Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เพชรบุรีศรีแผ่นดิน3

เพชรบุรีศรีแผ่นดิน3

Published by นวภรณ์ อุ่นเรือน, 2018-07-17 23:36:31

Description: เพชรบุรีศรีแผ่นดิน3

Search

Read the Text Version

เขาวงั คู่บา้ น ขนมหวานเมอื งพระ เลศิ ลา้ ศลิ ปะ แดนธรรมะ ทะเลงาม นวภรณ์ อ่นุ เรอื น

๒เมืองสามวงั จงั หวดั เพชรบุรี มีประวตั ิศาสตร์ยาวนานต้งั แต่สมยั ทวารวดีมาถึงสมยั รัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงโปรดเมืองเพชรบุรีมาก โปรดใหส้ ร้างพระราชวงั ข้ึนบนภูเขาเต้ีย ๆ ใกลต้ วั เมืองและพระราชทาน นามวา่ พระนครคีรี เพื่อใชเ้ ป็ นที่ตอ้ นรับแขกเมือง ต่อมาในสมยั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้เจา้ อยหู่ วั โปรดใหส้ ร้างพระราชวงั ข้ึนอีกแห่งหน่ึงในตวั เมืองเพชรบุรี คือ พระรามราชนิเวศน์ และดว้ ยความเช่ือท่ีวา่ อากาศชายทะเลอาจบรรเทาอาการเจบ็ ป่ วยได้ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกลา้ เจา้ อยูห่ วั โปรดเกลา้ ฯ ให้สร้างพระราชวงั พระราชนิเวศน์มฤคทายวนั ข้ึนท่ีชายหาดชะอา

๓ ของดีเมืองเพชร เพชรบุรี มีช่างฝีมือและศิลปินหลายสาขา รังสรรค์ผลงานมาเป็นโบราณสถาน โบราณวัตถุ จิตรกรรมฝาผนังและสถาปัตยกรรมต่าง ๆ มากมายอวดแก่สายตาชาวโลก ปรากฏเป็นหลักฐานให้ได้ช่ืนชมมาจนถึงทกุ วนั นี้สิ่งท่ีช่ืนชอบกันมากในหมู่นักท่องเท่ียวที่มาถึงเมืองเพชรก็คือ การได้ลิ้มรสขนมหวานนานาชนิด และอาหารคาวต่าง ๆ จากฝีมือแม่ครัวเชื้อสายชาววัง น้าตาลโตนดเมืองเพชรบุรี เป็นน้าตาลท่ีมีรสหวานอร่อยกว่าน้าตาลเมืองอืน่ ๆ ทา้ ให้ขนมหวานเมืองเพชร เปน็ ทเ่ี ล่ืองลือในความหอมหวานมาต้ังแต่อดีตจนถงึ ปัจจุบัน นอกจากน้ี เพชรบุรียังมีชื่อเสียงเล่ืองลือเรื่องภูมิปัญญาท้องถ่ินในด้านงานศิลปะ ซ่ึงปรากฏหลักฐานผลงานฝีมือช่างอยู่หลายสาขาเชน่ การทา้ ทองรปู พรรณลวดลายโบราณ อันเปน็ เอกลักษณ์จนเป็นท่ีรู้จักกันทั่วไป งานปูนป้ันก็เป็นศลิ ปะอีกแขนงหนง่ึ ทีส่ รา้ งช่ือเสียงใหก้ ับเมืองเพชรบรุ ี จนมผี ูเ้ ขยี นบรรยายไว้วา่ \"ลายปนู ป้ัน ซมุ้ ประตูหน้าตา่ ง หนา้ บัน งามอยา่ งน่าพศิ วง เห็นเข้าถึงกบั ตะลงึ จังงงั อยู่นาน\" ของดีเมืองเพชรที่แสดงถึงภูมิปัญญาท้องถิ่นอันเป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบุรุษ มีอยู่หลายประเภทดังน้ีพิมพร ศะริจนั ทร์ : ถา่ ยภาพ

