องเรยี น ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น ต้งั ใจ เพยี รพยายามในการ ไมค่ ่อยต้ังใจ เพยี ร ไมต่ ้งั ใจ เพยี รพยายามใน เรยี น และเข้ารว่ มกิจกรรม พยายามในการเรยี น และ การเรยี น และไมเ่ ข้ารว่ ม การเรียนรู้ ไมค่ ่อยเขา้ รว่ มกจิ กรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้ การเรียนรู้ มจี ิตสาธารณะ ชว่ ยเหลอื กลมุ่ หรอื เพ่ือนๆ ไมช่ ว่ ยเหลอื กลุ่ม หรือ ไม่ชว่ ยเหลือกลุม่ หรือ เพอ่ื นๆ ทกุ คร้งั เมอื่ มโี อกาส เพื่อนเมือ่ มโี อกาส หมายเหตุ 3 หมายถงึ ปฏบิ ัตอิ ยา่ งสม่ำเสมอ 2 หมายถงึ ปฏบิ ัติเปน็ บางคร้ัง 1 หมายถงึ ไมป่ ฏบิ ัตเิ ลย 11. กิจกรรมเสนอแนะ (ถ้ามี) .......................................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............................................. 12. ความรู้เพ่มิ เติม(ถา้ มี) นกั เรยี นสามารถที่จะหาอ่านหนังสือ tata bahasa Melayu ผ่านเวป็ https://dosenbahasa.com/fungsi-imbuhan-me

13. ใบงาน (แนบไว้ท้ายแผน) มีใบงานแนบท้ายให้นักเรยี นได้ทำความเข้าใจ 14. การประเมินผลการใชแ้ ผนการจดั การเรยี นรู้ (บนั ทกึ หลงั สอน) ผลการจดั การเรยี นรู้ ปญั หาและอปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ปญั หา นกั เรียนบางคนยังจำคำศัพท์ และ ใหน้ กั เรียนไดฝ้ ึกการออกเสียง ฝึกใหน้ ักเรยี นไดใ้ ช้เทคโนโลยี เชน่ การ อัดคลิปเสยี งของตนเอง และฝึกการออก รากศัพทย์ งั ไม่ได้ และขาดทักษะ ภาษามลายู และคดิ วิเคราะห์ เสยี งโดยใช้ Istragram, แชท facebook เป็นตน้ ของการคดิ วเิ คราะห์ แกป้ ัญหา และ แกป้ ัญหาโดยการใช้เหตผุ ล ยงั ออกเสยี งภาษามลายูไม่ถูกตอ้ ง ทักษะการทำงานเปน็ และ ตามอักขระ ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยี ลงชือ่ ………………………………………. (นายอับดุลอาซิส ประสิทธหิ ิมะ) ครู 15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมาย (ตรวจสอบ, นเิ ทศ, เสนอแนะ, รับรอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………. (นายรสุ ลาน สาแม) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ 2 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ รายวิชา ภาษามลายกู ลาง รหสั วิชา ม32224 หน่วยการเรยี นรู้ tata bahasa1 meN : mem ช้ัน มธั ยมศึกษาตอนปลาย เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ หนว่ ยกติ 1.0 ครผู ูส้ อน นายอับดุลอาซสิ ประสทิ ธิหมิ ะ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา สพม.ยะลา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชว้ี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ ต.1.1 เข้าใจ และตีความเรื่องท่ีฟังและอ่านจากสื่อประเภทตา่ งๆ และแสดงความคดิ เหน็ อย่างมี เหตผุ ล ผลการเรยี นรู้ 1. มีทักษะในการเลือกใชอ้ ุปสรรค meN 2. สามารถสร้างประโยคอย่างงายจากอุปสรรค meN 3. สามารถอธิบายโครงสร้างหรือหลกั การการเติมอุปสรรค meN ใน imbuhan 2. จุดประสงค์การเรยี นรู้ 2.1 ด้านความรู้ (K) ผู้เรียนรู้และเขา้ ใจในหลักการใชเ้ กย่ี วกบั การเติม meN และสามารถแยกแยะชนดิ ของ คำหรอื รากศัพท์ (kata dasar) โดยเฉพาะ awalan 2.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผเู้ รยี นมที กั ษะในการเลอื กใช้ meN และสามารถสรา้ งประโยคจากเติมอุปสรรคได้ อยา่ งถูกต้อง และสามารถระบวุ ิธการใชไ้ ด้ 2.3 ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผู้เรียนมเี จตคตทิ ่ดี ีต่อภาษามลายูหลักการของ tata bahasa Melayu และสามารถ เขา้ ใจวัตถุประสงค์ของการใช้ภาษาได้ 3. สาระสำคญั meN- เป็น mem-เม่ือพบกับคำรากศัพท์ทข่ี ้ึนต้นด้วยอักษร b และคำยืมจากภาษาต่างประเทศทข่ี ึน้ ต้น ด้วย f, p, v 4. สาระการเรียนรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K)

การสร้างประโยคอย่างง่ายจากอุปสรรคปัจจัย เชน่ Beri = member Bantu = membantu Baca = membaca Fitnah = memfitnah (ใส่ร้าย) (ยมื ภาษาอาหรับ) Proses = memproses (ยมื ภาษาองั กฤษ) 4.1 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผเู้ รียนสามารถใช้และเลือกอุปสรรคปัจจัยได้ถูกต้องตามหลักการใช้ bahasa Melayu และมี ทักษะในการสนทนาโต้ตอบในสถานการณ์จรงิ อยา่ งเหมาะสม 4.2 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ผเู้ รยี นมีเจตคตทิ ่ีดตี่ ่อการเรยี นภาษามลายู และเขา้ ใจถึงวัฒนธรรมมลายู 5. ช้นิ งาน หรอื ภาระงาน 1. สร้างประโยคโดยเลือกหรือใช้อุปสรรคการเติมหน้าจากรากศพั ท์ คนละ 10 คำ 2. ตรวจสมุด และช้ินงานที่ทำจากใบงาน 6. คำถามสำคัญ อุปสรรค meN กลายเปน็ mem ใช้อยา่ งไร อธบิ ายอย่างละเอียด 7. การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการสอนดงั น้ี ขนั้ นำ (ชว่ั โมงท่ี 1) ผู้สอนควรเริ่มตน้ ดว้ ยการอธบิ ายหลกั การใช้ หรอื เร่ืองของฐานเสยี ง พร้อมยกตัวอย่าง เพ่ือให้ นักเรยี นมองหลักการใชไ้ ด้อย่างถูกต้องตามหลักการและยกตวั อยา่ งการใชค้ ำจากสื่อเอกสาร ประกอบการสอน และส่ือจากข่าวในเว็ป berita online ของประเทศมาเลเซีย เพอ่ื ให้นกั เรยี นได้สังเกต และดูเพ่ือทำความเขา้ ใจในการเรยี นรเู้ รื่อง meN ในประโยคทางการและไมเ่ ปน็ ทางการว่าตา่ งกนั อย่างไร โดยใช้ขนั้ ตอน การเสนอปัญหา พจิ ารณาปัญหา แสวงหาความรู้ และการวดิ เคราะห์ เพ่ือ อภปิ รายภายในกลมุ่ พรอ้ มท้ังหาคำตอบ ขัน้ กจิ กกรม ครูเริ่มต้นด้วยการสอนเร่ือง คำศัพท์ และเขียนรากศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากนั้นเม่ือครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานุกรมท่ีครูเตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือก

และเขียนหรือปฏบิ ัติจริงตามหลักการ เมื่อเขียนเสร็จให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปตามความเข้าใจ เพื่อให้ผู้สอน ทำความเข้าใจวา่ นกั เรียนเขา้ ใจมากน้อยเพยี งใด เม่ือนักเรียนอธิบายให้ครเู สรจ็ คณุ ครูก็ให้คำแนะนำ และอธิบายหลักการใช้ meN ในภาษามลายใู ห้ ถูกต้อง ขนั้ สรปุ และนำไปใช้ (ชว่ั โมงท่ี 2) ครูทบทวนหลักการใช้ meN เพื่อให้นักเรียนจำรากของคำศัพท์และความหมายของคำ และสามารถ นำไปใช้ในชีวติ จรงิ พร้อมๆกบั ให้คำปรึกษาแก่นกั เรียน และตอบคำถามท่ีนักเรียนสงสัย และสรปุ นักเรยี นที่ยังไม่ เคยเรียนภาษามลายูมาก่อนและนักเรยี นที่เคยเรียนภาษามลายู เพราะนำวิเคราะห์ให้เป็นขั้นเป็นตอน เพื่อลงมือ ปฏิบัติ ทำกิจกรรม โดยมีครูกำกับดูแล และฝึกฝนจนเกิดทักษะ สามารถปฏิบัติตามข้ันตอนได้และรับรู้ข้ันตอน ท้ังหมด จนสามารถนำมาใช้ไดอ้ ย่างอตั โนมตั แิ ละนำไปใชไ้ ด้จริงในสถานการณต์ ่างๆ 8. การจัดบรรยากาศเชงิ บวก 1. การจดั โต๊ะเรียน และเกา้ อ้ีของผเู้ รียน 1.1 มีช่องว่างระหวา่ งโต๊ะเรยี น เพือ่ ให้ผเู้ รียนทำกจิ กรรมได้คล่องตวั 1.2 มีความสะดวกตอ่ การจัดเขาที่ เมื่อดำเนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอนเสรจ็ 1.3 หอ้ งเรียนควรเปิดหน้าต่างเพอื่ ใหอ้ ากาศถา่ ยเทไดส้ ะดวก และเพิ่มความสวา่ งให้แก่ หอ้ งเรียน 2. .ใหร้ างวลั กับนักเรยี นทีต่ ัง่ ใจเรียน และมีความซ่อื สัตย์ 9. สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. Power point/ website 10. การประเมินการเรยี นรู้ 1. สะกดรากศัพท์ อ่านออกเสียง และบอกความหมายของรากคำศัพท์ได้ถกู ต้อง 2. เขยี นบทสนทนาอยา่ งงา่ ยได้ เช่น การเลอื กใช้รากศพั ทก์ ับ awalan โดยใช้แบบฝกึ หดั ในการ เขยี น (ดตู ารางด้านล่าง) 3. ตรวจแบบฝกึ หดั ใชแ้ บบประเมินทดสอบ (ดตู ารางดา้ นล่าง)