๔ประเพณแี ละวฒั นธรรม จงั หวดั เพชรบุรี มีขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม และการละเล่นพืน้ เมืองทีส่ า้ คญั ที่นยิ มปฏิบัติสืบทอดกันมาแตโ่ บราณจนถึงปจั จุบัน ไดแ้ ก่ งานพระนครครี ีเมอื งเพชร จะจดั ประมาณปลายเดือนกุมภาพนั ธ์ มกั ตรงกับเทศกาลตรุษจนี เป็นงานประจ้าปี เพื่อร้าลึกถึงความส้าคญั ของประวตั ิศาสตรเ์ มืองเพชร ตลอดจนเพ่ือเผยแพรส่ ่ิงที่ดงี ามในทุกดา้ นให้เปน็ทรี่ ้จู ักกันอย่างแพรห่ ลาย ประเพณีววั ลาน เปน็ การละเล่นของสังคมชาวนาเมืองเพชรบุรีหลังฤดูเก็บเก่ียว ขน้ึ ชอ่ื ว่าลกู ผูช้ ายเมืองเพชรต้องเคยผ่านการร่วมแข่งขันวัวลานมาบ้างแล้ว เป็นการละเล่นท่ีมีวิวัฒนาการมาจากการนวดข้าว ซึ่งจะต้องตอ้ นวัวโดยการผูกตดิ กนั เปน็ พรวนให้ย่า้ ไปบนข้าว และบงั คบั ให้เดินเปน็ วงกลม ชาวเมืองเพชรจึงนา้ วิธีการดงั กล่าวมาปรับเป็นการแข่งขัน โดยการปักหลักเกียด ซ่ึงเป็นหลักไม้ไว้กลางลาน แล้วน้าวัวตัวผู้มาผูกติดเป็นรัศมีออกไปยาวประมาณ ๑๙ ตัว และจะแบง่ ววั ออกเปน็ ๒ ฝ่าย คือ ววั รอง และววั นอก (ตวั ทอ่ี ยู่นอกสดุ ) ในการแข่งขันถือว่าวัวฝ่ายใดว่ิงแซงอีกฝ่ายหน่ึงได้ถือว่าฝ่ายนั้นชนะ ปัจจุบันประเพณีนี้จะจัดข้ึนเป็นกิจกรรมหน่ึงในงานพระนครคีรีเมอื งเพชร ท่ีมา : http://www.workpointtv.com/news/ ๒๐๘๐ทมี่ า : http://www.banlat-banrao.com

๕คตี กรรม คีตกรรม มีความหมายว่า เพลงขับ การขบั ร้อง ท่นี า่ สนใจและมีลักษณะเฉพาะของชาวเพชรบุรีอยู่ในมหรสพตา่ งๆ หลายประเภท เชน่การสวดลา้ การสวดล้ามักจดั ในงานศพ งานท้าบญุ อฐั ิ เปน็ ต้น แต่การสวดจะตา่ งไปจากการสวดพระอภิธรรมและสวดสังคหะ เปน็ การร้องเพลงท้านองเพลงไทยบา้ ง หรือดดั แปลงบา้ ง ทา้ นองสนุกสนานนา่ ฟงั มีท่าทางและลลี าประกอบการร้องด้วย แตป่ ัจจุบนั จะหาดูการสวดล้าไดย้ ากแล้วดว้ ยเหตุหลายประการหนงั ใหญ่ หนงั ใหญ่เป็นศลิ ปะการเลน่ พื้นบา้ นช้นั สงู อย่างหน่ึงของเมอื งเพชรบรุ ี ไมป่ รากฏหลักฐานแนช่ ดั ว่าได้แบบอย่างมาจากท่ีใด รูแ้ ต่เพียงวา่ อาจารย์ฤทธ์วิ ดั พลับพลาชยั เปน็ ผนู้ า้ มาเล่น ท้งั ยงั สามารถวาดและแกะสลักภาพไดเ้ อง นอกจากนีย้ ังได้ฝึกลูกศษิ ยล์ ูกหามาเล่นหนังใหญด่ ้วย ตวั หนงั ท่ใี ชเ้ ล่นท้าจากหนงั วัวทง้ั ผืน แกะสลกั เปน็ รปูตา่ งๆ การแสดงใช้พ้นื ดนิ เปน็ เวที ปกั เสาส่ตี น้ เปน็ ท่ีผกู จอปลายเสา ขึงจอดว้ ยผา้ ขาว ดา้ นหลงั จอใชเ้ ส่ือกนั้ เปน็ ทีพ่ ักคนเล่นและตวั หนัง และมผี ้าขึงสูงขึน้ ไปสา้ หรับช่วยสาดไฟให้สว่าง การแสดงจะแสดหน้าจอ มิใช่หลงั จออยา่ งหนังตะลุง เคร่อื งดนตรที ่ใี ช้ประกอบการแสดงเดิมใชเ้ ฉพาะปี กลอง ตะโพน และฉิ่ง แต่ต่อมาใช้วงพิณพาทย์ เร่อื งท่นี ยิ มเล่น คือ รามเกยี รติ์ อนิรทุ ธ์ และสมทุ รโฆษ มกั เล่นในงานใหญๆ่ หรืองานสา้ คัญเพราะตอ้ งเตรยี มการและเสียคา่ ใช้จ่ายมาก ปัจจบุ นั ไม่มกี ารเลน่ แลว้ทม่ี า : ทิยา ปญั ญาวฒั ชโล. ม.ป.ป. การละเล่นพนื้ บ้านจังหวัดเพชรบุรี. เพชรบุรี : มปท.ท่มี า : http://www.ploenmuangpetch.com/watplab/

๖หนงั ตะลงุ หนังตะลงุ เป็นมหรสพท่ชี าวเมืองเพชรบุรรี ู้จักกันดี และยังเป็นทีน่ ยิ มอยู่ทุกวนั น้ี สังเกตได้จากการจา้ งคณะหนงั ตะลุงไปเล่นในงานตา่ งๆ เช่น งานแกบ้ นและงานศพ คณะทแี่ สดงมที ้ังทอี่ นุรักษแ์ บบเดิม และประยุกตใ์ หเ้ ขา้กบั ยุคสมยั จึงอาจจะเป็นมหรสพแบบเกา่ ประเภทหนึ่งท่ีน่าจะยงั คงอยู่ในเพชรบุรตี อ่ ไป สถานทแ่ี สดงหนงั ตะลุงจะใช้เวทียกพ้นื สงู หลังคามุงดว้ ยสงั กะสี ผา้ หรอื ใบตอง ขึงจอผา้ ด้านหนา้ มบี ันไดข้ึนด้านหลงั จอ อุปกรณท์ ี่ใช้แสดงเป็นภาพทา้ ด้วยหนงั ววั ฉลเุ ป็นรูปยักษ์ มนุษย์ ลิง เทวดา ฯลฯ ดนตรที ่ใี ชป้ ระกอบการเชดิ มี โทน ปี่ ฉงิ่ กรบั ฆ้อง กลองเรอ่ื งท่นี ยิ มเลน่ มกั เปน็ เรื่องรามเกียรติ์ทม่ี า : https://www.youtube.com/ ท่ีมา : https://www.youtube.com/ watch?v=G_f1o2gi-3A watch?v=g5_eXzh7ti4ละครชาตรี ละครชาตรีเป็นละครท่ีเก่าแก่ที่สุดและเป็นต้นเค้าให้เกิดละครนอกและละครใน การแสดงละครชาตรีแต่ดั้งเดิมมีลักษณะต้ังโรงมีเสาสีเ่ สา มุงหลังคาและมีเสาตรงกลางโรงอีก ๑ ต้น มีเตียงวางไว้เตียงหน่ึง ในสมัยโบราณใช้ผู้แสดงเป็นชายล้วนไม่สวมเส้ือ นุ่งสนับเพลามีผ้าคาดห้อยหน้าห้อยหลัง สวมเครื่องประดับ ศีรษะสวมเทริดตอ่ มามีผูแ้ สดงเปน็ หญิง จงึ ต้องสวมเสือ้ ตามแบบละครนอก ละครชาตรเี ข้ามาสู่เมืองเพชรบุรีตั้งแต่เมื่อใดไม่ปรากฏหลักฐาน มีเพียงประวัติว่า หม่อมเมืองซึ่งเป็นหม่อมในรัชกาลท่ี ๕ เป็นคนเพชรบุรี มีความสามารถในการละเล่นละครชาตรี จงึ มักเลน่ ถวายหน้าพระทีน่ ่ังทุกครั้งท่ีเสดจ็ มาจนได้รบั พระราชทานบรเิ วณ “หน้าพระลาน” เพือ่ เป็นท่ีแสดงละครเป็นประจ้า ต่อมาในสมยั รัชกาลที่ ๖ มีผู้น้าละครนอกมาประสมกับละครชาตรี เรยี กว่า ละครเข้าเครื่องหรอื ละครชาตรเี ครื่องใหญ่ เป็นละครท่ีรวมศลิ ปะการร้อง และการรา้ เขา้ ด้วยกันแพรห่ ลายสืบมาจนถึงปจั จุบันซ่ึงมีด้วยกันหลายคณะ สว่ นใหญแ่ สดงในงานแก้บนและงานประจ้าปีตามวดั ตา่ ง ๆท่ีมา : ทิพยา ปัญญาวฒั ชโิ ล. ม.ป.ป. การละเล่นพน้ื บ้านจังหวดั เพชรบุรี. เพชรบุรี : ม.ป.ท.