ตารางเกณฑ์ทดสอบ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์ คะแนน 5-10 ผ่าน การตอบแบทดสอบ แบบประเมินแบบทดสอบ คะแนน 0-4 ไมผ่ า่ น คะแนน 5-10 ผา่ น การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม คะแนน 0-4 ไม่ผา่ น ตารางเกณฑ์ทดสอบการทดสอบ คะแนน เกณฑ์การประเมนิ การทดสอบ 5 ไมม่ ีขอ้ ผิดพลาดในการเลอื กใชร้ ากศพั ท์ และเลือกใช้ meN 4 มขี ้อผดิ พลาดเล็กน้อย กล่าวคือ การเลอื กใช้รากศัพท์ และเลือกใช้ meN ออกไม่ คอ่ ยชัด และสะกดผิดเล็กน้อย ประมาณ 80-90% 3 มีขอ้ ผิดพลาดบ้าง กลา่ วคือ การเลอื กใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชดั บ้าง และสะกดผิดบา้ ง ประมาณ 60-70% 2 มขี อ้ ผดิ พลาดค่อนข้างบ่อยครั้ง กลา่ วคอื การเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชดั บอ่ ยคร้งั และสะกดผิดบ่อยครงั้ ประมาณ 50% 1 มขี อ้ ผิดพลาดเป็นส่วนใหญ่ และการเลอื กใช้รากศพั ท์ และเลือกใช้ meN ออกไม่ ชดั เจนตามหลักภาษามลายูกลาง ตารางเกณฑ์ทดสอบชิน้ งาน คะแนน เกณฑ์ ชิน้ งาน 2 = ผา่ น -สง่ งานแบบฝกึ หัดตรงตามเวลา 1 = ผา่ น -ส่งงานแบบฝึกหัดไมต่ รงตามเวลา แบบฝกึ หดั คำศัพท์ (เอกสาร 0 = ไมผ่ า่ น -ไม่สง่ งานแบบฝึกหดั เลย ประกอบการสอน ) การประเมินคณุ ลักษณะ ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถงึ ความต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหล่งเรียนรู้ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ท่ีใฝเ่ รยี นรู้ คือ ผูท้ มี่ ีลักษณะแสดงออกถึงความต้ังใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ แสวงหาความร้จู ากแหลง่ เรียนรู้ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้วยการเลอื กใช้ส่ือ

อยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เป็นองค์ความรู้ แลกเปลย่ี นเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ การประเมนิ คุณลักษณะ รายการทีส่ งั เกต 3 คะแนน 1 2 มเี จตคติท่ดี ี เขา้ ร่วมกิจกรรมกบั เพ่อื นๆได้ เข้าร่วมกิจกรรมกับเพอ่ื น ไม่เขา้ ร่วมกจิ กรรมกับ ทกุ คน เปน็ บางครงั้ เพอ่ื นหรือเพื่อนตา่ งๆ ห้องเรยี น ใฝ่รใู้ ฝเ่ รยี น ตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการ ไมค่ ่อยต้ังใจ เพียร ไมต่ ั้งใจ เพียรพยายามใน เรยี น และเข้าร่วมกจิ กรรม พยายามในการเรียน และ การเรยี น และไม่เข้ารว่ ม การเรียนรู้ ไมค่ ่อยเขา้ ร่วมกิจกรรม กิจกรรมการเรยี นรู้ การเรียนรู้ มีจติ สาธารณะ ช่วยเหลือกลุม่ หรอื เพ่ือนๆ ไมช่ ว่ ยเหลือกลมุ่ หรือ ไมช่ ่วยเหลอื กลุ่ม หรือ เพ่อื นๆ ทกุ ครง้ั เม่อื มีโอกาส เพอื่ นเมื่อมโี อกาส หมายเหตุ 3 หมายถงึ ปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิเปน็ บางคร้ัง 1 หมายถึง ไม่ปฏบิ ัติเลย 11. กจิ กรรมเสนอแนะ (ถ้ามี) นกั เรยี นทำคลิปใน Instragram และ facebook 12. ความรู้เพ่ิมเติม(ถ้าม)ี ข้อมลู tata bahasa จากเวป็ Imbuhan Awalan (tripod.com) 13. ใบงาน (แนบไวท้ ้ายแผน) เอกสารประกอบการเรียน

14. การประเมนิ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (บันทกึ หลังสอน) ผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหาและอปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ปญั หา นกั เรียนมีทักษะในการจดจำ นักเรยี นเร่ิมเข้าใจในหนา้ ท่ีของ ศึกษาองค์ประกอบของรูปคำ คำผสม คำศัพท์ และสามารถสร้างประโยค คำศัพท์ และสามารถจดจำได้ใน และหน้าที่ของคำ เพ่ือให้สามารถใช้ อย่างงา่ ย และวิเคราะหโ์ ครงสรา้ ง ระดบั หนง่ึ เพราะนักเรยี นเคย ภาษามลายูอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้ หรือหน้าท่ีของคำได้ ถกเถยี งในประเดน็ เดียวกัน จาก แนวคิด process skill คาบทผี่ ่านมา เรื่อง tata bahasa 1 -me ลงชือ่ ………………………………………. (นายอับดุลอาซสิ ประสทิ ธิหิมะ) ครู 15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาตา่ งประเทศ หรือผูท้ ไ่ี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ, นิเทศ, เสนอแนะ, รบั รอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………. (นายรสุ ลาน สาแม) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ

แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 3 กลุม่ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวชิ า ภาษามลายกู ลาง รหสั วิชา ม32224 หน่วยการเรียนรู้ tata bahasa meN : men ชั้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ หนว่ ยกติ 1.0 ครูผู้สอน นายอับดลุ อาซสิ ประสิทธหิ ิมะ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา สพม.ยะลา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั มาตรฐานการเรียนรู้ ต.1.1 เขา้ ใจ และตีความเรื่องทฟ่ี ังและอ่านจากสื่อประเภทตา่ งๆ และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมี เหตุผล ผลการเรยี นรู้ 1. มีทักษะในการเลือกใชอ้ ุปสรรค meN 2. สามารถสร้างประโยคอย่างงายจากอปุ สรรค meN 3. สามารถอธิบายโครงสรา้ งหรือหลักการการเติมอุปสรรค meN ใน imbuhan 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 ดา้ นความรู้ (K) ผู้เรยี นรู้และเข้าใจในหลักการใช้เก่ยี วกบั การเติม meN และสามารถแยกแยะชนดิ ของ คำหรอื รากศัพท์ (kata dasar) โดยเฉพาะ awalan 2.2 ดา้ นทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคิด (P) ผเู้ รยี นมที ักษะในการเลอื กใช้ meN และสามารถสร้างประโยคจากเติมอุปสรรคได้ อย่างถูกต้อง และสามารถระบุวิธการใชไ้ ด้ 2.3 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผเู้ รียนมีเจตคตทิ ด่ี ตี ่อภาษามลายูหลกั การของ tata bahasa Melayu และสามารถ เข้าใจวัตถุประสงคข์ องการใช้ภาษาได้ 3. สาระสำคัญ meN- เป็น mem-เม่ือพบกับคำรากศัพท์ท่ีขึ้นตน้ ด้วยอักษร b และคำยืมจากภาษาตา่ งประเทศท่ีขึ้นต้น ดว้ ย f, p, v 4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K)

การสรา้ งประโยคอยา่ งง่ายจากอุปสรรคปจั จัย เช่น Beri = member Bantu = membantu Baca = membaca Fitnah = memfitnah (ใส่ร้าย) (ยมื ภาษาอาหรับ) Proses = memproses (ยมื ภาษาองั กฤษ) 4.1 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคิด (P) ผูเ้ รยี นสามารถใช้และเลือกอุปสรรคปจั จัยได้ถูกต้องตามหลกั การใช้ bahasa Melayu และมี ทักษะในการสนทนาโตต้ อบในสถานการณจ์ รงิ อยา่ งเหมาะสม 4.2 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ผเู้ รยี นมเี จตคติทด่ี ตี่ ่อการเรยี นภาษามลายู และเข้าใจถึงวัฒนธรรมมลายู 5. ช้นิ งาน หรอื ภาระงาน 1. สร้างประโยคโดยเลือกหรือใช้อุปสรรคการเติมหนา้ จากรากศัพท์ คนละ 10 คำ 2. ตรวจสมุด และช้ินงานทท่ี ำจากใบงาน 6. คำถามสำคญั อุปสรรค meN กลายเปน็ men ใช้อย่างไร อธบิ ายอยา่ งละเอียด 7. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใช้รูปแบบการสอนดังน้ี ขนั้ นำ (ช่ัวโมงที่ 1) ผูส้ อนควรเริม่ ต้นดว้ ยการอธบิ ายหลกั การใช้ หรือเรื่องของฐานเสียง พร้อมยกตวั อย่าง เพื่อให้ นักเรียนมองหลักการใชไ้ ด้อย่างถูกต้องตามหลกั การและยกตวั อย่างการใชค้ ำจากส่ือเอกกสารประกอบ การสอน และสื่อจากข่าวในเว็ป berita online ของประเทศมาเลเซยี และเปน็ กระบวนการเสาะ แสวงหาความรูห้ รอื ค้นควา้ หาความรู้ให้ตรงตามนกั เรยี นในศตวรรษท่ี 21 เพอื่ ใหน้ กั เรียนได้สังเกตและดู เพื่อทำความเขา้ ใจในการเรยี นรู้เรื่อง meN ในประโยคทางการและไม่เปน็ ทางการวา่ ต่างกันอย่างไร ขนั้ กิจกกรม ครูเริ่มต้นด้วยการสอนเรื่อง คำศัพท์ และเขียนรากศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากนั้นเมื่อครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานุกรมที่ครูเตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือก และเขียนหรือปฏบิ ัติจริงตามหลักการ เม่ือเขียนเสรจ็ ให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปตามความเข้าใจ เพ่ือให้ผู้สอน ทำความเขา้ ใจวา่ นกั เรยี นเข้าใจมากนอ้ ยเพยี งใด

เมอื่ นกั เรยี นอธบิ ายให้ครเู สรจ็ คุณครกู ็ใหค้ ำแนะนำ และอธิบายหลักการใช้ meN ในภาษามลายใู ห้ ถกู ต้อง ขนั้ สรุป และนำไปใช้ (ชว่ั โมงท่ี 2) ครูทบทวนหลักการใช้ meN เพื่อให้นักเรียนจำรากของคำศัพท์และความหมายของคำ และสามารถนำไปใช้ใน ชวี ิตจริง พร้อมๆกับให้คำปรึกษาแก่นักเรียน และตอบคำถามท่ีนักเรียนสงสัย และศึกษาองค์ประกอบของรูปคำ คำผสม และหนา้ ทข่ี องคำ เพื่อให้สามารถใชภ้ าษามลายูอย่างมีประสทิ ธภิ าพ 8. การจัดบรรยากาศเชิงบวก 1. การจัดโตะ๊ เรยี น และเกา้ อ้ีของผเู้ รียน 1.1 มชี อ่ งว่างระหว่างโต๊ะเรยี น เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นทำกิจกรรมได้คลอ่ งตัว 1.2 มีความสะดวกตอ่ การจดั เขาที่ เม่ือดำเนินกิจกรรมการเรยี นการสอนเสร็จ 1.3 หอ้ งเรียนควรเปิดหน้าต่างเพ่ือให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเพิ่มความสว่างใหแ้ ก่ หอ้ งเรียน 2. .ใหร้ างวลั กบั นักเรยี นทตี่ ่ังใจเรยี น และมีความซอ่ื สัตย์ 9. สือ่ /แหล่งเรียนรู้ 4. ใบความรู้ 5. ใบงาน 6. Power point/ website 10. การประเมนิ การเรียนรู้ 1. สะกดรากศัพท์ อ่านออกเสียง และบอกความหมายของรากคำศัพทไ์ ดถ้ ูกต้อง 2. เขียนบทสนทนาอย่างง่ายได้ เช่น การเลือกใช้รากศัพท์กบั awalan โดยใชแ้ บบฝึกหดั ในการ เขยี น (ดตู ารางด้านล่าง) 3. ตรวจแบบฝกึ หดั ใช้แบบประเมนิ ทดสอบ (ดตู ารางด้านล่าง)

ตารางเกณฑ์ทดสอบ วธิ ีการวดั เคร่อื งมือ เกณฑ์ คะแนน 5-10 ผา่ น การตอบแบทดสอบ แบบประเมนิ แบบทดสอบ คะแนน 0-4 ไมผ่ า่ น คะแนน 5-10 ผ่าน การสงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม คะแนน 0-4 ไม่ผา่ น ตารางเกณฑ์ทดสอบการทดสอบ คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ การทดสอบ 5 ไม่มีข้อผิดพลาดในการเลือกใชร้ ากศพั ท์ และเลือกใช้ meN 4 มีข้อผิดพลาดเลก็ น้อย กลา่ วคือ การเลือกใช้รากศพั ท์ และเลอื กใช้ meN ออกไม่ ค่อยชดั และสะกดผดิ เล็กน้อย ประมาณ 80-90% 3 มขี ้อผดิ พลาดบา้ ง กลา่ วคือ การเลอื กใช้รากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชัด บ้าง และสะกดผดิ บ้าง ประมาณ 60-70% 2 มีขอ้ ผิดพลาดค่อนข้างบอ่ ยคร้ัง กลา่ วคอื การเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชัดบ่อยครง้ั และสะกดผิดบ่อยครง้ั ประมาณ 50% 1 มีขอ้ ผดิ พลาดเป็นส่วนใหญ่ และการเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลอื กใช้ meN ออกไม่ ชดั เจนตามหลกั ภาษามลายูกลาง ตารางเกณฑ์ทดสอบชน้ิ งาน คะแนน เกณฑ์ ชน้ิ งาน 2 = ผา่ น -ส่งงานแบบฝึกหดั ตรงตามเวลา 1 = ผ่าน -ส่งงานแบบฝึกหดั ไมต่ รงตามเวลา แบบฝึกหดั คำศพั ท์ (เอกสาร 0 = ไมผ่ ่าน -ไมส่ ง่ งานแบบฝึกหัดเลย ประกอบการสอน ) การประเมนิ คณุ ลักษณะ ใฝเ่ รียนรู้ หมายถึง คณุ ลักษณะท่ีแสดงออกถึงความตงั้ ใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหลง่ เรียนรทู้ ้ังภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ทใี่ ฝเ่ รยี นรู้ คอื ผู้ทมี่ ลี ักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรยี นและเขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรยี นรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรียนอยา่ งสม่ำเสมอ ด้วยการเลอื กใชส้ อ่ื อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เป็นองค์ความรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชวี ิตประจำวนั ได้

การประเมนิ คุณลักษณะ รายการที่สังเกต 3 คะแนน 1 2 มีเจตคติที่ดี เขา้ ร่วมกจิ กรรมกบั เพื่อนๆได้ เขา้ ร่วมกิจกรรมกบั เพื่อน ไม่เขา้ ร่วมกิจกรรมกบั ทกุ คน เปน็ บางครงั้ เพือ่ นหรือเพ่ือนตา่ งๆ หอ้ งเรียน ใฝ่รใู้ ฝ่เรียน ต้ังใจ เพียรพยายามในการ ไม่ค่อยตั้งใจ เพยี ร ไม่ต้ังใจ เพยี รพยายามใน เรยี น และเขา้ ร่วมกิจกรรม พยายามในการเรียน และ การเรยี น และไม่เข้ารว่ ม การเรียนรู้ ไม่ค่อยเขา้ ร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้ การเรียนรู้ มจี ติ สาธารณะ ชว่ ยเหลอื กลุม่ หรือเพื่อนๆ ไม่ช่วยเหลอื กลมุ่ หรือ ไมช่ ว่ ยเหลอื กลุ่ม หรือ เพอ่ื นๆ ทุกครั้งเมอ่ื มีโอกาส เพอื่ นเม่ือมีโอกาส หมายเหตุ 3 หมายถึง ปฏบิ ัติอย่างสม่ำเสมอ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั ิเปน็ บางครั้ง 1 หมายถงึ ไม่ปฏิบตั เิ ลย 11. กิจกรรมเสนอแนะ (ถา้ มี) ................................................................................................. ......................................................................... .......................................................................................................................................................................... 12. ความรู้เพิ่มเติม(ถ้ามี) ..................................................................................................... ..................................................................... .......................................................................................................................................................................... 13. ใบงาน (แนบไว้ท้ายแผน) เอกสารประกอบการสอน

14. การประเมนิ ผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ (บนั ทกึ หลงั สอน) ผลการจดั การเรยี นรู้ ปัญหาและอปุ สรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปัญหา นกั เรียนมีทักษะในการจดจำ นกั เรยี นเร่ิมเข้าใจในหน้าที่ของ ศึกษาองค์ประกอบของรปู คำ คำผสม คำศัพท์ และสามารถสร้างประโยค อย่างงา่ ย และวเิ คราะห์โครงสรา้ ง คำศัพท์ และสามารถจดจำราก และหนา้ ทขี่ องคำ เพื่อให้สามารถใช้ หรือหน้าท่ีของคำได้ ศัพท์ของคำได้บา้ ง เนื่องจาก ภาษามลายอู ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยใช้ นักเรยี นผ่านการเคยถกเถียงใน ประเดน็ เดยี วกนั จากคาบท่ผี ่าน แนวคิด process skill มา เรอื่ ง tata bahasa 1 - mem ลงช่ือ………………………………………. (นายอับดลุ อาซสิ ประสิทธิหิมะ) ครู 15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ หรือผทู้ ีไ่ ด้รับมอบหมาย (ตรวจสอบ, นเิ ทศ, เสนอแนะ, รับรอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชือ่ ………………………………………. (นายรุสลาน สาแม) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 4 กลุม่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวิชา ภาษามลายกู ลาง รหสั วิชา ม32224 หนว่ ยการเรียนรู้ tata bahasa meN : meng ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนตน้ เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ หนว่ ยกิต 1.0 ครูผูส้ อน นายอับดลุ อาซสิ ประสิทธิหมิ ะ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา สพม.15 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้วี ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ ต.1.1 เข้าใจ และตีความเรือ่ งทฟี่ ังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมี เหตผุ ล ผลการเรียนรู้ 1. มีทกั ษะในการเลือกใช้อุปสรรค meN 2. สามารถสร้างประโยคอยา่ งงายจากอุปสรรค meN 3. สามารถอธบิ ายโครงสร้างหรือหลักการการเติมอปุ สรรค meN ใน imbuhan 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ด้านความรู้ (K) ผู้เรียนรู้และเข้าใจในหลกั การใชเ้ กยี่ วกับการเติม meN และสามารถแยกแยะชนดิ ของ คำหรอื รากศัพท์ (kata dasar) โดยเฉพาะ awalan 2.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรียนมีทักษะในการเลอื กใช้ meN และสามารถสรา้ งประโยคจากเตมิ อุปสรรคได้ อยา่ งถูกต้อง และสามารถระบวุ ิธการใชไ้ ด้ 2.3 ด้านคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผเู้ รยี นมเี จตคติท่ีดตี ่อภาษามลายูหลกั การของ tata bahasa Melayu และสามารถ เข้าใจวตั ถปุ ระสงคข์ องการใช้ภาษาได้ 3. สาระสำคญั meN- เป็น meng- เมอ่ื พบกับคำรากศพั ท์ที่ขนึ้ ต้นด้วยอักษร g, gh, kh, h, a, e, i, o และ u

4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) การสรา้ งประโยคอยา่ งง่ายจากอุปสรรคปจั จยั เชน่ Gali = menggali Khayal = mengkhayal Hantar = menghantar Ambil = mengambil Ejek = mengejek Ikut = mengikut 4.1 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผเู้ รียนสามารถใช้และเลือกอุปสรรคปจั จัยได้ถูกตอ้ งตามหลกั การใช้ bahasa Melayu และมี ทักษะในการสนทนาโตต้ อบในสถานการณ์จรงิ อยา่ งเหมาะสม 4.2 ดา้ นคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ผูเ้ รยี นมีเจตคตทิ ี่ดตี่ ่อการเรียนภาษามลายู และเข้าใจถึงวฒั นธรรมมลายู 5. ช้ินงาน หรอื ภาระงาน 1. สร้างประโยคโดยเลอื กหรือใช้อปุ สรรคการเติมหนา้ จากรากศพั ท์ คนละ 10 คำ 2. ตรวจสมุด และชิน้ งานทีท่ ำจากใบงาน 6. คำถามสำคญั อปุ สรรค meN กลายเป็น meng ใช้อย่างไร อธบิ ายอยา่ งละเอียด 7. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการสอนดังนี้ ข้นั นำ (ชัว่ โมงที่ 1) ผสู้ อนควรเร่ิมตน้ ด้วยการอธบิ ายหลกั การใช้ หรอื เรื่องของฐานเสยี ง พร้อมยกตวั อย่าง เพื่อให้ นกั เรียนมองหลกั การใชไ้ ด้อย่างถกู ต้องตามหลกั การและยกตวั อยา่ งการใชค้ ำจากสื่อเอกกสารประกอบ การสอน และส่ือจากขา่ วในเว็ป berita online ของประเทศมาเลเซีย เพื่อใหน้ ักเรียนได้สงั เกตและดู เพอื่ ทำความเข้าใจในการเรยี นรเู้ รอื่ ง meN ในประโยคทางการและไมเ่ ป็นทางการว่าต่างกนั อย่างไร