๗ทีม่ า : https://catlovecatza.wordpress.com/tag ท่ีมา : http://www.trueplookpanya.com//ละครชาตรีเพชรบรุ /ี blog/content/62383/ ในเมืองเพชรบรุ ี นอกจากจะมกี ารแสดงหรือมหรสพทีม่ ีชื่อเสยี งดงั กลา่ วแล้ว ยงั มเี พลงพน้ื เมืองซ่ึงเปน็ ที่นิยมในท้องถน่ิ ภาคกลางในสมยั ก่อนอีกมาก เช่น เหเ่ รือบก เพลงปรบไก่ เพลงพวงมาลัย ปจั จุบนั พอจะหาชมเพลงลักษณะดังกลา่ วได้บา้ งตามหมู่บา้ นในชนบท ซ่ึงมีผู้สนใจรวมรวมไวเ้ ป็นจ้านวนมาก ผทู้ ไี่ ดศ้ ึกษาจะไดเ้ ห็นคุณค่าของวรรณกรรม และคตี กรรมด้านน้ีซึ่งสะท้อนภาพชีวติ ของผ้คู นในทอ้ งถน่ิ ไดเ้ ป็นอย่างดี วรรณกรรม ศิลปกรรมท่ีมีชอ่ื เสียงในจังหวัดเพชรบรุ ี นอกจากดา้ นจติ รกรรม ประติมากรรม และสถาปัตยกรรมแล้ว ยงัมีด้านวรรณกรรมซ่ึงยกย่องวา่ เป็นแหลง่ ส้าคญั ของประเทศ ตน้ ฉบบั ไตรภมู ิพระรว่ งและพงศาวดารกรงุ ศรอี ยธุ ยาฉบับหลวงประเสริฐอันมีคณุ ค่าย่ิง กไ็ ด้ไปจากเมืองเพชรบุรนี ้ี กล่าวกนั ว่า เนื่องจากเมืองเพชรบุรีเปน็ แหลง่การศกึ ษาทส่ี ้าคญั มาแตโ่ บราณ พระราชาคณะที่ทา้ นุบา้ รุงพระพทุ ธศาสนาในกรุงศรีอยุธยาคร้ังเป็นราชธานมี ีภูมลิ ้าเนาเดิมอยู่ทเี่ พชรบรุ ีหลายรูป ท่านมักจะมาสร้างหรือบรู ณะวดั ในเพชรบุรีและได้นา้ ต้นฉบับวรรณกรรมมาให้กลุ บุตรได้ศึกษาด้วย เม่อื เกิดศกึ สงครามทางเมืองเพชรบรุ ไี ด้นา้ ส่งิ ที่มีคุณคา่ ได้แก่ วรรณกรรม เปน็ ต้น ไปซอ่ นไว้ในถ้าซ่งึ มีอยู่มากมายพ้นจากการท้าลายข้าศึกได้ เพชรบรุ ีจึงมวี รรณกรรมสา้ คัญหลงเหลอื อยู่ ในคราวจัดหอสมุดสา้ หรับพระนครก็ไดห้ นงั สอื จ้านวนไมน่ ้อยไปจากเมืองเพชรบุรี วรรณกรรมในเพชรบรุ ี ๒ ประเภท ที่ชนร่นุ หลังไดเ้ รยี นรู้ ได้แก่