ข้นั กิจกกรม ครูเริ่มต้นด้วยการสอนเรื่อง คำศัพท์ และเขียนรากศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากนั้นเมื่อครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานุกรมท่ีครูเตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือก และเขียนหรือปฏบิ ัติจริงตามหลักการ เม่ือเขียนเสร็จให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปตามความเข้าใจ เพ่ือให้ผู้สอน ทำความเขา้ ใจว่านักเรียนเข้าใจมากน้อยเพยี งใด เม่อื นักเรียนอธบิ ายให้ครเู สรจ็ คุณครูก็ให้คำแนะนำ และอธิบายหลกั การใช้ meN ในภาษามลายใู ห้ ถูกต้อง ขัน้ สรปุ และนำไปใช้ (ชว่ั โมงที่ 2) ครูทบทวนหลักการใช้ meN เพื่อให้นักเรียนจำรากของคำศัพท์และความหมายของคำ และสามารถนำไปใช้ใน ชวี ิตจริง พร้อมๆกับให้คำปรึกษาแก่นักเรียน และตอบคำถามท่ีนักเรียนสงสัย และศึกษาองค์ประกอบของรูปคำ คำผสม และหน้าที่ของคำ เพ่ือให้สามารถใช้ภาษามลายูอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้กรอบของการเผชิญปัญหา แสวงหาความรู้ วิเคราะห์ขอ้ มูลโดยการแบ่งหนา้ ที่ของคำภาษามลายไู ด้ 8. การจดั บรรยากาศเชงิ บวก 1. การจดั โต๊ะเรียน และเก้าอ้ีของผูเ้ รียน 1.1 มีช่องว่างระหว่างโตะ๊ เรยี น เพ่ือให้ผู้เรียนทำกิจกรรมไดค้ ล่องตัว 1.2 มคี วามสะดวกตอ่ การจัดเขาที่ เม่ือดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนการสอนเสร็จ 1.3 ห้องเรยี นควรเปิดหนา้ ต่างเพื่อให้อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก และเพ่ิมความสวา่ งใหแ้ ก่ ห้องเรยี น 2. .ใหร้ างวัลกับนักเรยี นทต่ี ง่ั ใจเรียน และมีความซื่อสตั ย์ 9. สอ่ื /แหล่งเรยี นรู้ 7. ใบความรู้ 8. ใบงาน 9. Power point/ website

10. การประเมินการเรยี นรู้ 4. สะกดรากศัพท์ อ่านออกเสยี ง และบอกความหมายของรากคำศัพทไ์ ดถ้ กู ต้อง 5. เขยี นบทสนทนาอย่างงา่ ยได้ เช่น การเลอื กใช้รากศัพทก์ ับ awalan โดยใช้แบบฝกึ หดั ในการ เขียน (ดูตารางด้านลา่ ง) 6. ตรวจแบบฝกึ หดั ใชแ้ บบประเมนิ ทดสอบ (ดตู ารางด้านล่าง) ตารางเกณฑท์ ดสอบ วธิ ีการวดั เคร่อื งมอื เกณฑ์ การตอบแบทดสอบ แบบประเมินแบบทดสอบ คะแนน 5-10 ผา่ น คะแนน 0-4 ไม่ผ่าน การสังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม คะแนน 5-10 ผ่าน คะแนน 0-4 ไมผ่ ่าน ตารางเกณฑ์ทดสอบการทดสอบ คะแนน เกณฑก์ ารประเมินการทดสอบ 5 ไม่มีขอ้ ผิดพลาดในการเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN 4 มีข้อผดิ พลาดเล็กน้อย กล่าวคือ การเลือกใช้รากศัพท์ และเลือกใช้ meN ออกไม่ ค่อยชัด และสะกดผดิ เล็กน้อย ประมาณ 80-90% 3 มีขอ้ ผิดพลาดบา้ ง กล่าวคือ การเลือกใช้รากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ อ่ ยชดั บา้ ง และสะกดผดิ บ้าง ประมาณ 60-70% 2 มขี ้อผดิ พลาดค่อนข้างบอ่ ยครั้ง กลา่ วคือ การเลือกใชร้ ากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไมค่ ่อยชดั บอ่ ยครง้ั และสะกดผิดบ่อยครั้ง ประมาณ 50% 1 มขี อ้ ผิดพลาดเป็นสว่ นใหญ่ และการเลอื กใชร้ ากศพั ท์ และเลือกใช้ meN ออกไม่ ชดั เจนตามหลักภาษามลายูกลาง ตารางเกณฑท์ ดสอบชน้ิ งาน คะแนน เกณฑ์ ชนิ้ งาน 2 = ผา่ น -สง่ งานแบบฝึกหดั ตรงตามเวลา 1 = ผา่ น -สง่ งานแบบฝกึ หดั ไม่ตรงตามเวลา แบบฝึกหดั คำศัพท์ (เอกสาร 0 = ไมผ่ ่าน -ไม่ส่งงานแบบฝึกหดั เลย ประกอบการสอน ) การประเมนิ คณุ ลักษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถงึ คณุ ลักษณะที่แสดงออกถึงความต้งั ใจ เพียรพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหลง่ เรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

ผทู้ ่ใี ฝ่เรียนรู้ คือ ผูท้ ี่มีลกั ษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้าร่วมกจิ กรรม การเรียนรู้ แสวงหาความรู้จากแหลง่ เรียนรู้ท้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี นอยา่ งสม่ำเสมอ ดว้ ยการเลอื กใช้สื่อ อย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรุปเปน็ องคค์ วามรู้ แลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ถา่ ยทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชีวิตประจำวันได้ การประเมนิ คณุ ลักษณะ รายการทส่ี ังเกต 3 คะแนน 1 2 มเี จตคตทิ ด่ี ี เขา้ รว่ มกิจกรรมกับเพื่อนๆได้ เข้าร่วมกิจกรรมกบั เพอ่ื น ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมกับ ทกุ คน เปน็ บางคร้งั เพอื่ นหรือเพื่อนต่างๆ หอ้ งเรยี น ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน ตั้งใจ เพยี รพยายามในการ ไมค่ ่อยตัง้ ใจ เพียร ไม่ตั้งใจ เพยี รพยายามใน เรียน และเขา้ รว่ มกิจกรรม พยายามในการเรียน และ การเรยี น และไม่เข้าร่วม การเรียนรู้ ไมค่ ่อยเขา้ ร่วมกจิ กรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ การเรยี นรู้ มจี ิตสาธารณะ ชว่ ยเหลือกลุม่ หรอื เพ่ือนๆ ไมช่ ่วยเหลอื กลุ่ม หรือ ไม่ชว่ ยเหลือกลมุ่ หรือ เพอ่ื นๆ ทกุ ครง้ั เมอ่ื มโี อกาส เพอ่ื นเมอ่ื มีโอกาส หมายเหตุ 3 หมายถึง ปฏิบัตอิ ย่างสม่ำเสมอ 2 หมายถงึ ปฏบิ ัตเิ ปน็ บางครั้ง 1 หมายถึง ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย 11. กจิ กรรมเสนอแนะ (ถา้ มี) ให้นกั เรยี นไดด้ ำเนนิ การอดั คลปิ เสียงของตนเอง หลังจากนั้น ให้ช่วยกนั ฟัง เพื่อระบุความชดั เจนของ การออกเสียงภาษามลายู

12. ความรู้เพิ่มเติม(ถา้ ม)ี ............................................................................................................................................... ........................... ............................................................................................................... ........................................................... 13. ใบงาน (แนบไวท้ ้ายแผน) . เอกสารประกอบการสอน 14. การประเมินผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ (บันทกึ หลังสอน) ผลการจดั การเรยี นรู้ ปญั หาและอปุ สรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปัญหา นักเรยี นมีทักษะในการเลือกใช้ นักเรยี นเร่ิมเข้าใจในประเดน็ ให้นกั เรียนทำความเข้าใจและพยายาม อปุ สรรค meN และสามารถสร้าง ของรปู คำศัพท์ แตย่ ังขาดทักษะ ทำแบบฝึก โดยเฉพาะการออกเสียง และ ประโยครวมทั้งรหู้ น้าท่ีของคำ การเขียนประโยคอย่างงา่ ยบา้ ง ฝึกการเขียนประโยคอยา่ งงา่ ย รวมทงั้ เพราะต้องรหู้ น้าทขี่ องคำ พยายามดูและค้นหาข้อมูล และมารว่ ม วเิ คราะหใ์ นห้องเรยี นโดยมคี รูคอยให้ คำแนะนำ ลงชอื่ ………………………………………. (นายอบั ดุลอาซสิ ประสิทธหิ มิ ะ) ครู 15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ หรือผทู้ ีไ่ ดร้ ับมอบหมาย (ตรวจสอบ, นเิ ทศ, เสนอแนะ, รับรอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอ่ื ………………………………………. (นายรสุ ลาน สาแม) หวั หน้ากลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาต่างประเทศ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 5 กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวชิ า ภาษามลายกู ลาง รหัสวชิ า ม32224 หน่วยการเรียนรู้ tata Bahasa 2 meN : meny ครูผ้สู อน นายอบั ดุลอาซสิ ประสิทธหิ ิมะ ชั้น มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย เวลาเรียน 2 คาบ/สัปดาห์ หน่วยกติ 1.0 โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลา สพม.ยะลา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชว้ี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ ต.1.1 เขา้ ใจ และตีความเร่อื งทีฟ่ ังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมี เหตุผล ผลการเรยี นรู้ 1. มที กั ษะในการเลือกใช้อปุ สรรค meN 2. สามารถสรา้ งประโยคอย่างงายจากอปุ สรรค meN 3. สามารถอธิบายโครงสร้างหรือหลักการการเตมิ อุปสรรค meN ใน imbuhan 3. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. ดา้ นความรู้ (K) ผ้เู รียนรแู้ ละเขา้ ใจในหลักการใช้เก่ยี วกบั การเติม meN และสามารถแยกแยะชนิดของ คำหรือรากศัพท์ (kata dasar) โดยเฉพาะ awalan 2. ดา้ นทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรยี นมีทกั ษะในการเลือกใช้ meN และสามารถสรา้ งประโยคจากเติมอปุ สรรคได้ อย่างถูกต้อง และสามารถระบวุ ิธการใชไ้ ด้ 3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผ้เู รียนมเี จตคตทิ ี่ดีต่อภาษามลายูหลักการของ tata bahasa Melayu และสามารถ เขา้ ใจวัตถุประสงคข์ องการใช้ภาษาได้ 4. สาระสำคญั meN- เป็น meny- เม่อื พบกับคำรากศพั ท์ทีข่ น้ึ ตน้ ดว้ ย s แต่เสยี ง s จะหายไป 5. สาระการเรียนรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K)