๘ ๑. วรรณกรรมลายลักษณ์ วรรณกรรมลายลักษณ์หรือวรรณกรรมตัวเขียนนี้มีท้ังที่เขียนบนใบลานและเขียนในสมุดไทย วรรณกรรมใบลานมีทั้งที่เป็นตัวอักษรขอมและอักษรไทย เช่น เรื่องทศชาติ มหาชาติ ต้ารายาหมอดู พระไตรปิฎก ฯลฯ วรรณกรรมสมุดไทยก็มีหลายประเภท เช่น พระมาลัย แบบเรียน ค้าสอน นิทาน ค้ากาพย์ นิทานคา้ กลอน ฯลฯ ๒. วรรณกรรมมุขปาฐะ วรรณกรรมมุขปาฐะเป็นวรรณกรรมของท้องถิ่นเล่าสืบต่อกันมาด้วยวาจา และอาจมกี ารบนั ทึกในภายหลงั เชน่ เรอื่ งมหาเภตรา ท้าวม่องลา่ ย เจา้ กงจนี และเจา้ ลาย ลักษณะพิเศษของวรรณกรรมลายลักษณ์ในเพชรบุรี คอื วรรณกรรมเร่ืองเดยี วกนั อาทิ มหาชาติ แตล่ ะวัดจะมีส้านวนของตนเอง มีฝีมือท่ีหลากหลาย ท้าให้เกิดประโยชน์ในการศึกษาเปรียบเทียบและสะท้อนให้เห็นแนวนิยมของท้องถิ่นต่าง ๆ ได้เปน็ อยา่ งดี เช่น พระอัจจตุ ฤาษี ในกณั ฑม์ หาพน เร่ืองมหาชาติ ฉบบั ของเมืองเพชร เปน็\"นกั ว่านนยิ ม\" ไดช้ ้ีว่านใหช้ ชู กชมมากมาย ซง่ึ มหาชาตสิ ้านวนอื่นไม่มีลักษณเ์ ชน่ น้ี สว่ นวรรณกรรมมขุ ปาฐะ อันมีนทิ านประจา้ ถ่นิ เพชรบรุ ี เปน็ ตน้ ได้มีผูร้ วบรวมไว้เปน็ อนั มาก อาจารย์ล้อมเพ็งแก้ว แห่งวิทยาลัยครูเพชรบุรี ซ่ึงเป็นนักการศึกษาด้านวรรณกรรมคนส้าคัญได้บันทึกไว้หลายเรื่องเช่นกัน จะขอยกเรื่องมหาเภตรา ซึง่ ตีพิมพใ์ นหนังสือ สมดุ เพชรบุรี ๒๕๓๕ มาเปน็ ตวั อยา่ ง ดงั น้ี ทม่ี า : https://suanleklek.wordpress.com/2018 /01/23/mahaphetra แต่เม่ือคร้ังดึกด้าบรรพ์โพ้น เวิ้งทะเลเพชรบุรีปรากฏว่า มีแต่น้ากับฟ้าน้ัน ยังมีมหาเภตราส้าเภาใหญ่ มหึมาล้าหน่ึงว่าเป็นเทพนิมิตรด้วยฝาหอยกาบซีกหน่ึงอันลอยอยู่ตรงที่ทุกวันน้ีเรียกว่า บ้านพอหอย ทาง ตะวนั ออกนัน้ ไดท้ อ่ งเทีย่ วอยกู่ ลางทะเล กว้างยาวใหญ่แตล่ ะด้านนับด้วยโยชนๆ์ เป็นประมาณ ในล้าเภตราน้ัน มีบ้านเรือนเรือกสวนไร่นาแบ่งไว้เป็นแผนกๆ มีสิงสาราสัตว์เน้ือนกต่างๆ เล่ากันว่า ล้าเภตรานั้นลอยอยู่ใน ทะเลปรากฏราวกับว่าบ้านเรือนที่ต้ังอยู่บนพ้ืนดินฉะน้ัน สินค้าในล้าส้าเภาน้ันมีสารพัดทุกอย่าง เป็นที่ จ้าหน่ายขายซ้ือกัน แต่พวกชาวเขาลูกหนึ่ง ท้องส้าเภาได้กระทบเอายอดเขาหักกระดอน น้าพัดไปตกอยู่ที่ ต้าบลหน่ึงซ่ึงเรียกว่า เขาพนมขวด ยังปรากฏอยู่ ณ ระหว่างเขามหาสวรรค์กับเขาหลวงทุกวันนี้ และตัวเขา

๙เดิมนั้น เมื่อยอดหลุดไปเสียแล้วตรงกลางก็คอดลาดยาวไป เลยเรียกกันว่า เขาก่ิว กลายเป็นเขตแยกเขาพืดเดยี วกนั นนั้ ออกเป็นสองลูก เรยี กว่าเขาบนั ไดอฐิ ลูกหน่งึ จึงไดพ้ ดู กนั ในภายหลงั ว่า เขากิ่วน้ันเป็นทางเรือหรือลา้ ส้าเภาแต่นน้ั มา ฝ่ายว่ามหาเภตราน้นั ตั้งแตว่ ันท่ีได้กระทบยอดเขามา วันน้ันกช็ ้ารุดแลน่ ไปย่านทะเลต้าบลหน่ึง ได้เอาสมอต้ังพัดพลีบวงสรวงกัน ต้าบลน้ันภายหลังจึงเรียกว่า สมอพลือ นัยหนึ่งเขาเล่าว่า เม่ือบัดพลีสมอนัน้ สมอได้กระดอนปรื๋อเล่ือนลงไป ไขอรรถวา่ สมอพลือหรือคือสมอพลนี นั่ เอง อกี อทุ าหรณเ์ ทียบกับค้าว่าราชบุรีกับราชพฤา เพ็ชร์บุรี กับเพ็ชรพฤา สมอปรื๋อ เป็นสมอพลี อย่างน้ันก็ว่า เมื่อสมอนั้นลงน้าไปแล้ว สายสมอจดถึงพื้นทะเล เรือได้ลากสมอจนถงึ ย่านทะเลตา้ บลหนึ่ง เกาะอยจู่ นเพรยี งกินเรือจวนผุ สายสมอก็เกา่ เสาใบทะเลปรุไปนา้ ไหลเขา้ ส้าเภาแลน่ ไป สมอหลดุ จากเรอื จงึ เรยี กตา้ บลนั้นภายหลังวา่ สมอหลุด คือทบ่ี ้านหมอหลก หรอื ลกในทกุ วันท่ี แล้วสมอนนั้ นา้ พัดไปกบดานอยู่ท่ีพื้นอนั เกือบจะเป็นหาดทะเลน้ัน ครน้ั จะถอนก็ไม่ข้ึนจึงเรียกท่ีน้ันในภายหลังว่าสมอดานคือสมอกบดานอยู่นั้น ฝ่ายส้าเภาใหญ่น้ัน เมื่อลอยไปได้สักหน่อยก็ถูกลมตะเภาเปน็ พายุพัดคล่ืนกระแทกเอาส้าเภาทะลุ เพราะเป็นทตี่ ้าบลร้าย นา้ เขา้ ทอ้ งเรือได้ พวกลกู เรอื ได้ช่วยกันอุดและวิดน้า แล้วใช้ใบทวนกลับมาท่ีเรือทะลุนั้น จึงเรียกว่า บางทะลุ ต่อมาส้าเภาลอยมาถึงย่านต้าบลหนึ่งถูกลมบ้าหมูพัดเอาหมุนเคว้งดังจักรหัน จะลงสมอรอเรือก็ไม่ ไม่มีสมอจะลง ส้าเภาก็หันไปตามลมดูด ท่ีตรงนั้นจึงเรียกในภายหลังว่า ต้าบลหันตะเภา ต่อมาส้าเภามหึมานั้นได้หมุนเคว้งไปถึงย่านทะเลแห่งหนึ่งก็จมลงฝูงคนและสัตว์พลัดพลายพากันจมน้าตายมากที่ส้าเภาจมน้ัน เมื่อน้าเริ่มลดแล้วเล่าว่า ยังแลเห็นเสากระโดงโผล่อยู่ในมหาบึง เรียกกันว่าอู่ตะเภา แต่กาลน้ันมา บ้างก็เรียกว่า อุดตะเภา เพระอุดไม่ไหวเรือจึงล่ม ฝ่ายฝูงคนท่เี หลือตายได้พากันว่ายและเกาะกระดานเครื่องเรือตา่ งๆ ไปขึ้นไดท้ เ่ี ขาต้าบลหนง่ึ ตั้งชุมนมุ บ้านเรือนอยู่ท่ีเขานน้ั ภายหลังนิยมว่า เป็นต้นสกุลแหง่ เจ้าลาย ณ เขาเจา้ ลายน้ัน ที่มา : ล้อม เพ็งแกว้ . ๒๕๒๕. “ภาษาและวรรณกรรม\" ใน สมดุ เพชรบุรี. กรงุ เทพฯ : เรือนแกว้ การพิมพ.์