การสร้างประโยคอย่างง่ายจากอปุ สรรคปจั จัย เชน่ Salin = menyalin Sapu = menyapu Sokong = menyokong ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรยี นสามารถใช้และเลือกอุปสรรคปจั จัยไดถ้ ูกต้องตามหลกั การใช้ bahasa Melayu และมี ทกั ษะในการสนทนาโตต้ อบในสถานการณจ์ รงิ อย่างเหมาะสม 1. ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ผเู้ รยี นมเี จตคตทิ ่ดี ต่ี ่อการเรียนภาษามลายู และเขา้ ใจถึงวฒั นธรรมมลายู 6. ชน้ิ งาน หรอื ภาระงาน 1. สร้างประโยคโดยเลอื กหรือใช้อุปสรรคการเติมหนา้ จากรากศัพท์ คนละ 10 คำ 2. ตรวจสมดุ และชนิ้ งานทท่ี ำจากใบงาน 7. คำถามสำคญั อปุ สรรค meN กลายเป็น meng ใช้อย่างไร อธบิ ายอย่างละเอยี ด 8. การจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ โดยใช้รปู แบบการสอนดงั น้ี ขั้นนำ (ช่ัวโมงที่ 1) ผสู้ อนควรเริม่ ตน้ ดว้ ยการอธิบายหลักการใช้ หรือเร่ืองของฐานเสียง พร้อมยกตวั อย่าง เพื่อให้ นักเรียนมองหลกั การใช้ได้อย่างถกู ต้องตามหลกั การและยกตวั อย่างการใช้คำจากส่ือเอกกสารประกอบการสอน และสือ่ จากขา่ วในเวป็ berita online ของประเทศมาเลเซีย เพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้สังเกตและใหน้ กั เรยี นได้เรียนรู้ ทักษะการใช้เทคโนโลยีในการคน้ คว้าหาความรู้ รวมถึงได้ทำความเขา้ ใจในการเรยี นรเู้ ร่ือง meN ในประโยค ทางการและไม่เป็นทางการต่างกนั อยา่ งไร ข้ันกจิ กกรม ครูเร่ิมต้นด้วยการสอนเร่ือง คำศัพท์ และเขียนรากศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากนั้นเม่ือครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานุกรมที่ครูเตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือก และเขียนหรือปฏิบัติจริงตามหลักการ เมื่อเขียนเสร็จให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปตามความเข้าใจ เพื่อให้ผู้สอน ทำความเขา้ ใจว่านักเรียนเข้าใจมากน้อยเพยี งใด

เม่อื นกั เรียนอธบิ ายให้ครูเสร็จ คุณครกู ็ให้คำแนะนำ และอธิบายหลักการใช้ meN ในภาษามลายใู ห้ ถูกต้อง ขนั้ สรุป และนำไปใช้ (ชวั่ โมงท่ี 2) ครูทบทวนหลักการใช้ meN เพื่อให้นักเรียนจำรากของคำศัพท์และความหมายของคำ และสามารถ นำไปใช้ในชวี ิตจรงิ พร้อมๆกับให้คำปรกึ ษาแกน่ กั เรียน และตอบคำถามท่ีนักเรียนสงสัย 8. การจดั บรรยากาศเชงิ บวก 1. การจัดโต๊ะเรยี น และเกา้ อี้ของผู้เรยี น 1.1 มชี อ่ งวา่ งระหว่างโตะ๊ เรยี น เพ่อื ให้ผเู้ รยี นทำกจิ กรรมได้คล่องตัว 1.2 มีความสะดวกตอ่ การจัดเขาท่ี เมื่อดำเนินกิจกรรมการเรียนการสอนเสรจ็ 1.3 ห้องเรยี นควรเปิดหน้าต่างเพ่ือให้อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก และเพิม่ ความสว่างใหแ้ ก่ หอ้ งเรียน 2. .ให้รางวลั กับนักเรียนทีต่ ง่ั ใจเรยี น และมคี วามซ่ือสตั ย์ 9. ส่ือ/แหล่งเรยี นรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. Power point/ website 10. การประเมนิ การเรยี นรู้ 7. สะกดรากศัพท์ อา่ นออกเสยี ง และบอกความหมายของรากคำศัพท์ได้ถกู ตอ้ ง 8. เขียนบทสนทนาอยา่ งงา่ ยได้ เช่น การเลอื กใช้รากศพั ท์กบั awalan โดยใชแ้ บบฝกึ หดั ในการ เขียน (ดูตารางด้านลา่ ง) 9. ตรวจแบบฝกึ หัด ใช้แบบประเมนิ ทดสอบ (ดตู ารางดา้ นลา่ ง) ตารางเกณฑ์ทดสอบ วิธีการวดั เครอื่ งมือ เกณฑ์ คะแนน 5-10 ผา่ น การตอบแบทดสอบ แบบประเมนิ แบบทดสอบ คะแนน 0-4 ไมผ่ ่าน คะแนน 5-10 ผา่ น การสังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม คะแนน 0-4 ไมผ่ ่าน

ตารางเกณฑ์ทดสอบการทดสอบ คะแนน เกณฑ์การประเมินการทดสอบ 5 ไมม่ ีข้อผดิ พลาดในการเลือกใช้รากศัพท์ และเลือกใช้ meN 4 มีขอ้ ผดิ พลาดเล็กน้อย กลา่ วคือ การเลือกใช้รากศพั ท์ และเลอื กใช้ meN ออกไม่ ค่อยชดั และสะกดผิดเล็กนอ้ ย ประมาณ 80-90% 3 มีข้อผิดพลาดบา้ ง กลา่ วคอื การเลือกใช้รากศพั ท์ และเลือกใช้ meN ไม่คอ่ ยชดั บา้ ง และสะกดผดิ บา้ ง ประมาณ 60-70% 2 มขี ้อผดิ พลาดค่อนข้างบอ่ ยครั้ง กล่าวคอื การเลือกใช้รากศัพท์ และเลือกใช้ meN ไม่ค่อยชัดบ่อยครงั้ และสะกดผิดบอ่ ยคร้ัง ประมาณ 50% 1 มีข้อผดิ พลาดเป็นสว่ นใหญ่ และการเลือกใช้รากศพั ท์ และเลือกใช้ meN ออกไม่ ชัดเจนตามหลกั ภาษามลายูกลาง ตารางเกณฑ์ทดสอบช้ินงาน คะแนน เกณฑ์ ชิน้ งาน 2 = ผา่ น -ส่งงานแบบฝึกหัดตรงตามเวลา 1 = ผา่ น -ส่งงานแบบฝกึ หดั ไมต่ รงตามเวลา แบบฝึกหดั คำศพั ท์ (เอกสาร 0 = ไม่ผา่ น -ไมส่ ง่ งานแบบฝึกหดั เลย ประกอบการสอน ) การประเมินคณุ ลักษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหลง่ เรียนร้ทู ้งั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ผู้ท่ีใฝ่เรยี นรู้ คอื ผู้ท่ีมลี ักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเขา้ ร่วมกิจกรรม การเรียนรู้ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรทู้ ัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้วยการเลือกใช้สื่อ อยา่ งเหมาะสม บันทึกความรู้ วเิ คราะห์ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชีวติ ประจำวนั ได้

การประเมินคุณลักษณะ รายการทีส่ งั เกต 3 คะแนน 1 2 มีเจตคตทิ ีด่ ี เข้าร่วมกิจกรรมกับเพือ่ นๆได้ เขา้ ร่วมกิจกรรมกบั เพื่อน ไมเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมกบั ทกุ คน เป็นบางครั้ง เพื่อนหรือเพ่ือนตา่ งๆ หอ้ งเรียน ใฝ่รู้ใฝเ่ รยี น ตั้งใจ เพียรพยายามในการ ไมค่ ่อยตงั้ ใจ เพยี ร ไม่ตงั้ ใจ เพียรพยายามใน เรียน และเข้ารว่ มกิจกรรม พยายามในการเรียน และ การเรียน และไม่เข้ารว่ ม การเรียนรู้ ไม่ค่อยเข้ารว่ มกจิ กรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้ การเรยี นรู้ มีจติ สาธารณะ ชว่ ยเหลือกลมุ่ หรือเพื่อนๆ ไม่ชว่ ยเหลือกล่มุ หรือ ไม่ชว่ ยเหลือกลมุ่ หรือ เพอื่ นๆ ทุกครง้ั เม่ือมโี อกาส เพื่อนเม่อื มีโอกาส หมายเหตุ 3 หมายถงึ ปฏิบตั ิอย่างสม่ำเสมอ 2 หมายถึง ปฏบิ ตั เิ ป็นบางครงั้ 1 หมายถงึ ไมป่ ฏบิ ัติเลย 11. กจิ กรรมเสนอแนะ (ถา้ มี) .......................................................................................................................................................................... ......................................................................................................................................................... ................. 12. ความรเู้ พ่ิมเติม(ถา้ มี) ............................................................................................................. ............................................................. .......................................................................................................................................................................... ........................................................................................................................... ...............................................