๑๐นิทานพน้ื บ้าน - ความเช่ือ เพชรบุรีมีนิทานพื้นบ้าน อันเป็นวรรณกรรมมุขปาฐะที่ถ่ายทอดต่อ ๆ กันมา โดยอาศัยการบอกเล่าและท่องจ้า ไม่มีการจดบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ท้าให้รายละเอียดเน้ือหา ถ้อยค้าส้านวนแตกต่างกันไป เร่ืองเดียวกันจึงอาจมีหลายสา้ นวน เช่น นิทานพ้ืนบา้ น เพลงพ้ืนบ้าน สา้ นวน ภาษติ ปรศิ นาคา้ ทาย ปจั จบุ ันมีผู้ศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือเผยแพร่แก่คนรุ่นหลังได้เรียนรู้ความเป็นมาของท้องถ่ิน เช่น วิถีชีวิต ขนบธรรมเนียมประเพณี ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ศาสนา สงั คมวิทยาและภาษา ดงั ตวั อย่างโบสถ์เมยี น้อยเมยี หลวง ที่มา : https://palungjit.org/threads/ /หลากเรื่องทีเ่ พชรบรุ .ี 521607/page-4 โบสถ์เมียนอ้ ยเมียหลวง เป็นเรอ่ื งเล่าของชาวจังหวัดเพชรบุรี เกยี่ วกบั ประวัติความเป็นมาของโบสถ์และวหิ าร ท่ีตงั้ อยูบ่ นลานเขาดา้ นทศิ ตะวันออกเฉยี งใตข้ องวดั เขาบันไดอฐิ ซึ่งชาวบา้ นเรยี กว่า \"โบสถเ์ มยี นอ้ ยเมียหลวง\"และมีส่งิ แปลกไปจากที่อน่ื ๆ คอื เจดยี ์ทต่ี ้งั อยู่ระหว่างโบสถก์ บั วิหาร ยอดพระเจดีย์จะเอนไปทางวหิ าร หรอื โบสถ์เมยี น้อยเหน็ ได้ชดั เจน มเี รื่องเล่าขานสืบมาวา่ มีเศรษฐีคนหน่ึงชอ่ื แสง เศรษฐีผ้นู ี้มีภรรยาด้วยกัน ๒ คน ต่อมาเศรษฐีมีศรัทธาต่อพระพทุ ธศาสนา จึงได้ปรึกษากบั ภรรยาทัง้ สอง วา่ จะร่วมกันสร้างโบสถว์ ิหาร และเจดีย์ขึ้น โดยตวั เศรษฐเี องจะ

๑๑สร้างเจดีย์ และให้ภรรยาทงั้ สองสร้างโบสถก์ บั วิหาร โดยภรรยาหลวงเป็นผู้สรา้ งโบสถ์ และภรรยานอ้ ยเปน็ ผสู้ รา้ งวิหาร โดยให้เจดยี ต์ ้ังอย่ตู รงกลางระหว่างโบสถแ์ ละวหิ าร ภรรยาทัง้ สองต่างคนก็ตา่ งอธิษฐานว่า ถา้ สามรี ักใครมากกวา่ ก็ขอใหย้ อดเจดยี ์หนั ไปทางน้ัน ต่อมากป็ รากฎวา่ ยอดเจดยี ์ได้เอนไปทางวิหาร ซึ่งเมยี นอ้ ยเปน็ ผสู้ รา้ ง เหตนุ ้ีจงึ เป็นทม่ี าของช่ือ \"โบสถ์เมยี นอ้ ยเมียหลวง\" ทชี่ าวบา้ นเรยี กกันติดปากท่มี า : บญุ มี พิบลุ ยส์ มบัติ, บรรณาธกิ าร. ๒๕๔๒. ทร่ี ะลกึ ทอดผ้าป่าฯ ณ ศูนย์วิทยพฒั นาบริการ มสธ. เพชรบุรี. เพชรบุรี : เพชรภูมกิ ารพมิ พ์, หน้า ๑๕ – ๑๖.จันทรคราส ทม่ี า : http://www.tnews.co.th/contents/315902 ตามความเข้าใจของคนโบราณเชื่อว่า การเกิดจันทรคราสเป็นเพราะราหูมาอมดวงจันทร์ไว้ คืนใดที่ชาวบ้านทราบว่าจะมีจันทรคราส หรือจันทรุปราคาเกิดข้ึนจะเรียก “ราหูอมจันทร์” มีความรู้สึกว่า ราหูเป็นผู้โหดร้ายได้ท้าร้ายพระจันทร์ ค่อย ๆ อมพระจันทร์เข้าไปทีละน้อย ๆ ท้าให้ดวงจันทร์ลดความสวยงามและเกิดความมืดมิดไปทุกที ดังนั้นชาวบ้านจึงต้องช่วยพระจันทร์ น้าภาชนะต่าง ๆ เท่าท่ีหาได้มีต้ังแต่ขันน้า กาละมังแตกร่ัว ๆ หรือกระป๋อง ปีบ รวมท้ังเกราะ โกก เอามาเคาะมาตีส่งเสียงดังลั่นไปแทบทุกบ้าน ที่มีปืนก็ยิงปืนข้ึนฟ้า มีประทดั ก็จุดประทัดกันเสยี งสน่นั หวั่นไหว ตามวดั ตา่ ง ๆ จะเคาะระฆัง ตีกลอง คล้ายเปน็ สัญญาณบอกให้รูท้ ั่วกันว่ามีจนั ทรคราสเกดิ ขึ้น ชาวบ้านเช่ือว่าการช่วยพระจันทร์ด้วยวิธีเช่นน้ี ราหูที่ก้าลังอมพระจันทร์อยู่ เม่ือได้ยินเสียงอึกทึกเบ้ืองลา่ งของมนุษยบ์ นโลกน้ีกจ็ ะได้คลายการอมดวงจันทร์ออก ดวงจันทรก์ จ็ ะพ้นอันตราย การสง่ เสยี งดังกลา่ วเป็นทาง