13. ใบงาน (แนบไว้ท้ายแผน) เอกสารประกอบการสอน 14. การประเมนิ ผลการใช้แผนการจัดการเรียนรู้ (บนั ทกึ หลังสอน) ผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหาและอปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ปญั หา นกั เรียนมีทักษะในการเลือกใช้ นักเรยี นเร่ิมเข้าใจในประเดน็ ให้นกั เรียนทำความเขา้ ใจและพยายาม อุปสรรค meN และสามารถสร้าง ของรปู คำศัพท์ แต่ยังขาดทกั ษะ ทำแบบฝึก โดยเฉพาะการออกเสยี ง และ ประโยคอย่างง่ายได้ รวมทั้งรู้จัก การเขยี นประโยคอย่างง่ายบา้ ง ฝึกการเขยี นประโยคอยา่ งงา่ ย รวมทง้ั หน้าทีข่ องคำ เพราะต้องรหู้ นา้ ท่ีของคำ แนะนำใหน้ ักเรียนรูจ้ กั รากศัพท์ของคำ รวมทงั้ รากศัพท์ของคำ เพ่อื นำมาวิเคราะหใ์ นห้องเรียนโดยมคี รู คอยให้คำแนะนำ ลงชื่อ………………………………………. (นายอบั ดุลอาซิส ประสิทธหิ มิ ะ) ครู 15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาตา่ งประเทศ หรือผ้ทู ีไ่ ด้รับมอบหมาย (ตรวจสอบ, นเิ ทศ, เสนอแนะ, รบั รอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชอื่ ………………………………………. (นายรุสลาน สาแม) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาต่างประเทศ รายวิชา ภาษามลายูกลาง รหสั วชิ า ม32224 หนว่ ยการเรียนรู้ iklan dan berita dunia ช้นั มัธยมศึกษาตอนปลาย เวลาเรยี น 2 คาบ/สัปดาห์ หน่วยกติ 1.0 ครผู ู้สอน นายอบั ดุลอาซสิ ประสิทธิหิมะ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา สพม.ยะลา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 4. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชว้ี ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ ต.1.1 เขา้ ใจ และตีความเรอื่ งที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เหน็ อย่างมี เหตุผล ผลการเรยี นรู้ 1. สามารถอ่านและสรปุ ใจความสำคญั ของเนื้อหาได้ 2. สามารถสรา้ งประโยคอยา่ งงา่ ยได้ ayat mudah 3. สามารถอธบิ ายโครงสร้างของประโยค ayat mudah ตามหลักภาษามลายูได้ 2. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 2.1 ดา้ นความรู้ (K) ผู้เรียนรแู้ ละเขา้ ใจในหลักการหรอื โครงสรา้ งของ ayat mudah – kata nama+ kata kerja+objek 2.2 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรียนมที กั ษะในการอธิบายโครงสรา้ ง ayat mudah และสามารถสรา้ งประโยคตาม หลักการภาษามลายู 2.3 ด้านคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผู้เรียนมีเจตคติทด่ี ตี ่อภาษามลายูหลักการของ tata bahasa Melayu และสามารถ เข้าใจวัตถปุ ระสงคข์ องการใช้ภาษาได้ 3. สาระสำคญั การอ่านและการอธบิ ายหน้าท่ขี องคำใน ayat mudah

4. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ด้านความรู้ (K) Ayat mudah/ ayat selapis/ ayat pendek/ ayat tunggal. - ialah ayat yang hanya mempunyai satu subjek dan satu pradikat sahaja ดา้ นทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคิด (P) ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างหรือหนา้ ท่ีของคำใน ayat mudah 1.2ด้านคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผู้เรยี นมีเจตคติทีด่ ีต่ ่อการเรยี นภาษามลายู และเข้าใจถึงวฒั นธรรมมลายู 5. ช้นิ งาน หรอื ภาระงาน 1. เขยี นโครงสรา้ งและอธบิ ายหนา้ ทข่ี องคำใน ayat mudah 2. ตรวจสมดุ และช้ินงานทีท่ ำจากใบงาน 6. คำถามสำคญั Tata ayat mudah 7. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการสอนดังน้ี ข้ันนำ (ชวั่ โมงที่ 1) ผูส้ อนควรเริ่มต้นดว้ ยการอธิบายหลักการใช้ของ ayat mudah และวิธีการเขยี นหรือหน้าท่ีของคำ ใน ayat mudah พร้อมยกตัวอยา่ ง เพื่อใหน้ ักเรียนมองหลักการใช้ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งตามหลกั การและ ยกตวั อย่างการใช้คำจากส่อื เอกสารประกอบการสอน และสอื่ จากขา่ วในเว็ป berita online ของ ประเทศมาเลเซีย เพื่อให้นักเรียนได้สงั เกตวิธกี ารเขียนและหน้าที่ของคำใน ayat mudah ขน้ั กิจกกรม ครูเร่ิมต้นด้วยการสอนเรื่อง คำศัพท์ และเขียนรากศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากนั้นเมื่อครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานุกรมท่ีครูเตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือก และเขียนหรือปฏิบัติจริงตามหลักการ เมื่อเขียนเสร็จให้นักเรียนอธิบายพอสังเขปตามความเข้าใจ เพื่อให้ผู้สอน ทำความเขา้ ใจวา่ นักเรยี นเขา้ ใจมากนอ้ ยเพียงใด ตามกระบวนการ ทักษะของภาษา และ process skill เมอื่ นักเรยี นอธบิ ายให้ครูเสร็จ คณุ ครกู ็ให้คำแนะนำ และอธิบายหลักการใช้ ayat mudah ในภาษา มลายูให้ถกู ต้อง

ขั้นสรุป และนำไปใช้ (ช่วั โมงท่ี 2) ครูทบทวนหลักการใช้ Ayat mudah เพ่ือให้นักเรียนจำรากของคำศัพท์และความหมายของคำ และ สามารถนำไปใชใ้ นชวี ิตจรงิ พร้อมๆกับใหค้ ำปรึกษาแก่นักเรียน และตอบคำถามท่ีนกั เรยี นสงสยั 8. การจดั บรรยากาศเชงิ บวก 1. การจัดโตะ๊ เรยี น และเกา้ อ้ีของผเู้ รียน 1.1 มีช่องว่างระหวา่ งโตะ๊ เรียน เพอ่ื ให้ผู้เรียนทำกจิ กรรมไดค้ ลอ่ งตวั 1.2 มีความสะดวกต่อการจัดเขาท่ี เม่ือดำเนนิ กิจกรรมการเรียนการสอนเสรจ็ 1.3 ห้องเรียนควรเปดิ หนา้ ต่างเพ่ือให้อากาศถ่ายเทไดส้ ะดวก และเพิม่ ความสวา่ งใหแ้ ก่ หอ้ งเรียน 2. .ใหร้ างวลั กบั นกั เรียนท่ตี ั่งใจเรยี น และมีความซื่อสตั ย์ 9. สอ่ื /แหล่งเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน 3. Power point/ website 10. การประเมนิ การเรยี นรู้ 1. เขียนโครงกสร้าง ayat mudah และอธบิ ายหน้าที่ของคำ 2. ตรวจแบบฝึกหดั ใชแ้ บบประเมนิ ทดสอบ (ดูตารางดา้ นลา่ ง) ตารางเกณฑ์ทดสอบ วธิ ีการวัด เครอ่ื งมอื เกณฑ์ คะแนน 5-10 ผ่าน การตอบแบทดสอบ แบบประเมนิ แบบทดสอบ คะแนน 0-4 ไม่ผา่ น คะแนน 5-10 ผ่าน การสังเกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม คะแนน 0-4 ไม่ผ่าน

ตารางเกณฑ์ทดสอบการเขียน คะแนน เกณฑ์การประเมนิ การเขยี น 5 ไมม่ ีข้อผดิ พลาดในการเขยี น ayat mudah 4 มีขอ้ ผดิ พลาดเล็กน้อย กลา่ วคือ การเขยี นตามโครงกสร้าง ayat mudah ผิดพลาดเลก็ น้อย 3 มขี ้อผิดพลาดบ้าง กล่าวคอื กล่าวคือ การเขยี นตามโครงกสร้าง ayat mudah ไม่ค่อยชดั บา้ ง และสะกดผิดบ้าง ประมาณ 60-70% 2 มขี อ้ ผดิ พลาดค่อนข้างบ่อยครั้ง กลา่ วคือ กล่าวคือ การเขียนตามโครงกสร้าง ayat mudah ผิดพลาดเลก็ น้อย ไม่ค่อยชัดบ่อยครง้ั และสะกดผดิ บ่อยคร้งั ประมาณ 50% 1 มขี ้อผดิ พลาดเปน็ สว่ นใหญ่ การเขยี นตามโครงกสร้าง ayat mudah ไมช่ ดั เจน ตามหลกั ภาษามลายูกลาง ตารางเกณฑ์ทดสอบชน้ิ งาน คะแนน เกณฑ์ ช้นิ งาน 2 = ผ่าน -สง่ งานแบบฝึกหัดตรงตามเวลา 1 = ผา่ น -ส่งงานแบบฝึกหัดไมต่ รงตามเวลา แบบฝกึ หดั คำศัพท์ (เอกสาร 0 = ไม่ผา่ น -ไมส่ ง่ งานแบบฝึกหดั เลย ประกอบการสอน ) การประเมินคณุ ลักษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง คุณลักษณะท่ีแสดงออกถึงความตง้ั ใจ เพยี รพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหลง่ เรยี นรทู้ งั้ ภายในและภายนอกโรงเรียน ผู้ท่ีใฝ่เรียนรู้ คอื ผทู้ ม่ี ีลักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกิจกรรม การเรียนรู้ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนรู้ทัง้ ภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสม่ำเสมอ ดว้ ยการเลือกใช้สื่อ อยา่ งเหมาะสม บนั ทึกความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เป็นองคค์ วามรู้ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ ถา่ ยทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชีวติ ประจำวันได้

การประเมินคณุ ลักษณะ รายการทสี่ งั เกต 3 คะแนน 1 2 มีเจตคตทิ ด่ี ี เขา้ รว่ มกิจกรรมกับเพ่อื นๆได้ เข้ารว่ มกิจกรรมกบั เพ่อื น ไม่เข้ารว่ มกจิ กรรมกับ ทกุ คน เป็นบางคร้ัง เพือ่ นหรือเพื่อนตา่ งๆ หอ้ งเรยี น ใฝร่ ใู้ ฝ่เรียน ตั้งใจ เพียรพยายามในการ ไม่ค่อยตง้ั ใจ เพยี ร ไม่ตัง้ ใจ เพียรพยายามใน เรยี น และเขา้ ร่วมกิจกรรม พยายามในการเรยี น และ การเรียน และไมเ่ ข้ารว่ ม การเรยี นรู้ ไม่ค่อยเขา้ รว่ มกิจกรรม กจิ กรรมการเรียนรู้ การเรยี นรู้ มจี ติ สาธารณะ ชว่ ยเหลือกลุม่ หรอื เพ่ือนๆ ไม่ช่วยเหลือกลุ่ม หรือ ไมช่ ่วยเหลอื กลมุ่ หรือ เพื่อนๆ ทุกครง้ั เม่อื มีโอกาส เพือ่ นเมือ่ มีโอกาส หมายเหตุ 3 หมายถึง ปฏิบตั อิ ย่างสม่ำเสมอ 2 หมายถงึ ปฏบิ ตั เิ ปน็ บางครั้ง 1 หมายถงึ ไมป่ ฏิบัติเลย 11. กจิ กรรมเสนอแนะ (ถา้ มี) ............................................ .................................................................................................... .......................... ............................................................................................................................. ............................................. 12. ความรู้เพมิ่ เติม(ถา้ มี) .......................................................................................................................................................... ................ .................................................................................................................. ........................................................ 13. ใบงาน (แนบไว้ท้ายแผน) ............................................................................................................................. ............................................. .................................................................................... ......................................................................................

14. การประเมินผลการใชแ้ ผนการจัดการเรยี นรู้ (บนั ทกึ หลงั สอน) ผลการจัดการเรยี นรู้ ปัญหาและอปุ สรรค ข้อเสนอแนะและแนวทางแก้ปัญหา สามารถอ่านและสรปุ ใจความ นกั เรียนบางคนอา่ นภาษามลายู ครนู ำเอกสารประกอบการสอน พร้อมทง้ั สำคัญของเนอ้ื หาได้ สรา้ งประโยค ทเี่ ป็นประโยคยาวๆไม่ค่อยได้ ฝึกอ่าน และเปดิ สือ่ การสอนท่ีอยู่ อยา่ งง่ายได้ ayat mudah และ และเวน้ วรรค ไม่ถูกต้อง youtube เพ่อื ใหน้ ักเรยี นไดฝ้ กึ ารฟังและ อธิบายรปู ประโยคได้ โดยเช่ือมโยง การออกเสยี งตามเจ้าของภาษา กับ tata bahasa 1 ตามหลกั ภาษา มลายไู ด้ ลงช่ือ………………………………………. (นายอบั ดลุ อาซิส ประสทิ ธิหมิ ะ) ครู 15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาต่างประเทศ หรือผู้ท่ไี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ, นิเทศ, เสนอแนะ, รบั รอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………..………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ………………………………………. (นายรุสลาน สาแม) หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ 7 กล่มุ สาระการเรยี นรภู้ าษาตา่ งประเทศ รายวชิ า ภาษามลายูกลาง รหสั วชิ า ม32224 หนว่ ยการเรียนรู้ ayat Tanya ชนั้ มธั ยมศึกษาตอนปลาย เวลาเรียน 2 คาบ/สปั ดาห์ หนว่ ยกติ 1.0 ครูผู้สอน นายอบั ดลุ อาซสิ ประสทิ ธิหิมะ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา สพม.ยะลา ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ชีว้ ดั มาตรฐานการเรยี นรู้ ต.1.1 เขา้ ใจ และตีความเรอ่ื งทฟ่ี งั และอ่านจากส่ือประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมี เหตผุ ล ผลการเรยี นรู้ 1. มีทกั ษะในการอ่านคำถามภาษามลายูได้ 2. สามารถสร้างประโยคคำถามอยา่ งง่ายได้ 3. สามารถสนทนาโตต้ อบในสถานการณ์จริงได้ 2. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.1 ด้านความรู้ (K) ผเู้ รยี นรู้และเข้าใจ ความหมายของคำถาม เช่น apa, di mana, dari mana เป็นต้น และสามารถนำคำศพั ท์ดงั กล่าวมาสร้างประโยคคำถามได้ 2.2 ด้านทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคิด (P) ผเู้ รยี นมที กั ษะในการสร้างประโยคคำถาม และสามารถใชส้ นทนาโตต้ อบกับคุณครู หรอื เจ้าของภาษาเมอ่ื เอยูใ่ นสถานการณจ์ ริง บอกหน้าท่ีของคำ 1.3 ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) ผู้เรียนมีเจตคติทีด่ ตี ่อภาษามลายู และสามารถเขา้ ใจมารยาทในการทำของชาวมลายู 2. สาระสำคญั คำศัพทป์ ระโยคคำถามในภาษามลายู เชน่ siapa, apakah, di mana, dari mana, ke mana, bagaimana, berapa, bila เป็นตน้

3. สาระการเรยี นรู้ 4.1 ดา้ นความรู้ (K) การสรา้ งประโยคคำถามในภาษามลายนู นั้ จำเปน็ จะตอ้ งรจู้ ัก คำถามในภาษามลายู เชน่ apa, siapa, berapa, bila, di mana, ke mana, dari mana, dan bagaimana. ประโยคคำถาม Apa: อะไร apa? Kamu makan Siapa: ใคร siapa? Perempuan itu Berapa: เท่าไร limau bali? Berapa harga Bila: เมอื่ ไร Bila kamu pergi ke pasar? di mana: ทไ่ี หน ke mana: ไปยังทไ่ี หน dari mana: จากทีไ่ หน Di mana kamu sekaran? Ke mana saudara mahu pergi? Dari mana kamu datang? Bagaimana : อยา่ งไร - Bagaimana keadaan di Thailand, selatan ? 3.1 ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรยี นสามารถใช้คำถามในการตง้ั คำถามในชีวติ ประจำวนั ได้ และมที ักษะในการสนทนาโต้ตอบ ในสถานการณจ์ ริงอยา่ งเหมาะสม 3.2 ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) ผู้เรยี นมเี จตคติท่ดี ตี่ ่อการเรยี นภาษามลายู และเข้าใจถึงวัฒนธรรมมลายู 4. ช้ินงาน หรือภาระงาน 4.1.1.1 จับคู่สนทนาโดยการแสดงบทบาทสมมติหนา้ ห้อง 4.1.1.2 สร้างประโยคคำถาม คนละ 5 ประโยค พร้อมกบั คำตอบ 4.1.1.3 ตรวจสมุด และช้ินงานทที่ ำจากใบงาน

5. คำถามสำคัญ Di mana, ke mana และ dari mana ใชต้ ่างกันอย่างไร อธบิ ายมาอย่างละเอยี ด 6. การจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชร้ ูปแบบการสอนดังนี้ ขัน้ นำ (ชัว่ โมงที่ 1) ผูส้ อนควรเริ่มต้นดว้ ยการบอกว่า การตงั้ คำถามเปน็ สงิ่ ที่ราทุกคนจะตอ้ งเจอ ไม่ว่าจะอยู่ใน สถานการณ์ใดกต็ าม ยิง่ ไปกว่าน้นั หากเราเจอชาวตา่ งชาติที่ใชภ้ าษามลายเู รากส็ ามารถตง้ั คำถามหรือ ถามเขาไดว้ า่ มีอะไรใหช้ ว่ ยไหมคะ่ /ครับ หากเขาหลงทาง และเป็นสรา้ งมติ รภาพอันดีงานระหวา่ งกนั ขน้ั กิจกกรม ครูเริ่มต้นด้วยการสอนเร่ือง คำศัพท์คำถามในภาษามลายู และเขียนประโยคคำถาม พร้อมกับคำตอบ อย่างง่ายให้นักเรียนดู หลัวจากนั้นเม่ือครูสอนเสร็จ ให้นักเรียนจับกลุ่มกัน กลุ่มละ 5 คน โดยให้นักเรียนเขียน บทสนทนา โดยการต้ังคำถามระหว่างเพ่ือนในกลุ่มและออกมานำเสนอหน้าห้องเรียน และเขียนรูปประโยค คำถามใหเ้ พือ่ นๆในหอ้ งดู และใหเ้ พ่ือนในหอ้ งอา่ นตามบทสนทนาท่ีตนเองมานำเสนอ เมอื่ นักเรียนนำเสนอหนา้ ห้อง คณุ ครูก็ให้คำแนะนำ และอธิบายหลกั การใช้คำถามในภาษามลายใู ห้ ถกู ต้อง ขัน้ สรปุ และนำไปใช้ (ชวั่ โมงที่ 2) ครทู บทวนการประโยคคำถาม เพอื่ ให้นักเรียนจำคำศพั ท์และความหมายของคำ และสามารถนำไปใช้ใน ชวี ิตจรงิ พร้อมๆกบั ให้คำปรกึ ษาแก่นกั เรียน และตอบคำถามที่นกั เรียนสงสัย 8. การจัดบรรยากาศเชิงบวก 1. การจดั โต๊ะเรียน และเกา้ อี้ของผ้เู รยี นให้เปน็ กลมุ่ ๆละ 5 คน 4.1 มีชอ่ งว่างระหวา่ งโต๊ะเรียน เพื่อให้ผเู้ รยี นทำกิจกรรมได้คล่องตัว 4.2 มคี วามสะดวกตอ่ การจัดเขาที่ เมือ่ ดำเนินกจิ กรรมการเรยี นการสอนเสรจ็ 4.3 หอ้ งเรียนควรเปิดหน้าต่างเพ่ือให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก และเพ่ิมความสว่างใหแ้ ก่ ห้องเรยี น 4.4 ใหร้ างวัลกับนักเรียนทต่ี ั่งใจเรียน และมีความซื่อสัตย์

9. สือ่ /แหล่งเรยี นรู้ 2. ใบความรู้ 3. ใบงาน 4. Power point 10. การประเมนิ การเรยี นรู้ 1. สะกดคำ อา่ นออกเสียง และบอกความหมายของคำศัพท์ได้ถูกต้อง 2. เขียนบทสนทนาอยา่ งง่ายได้ เชน่ การทักทายเมื่อแรกเจอ หรือการแนะนำผู้อื่น โดยใช้แบ สงั เกตพฤติกรรม (ดูตารางด้านลา่ ง) 3. ตรวจแบบฝกึ หัด ใช้แบบประเมนิ ทดสอบ (ดูตารางด้านลา่ ง) ตารางเกณฑท์ ดสอบ เคร่อื งมอื เกณฑ์ วธิ ีการวดั แบบประเมินแบบทดสอบ คะแนน 5-10 ผา่ น คะแนน 0-4 ไมผ่ า่ น การตอบแบทดสอบ คะแนน 5-10 ผ่าน คะแนน 0-4 ไม่ผ่าน การสงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม ตารางเกณฑท์ ดสอบการสนทนา คะแนน เกณฑก์ ารประเมนิ การสนทนา 5 ไม่มีขอ้ ผิดพลาดในการออกเสียง หรือสะกดถูกต้องตามอักขระ 4 มขี อ้ ผดิ พลาดเล็กน้อย กลา่ วคือ ออกเสียงไมค่ ่อยชัด และสะกดผิดเลก็ นอ้ ย ประมาณ 80-90% 3 มขี อ้ ผิดพลาดบ้าง กล่าวคือ ออกเสียงไม่ค่อยชดั บา้ ง และสะกดผิดบา้ ง ประมาณ 60-70% 2 มีข้อผดิ พลาดค่อนข้างบ่อยครั้ง กล่าวคอื ออกเสยี งไม่ค่อยชัดบอ่ ยครง้ั และสะกด ผดิ บ่อยครั้ง ประมาณ 50% 1 มขี อ้ ผิดพลาดเปน็ สว่ นใหญ่ และออกเสยี งไม่ชดั เจนตามอักขระของภาษามลายู

ตารางเกณฑท์ ดสอบช้นิ งาน คะแนน เกณฑ์ ช้ินงาน 2 = ผา่ น -สง่ งานแบบฝกึ หดั ตรงตามเวลา 1 = ผา่ น -ส่งงานแบบฝึกหัดไมต่ รงตามเวลา แบบฝกึ หดั คำศพั ท์ (เอกสาร 0 = ไมผ่ า่ น -ไม่ส่งงานแบบฝึกหดั เลย ประกอบการสอน ) การประเมนิ คุณลักษณะ ใฝเ่ รยี นรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตงั้ ใจ เพยี รพยายามในการเรียน แสวงหาความรู้ จากแหลง่ เรียนรูท้ ง้ั ภายในและภายนอกโรงเรยี น ผทู้ ใ่ี ฝ่เรียนรู้ คอื ผทู้ ่มี ีลักษณะแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกจิ กรรม การเรียนรู้ แสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรียนรทู้ ้ังภายในและภายนอกโรงเรยี นอย่างสมำ่ เสมอ ด้วยการเลอื กใช้ส่อื อย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรปุ เป็นองค์ความรู้ แลกเปลย่ี นเรียนรู้ ถา่ ยทอด เผยแพร่ และนำไปใช้ ในชีวติ ประจำวันได้ การประเมินคุณลักษณะ รายการทส่ี งั เกต 3 คะแนน 1 2 มเี จตคติทีด่ ี เขา้ ร่วมกจิ กรรมกับเพือ่ นๆได้ เขา้ ร่วมกจิ กรรมกบั เพ่ือน ไม่เข้าร่วมกจิ กรรมกับ ทกุ คน เปน็ บางครัง้ เพอ่ื นหรือเพื่อนต่างๆ หอ้ งเรยี น ใฝ่รใู้ ฝ่เรียน ตั้งใจ เพยี รพยายามในการ ไม่ค่อยตัง้ ใจ เพยี ร ไม่ต้งั ใจ เพยี รพยายามใน เรียน และเขา้ ร่วมกจิ กรรม พยายามในการเรยี น และ การเรียน และไมเ่ ข้าร่วม การเรยี นรู้ ไมค่ ่อยเขา้ รว่ มกิจกรรม กจิ กรรมการเรยี นรู้ การเรียนรู้ มีจิตสาธารณะ ชว่ ยเหลอื กลุ่ม หรือเพื่อนๆ ไมช่ ว่ ยเหลอื กลมุ่ หรือ ไมช่ ่วยเหลือกลมุ่ หรือ เพื่อนๆ ทุกคร้งั เมอื่ มีโอกาส เพื่อนเมือ่ มโี อกาส หมายเหตุ 3 หมายถงึ ปฏบิ ตั อิ ยา่ งสมำ่ เสมอ 2 หมายถงึ ปฏิบัตเิ ป็นบางครง้ั 1 หมายถงึ ไมป่ ฏบิ ตั ิเลย

11. กจิ กรรมเสนอแนะ (ถ้ามี) ............................................................................................................................. ............................................. .................................................................................................. ........................................................................ 12. ความร้เู พ่ิมเติม(ถา้ ม)ี ....................................................................................................................................... ................................... ............................................................................................... ........................................................................... 13. ใบงาน (แนบไว้ท้ายแผน) ............................................................................................................................. ............................................. .......................................................................................................................................................................... 14. การประเมินผลการใชแ้ ผนการจัดการเรียนรู้ (บนั ทึกหลังสอน) ผลการจดั การเรียนรู้ ปญั หาและอุปสรรค ขอ้ เสนอแนะและแนวทางแก้ปญั หา นกั เรียนรู้จกั คำศัพท์และมีทักษะใน นกั เรียนที่ไมเ่ คยเรยี นภาษา ฝึกใหน้ กั เรียนไดพ้ ุดและอา่ นต่อหน้าครู การอา่ นคำถามภาษามลายูได้ มลายูมาก่อน ทำให้มอี ปุ สรรคใน พรอ้ มท้งั ให้นักเรยี นได้ฟังเสยี งของ สามารถสร้างประโยคจากคำศัพท์ การอ่านออกเสียงภาษามลายู เจ้าของภาษาผา่ นสอ่ื ต่างๆ kata tanyaได้ กลาง และไม่มีความมั่นใจในการ เรยี น ลงชอื่ ………………………………………. (นายอับดลุ อาซสิ ประสทิ ธิหิมะ) ครู

15. ข้อเสนอแนะของหัวหน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ หรือผูท้ ่ไี ด้รบั มอบหมาย (ตรวจสอบ, นเิ ทศ, เสนอแนะ, รับรอง) ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………… ……………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ………………………………………. (นายรุสลาน สาแม) หัวหน้ากลุม่ สาระการเรยี นรู้ภาษาต่างประเทศ

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 8 กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาตา่ งประเทศ รายวิชา ภาษามลายูกลาง รหสั วิชา ม32224 หนว่ ยการเรยี นรู้ simpulan Bahasa ครูผู้สอน นายอบั ดุลอาซสิ ประสทิ ธิหมิ ะ ชั้น มธั ยมศึกษาตอนปลาย เวลาเรยี น 2 คาบ/สปั ดาห์ หนว่ ยกิต 1.0 โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวดั ยะลา สพม.ยะลา ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวช้ีวัด มาตรฐานการเรียนรู้ ต.1.1 เขา้ ใจ และตีความเรอ่ื งทฟ่ี งั และอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคดิ เห็นอยา่ งมี เหตผุ ล ผลการเรียนรู้ 1. สามารถอ่าน simpulan ไดถ้ กู ต้อง 2. เขา้ ใจความหมายของ simpulan 3. สามารถอธบิ ายและเปรียบเทียบกบั ภาษาไทยได้ถูกต้อง 2.จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) ผูเ้ รียนรู้และเข้าใจในความหมาย simpulan และสามารถอธบิ ายนัยยของวลีใน simpulan 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ/กระบวนคดิ (P) ผู้เรยี นมที กั ษะในการอธบิ าย Simpulan bahasa adalah bentuk peribahasa yang paling mudah. 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ (A) ผเู้ รียนมีเจตคตทิ ด่ี ีต่อภาษามลายูหลักการของ simpulan bahasa และสามารถ เข้าใจวัตถุประสงค์ของการใช้ภาษาได้ 2. สาระสำคัญ Simpulan Bahasa dan maksudnya

3. สาระการเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ (K) Simpulan bahsa adalah ayat atau susunan kata yang mempunyai maksud tertentu dan kata- kata yang pendek dengan makna atau maksud yang luas mengandungi kebenaran, sedap didengar dan bijak perkataanya. Peribahasa juga dicipta berdasarkan pengalaman kehidupan seharian oleh masyarakat 2. ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ/กระบวนคิด (P) ผเู้ รียนสามารถเขา้ ใจนัยยะของ simpulan Bahasa และสามารถนำไปใชเ้ พ่ือเปรยี บเทยี บ กระบวนการคิดของภาษาอน่ื ๆหรือเปรียบเทียบ 3. ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (A) ผู้เรียนมเี จตคตทิ ี่ดตี่ ่อการเรียนภาษามลายู และเขา้ ใจถึงวฒั นธรรมมลายู 4. ช้นิ งาน หรอื ภาระงาน 1. สร้างประโยคอย่างงายและนำ simpulan มาใสใ่ นประโยคใหส้ อดคล้อง 2. ตรวจสมุด และชน้ิ งานทที่ ำจากใบงาน 5. คำถามสำคญั Simpulan dan maksud 6. การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดยใชร้ ปู แบบการสอนดงั น้ี ขนั้ นำ (ชวั่ โมงที่ 1) ผูส้ อนควรเรมิ่ ตน้ ด้วยการอธิบาย simpulan bahasa พรอ้ มยกตวั อยา่ ง เพื่อใหน้ กั เรยี นมอง หลกั การใชไ้ ด้อย่างถกู ต้องตามหลักการและยกตัวอยา่ งการใชค้ ำจากสื่อเอกกสารประกอบการสอน และส่ือจาก ขา่ วในเวป็ berita online ของประเทศมาเลเซีย เพื่อให้นักเรียนได้สงั เกตและทำความเข้าใจในความหมายของ simpulan ขั้นกจิ กกรม ครูเร่ิมต้นด้วยการสอนเรื่อง คำศัพท์ พร้อมกับคำตอบอย่างง่ายให้นักเรียนดู หลังจากน้ันเมื่อครูสอน เสร็จ ใหน้ ักเรยี นได้ลองเลือกคำศัพท์จากพจนานกุ รมท่คี รเู ตรียมไว้ โดยให้นักเรียนเลือกและเขยี นหรือปฏิบัติจริง ตามหลักการ เมอ่ื เขียนเสรจ็ ใหน้ ักเรียนอธิบายพอสงั เขปตามความเขา้ ใจ เพ่ือให้ผู้สอนทำความเข้าใจว่านกั เรียน เข้าใจมากน้อยเพียงใด เมื่อนักเรียนอธิบายให้ครูเสร็จ คุณครูก็ให้คำแนะนำ และอธิบายนัยยะที่ผู้เขียนหรือ simpulan ต้องการ