๑๒เดียวท่ีจะช่วยไม่ให้ราหูอมจันทร์ได้ต่อไป การกระท้าเช่นนี้จึงเป็นประเพณีอย่างหน่ึงของชาวบ้าน ซ่ึงปัจจุบันน้ีเหตุการณเ์ ชน่ น้ีจะมีไม่มากนกั เพราะเป็นที่รู้และทราบกันอย่างดีโดยท่วั ไปแล้วว่าการเกิดจันทรปุ ราคาน้ัน เป็นปรากฏการณอ์ ยา่ งหนึ่งในธรรมชาติทเี่ กิดขึน้ ไดเ้ สมอ หาใช่เพราะการกระทา้ ของผใู้ ดจะบนั ดาลใหเ้ กิดขึ้นได้ไม่ ความเป็นมาของความเชอ่ื เรื่องราหู มีดงั นี้ พระราหู พระจันทรและพระอาทิตย์ เดมกิ ็เปน็ มิตรต่อกัน ต่อมามีเร่อื งโกรธเคืองกันแต่ครั้งเทวดากวนนา้อมฤต ครงั้ นั้นเทวดาพยายามกีดกนั ไมใ่ ห้พวกอสูรไดด้ ม่ื น้าอมฤต ราหู มีก้าเนิดเป็นอสรู ตระกูลแทตย์ ได้ปลอมตัวเป็นเทวดาเล็ดลอดเขา้ ไปดื่มน้าอมฤตไดส้ ้าเร็จ พระอาทติ ย์ พระจนั ทร์ เปน็ เทวดาอยู่ในท่ปี ระชมุ นั้น เห็นพระราหูปลอมเขา้ มาด่ืมน้าอมฤตเชน่ นน้ั จงึ ทลู พระนารายณ์ใหท้ รงทราบ พระนารายณ์กรว้ิ จึงเอาจักรขวา้ งถูกราหูขาดสองทอ่ นแต่ไมต่ าย ท่อนหวั เปน็ ราหูดงั เดมิ แตท่ ่อนลา่ งกลายเป็นพระเกตุ (ทางโหรจัดเป็นดาวนพเคราะหด์ วงที่ ๙ต้านานมวี ่า พระเกตุมีลูกเป็นดาวหางและผีพุ่งใต้) สบื แตน่ นั้ มา พระราหูตงั้ ตวั เป็นศัตรูแก่พระอาทิตย์ และพระจันทร์เร่ือยมา โดยจะจับพระจันทร์และพระอาทติ ย์กินหรอื อมไวเ้ ปน็ การแกแ้ คน้ ถ้าอมพระจันทร์ เรยี กว่าจนั ทรุปราคา หรอื จันทรคราส แตบ่ างทชี าวบา้ นเรียก จนั อังคาส ถ้าอมพระอาทิตย์ เรยี กวา่ สุริยปุ ราคา หรือ สุริยคราส แตบ่ างทีชาวบ้านเรียกเกิดสูรย์ ตามคติความเชื่อมชี าดกในพุทธศาสนาวา่ ถึงราหูกับพระจนั ทร์ไว้ว่า สมัยหน่งึ เศรษฐีช่ือ หสั วิชัยมีบตุ ร ๓คน ครัง้ หน่ึงบุตรทง้ั ๓ ไดท้ ้าบญุ ให้บดิ า คนพ่เี อาขันทองมาใสบ่ าตร บุตรคนรองใช้ขันเงิน ส่วนคนสดุ ทอ้ งแย่งขันทองขนั เงินทั้งสองไมท่ ัน จึงมีความโกรธเลยเอากระบุงมาใสแ่ ทน พชี่ ายคนที่ ๑ สตั ยาธษิ ฐานว่า ขอใหเ้ ปน็ พระอาทติ ย์ พช่ี ายรองของเป็นพระจันทร์ ทา้ ให้นอ้ งสดุ ทอ้ งคิดอธษิ ฐานไม่ทนั จึงขอให้ตวั มีร่างกายใหญ่โต จะได้บดบงัแสงพระอาทิตย์ และแสงพระจันทร์ เม่อื ทง้ั ๓ ตายลงต่างไปเกิดตามทตี่ ัง้ อธิษฐานไว้ น้องสุดทอ้ งเกดิ เปน็ พระราหูคอยบงั พระอาทิตย์และพระจันทร์อยู่เสมอ จึงเป็นต้านานที่มาแห่งสรุ ยิ ุปราคาและจนั ทรุปราคาอีกทางหน่ึงทม่ี า : บุญมี พิบลู ยส์ มบตั ิ. ม.ป.x. นานาสาระ : ฉบบั เมืองเพชร หมวด ค - ต. เพชรบรุ ี : ม.ป.ท. หนา้ ๔๐ - ๔๑.

๑๓ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านการทานา้ ตาลโตนด ผลิตผลน้าตาลจากต้นตาล เป็นสินค้าหลักเพ่ือการส่งออกของจังหวัดเพชรบุรี จนมีค้ากล่าวกันว่าต้นตาลโตนดมีมากทส่ี ุดในจงั หวัดเพชรบุรี นบั เป็นภมู ิปัญญาชาวบา้ นท่นี ่าภาคภมู ิใจยง่ิ การท้าน้าตาลโตนดต้องเร่ิมท้าตามฤดูกาลในช่วงเวลาท่ีชาวนาหมดภาระเก็บเกี่ยวแล้ว เม่ือปลีตาลแทงยอดอ่อน จะอยู่ในราวเดือนมกราคมถึงปลายเดือนพฤษภาคมมีระยะเวลาอยู่ประมาณ ๔ - ๕ เดือนที่จะปาดนา้ ตาล จากน้ันเมอื่ ยา่ งเขา้ ฤดูฝน จะถึงเวลาทีต่ าลเขา้ กา้ น เรยี กวา่ \"หมดงวงตาล\" น้าตาลท่ีได้มาจากต้นตาลน้ันจะไหลจากงวงหรือจ่ันทีละหยด เรียกว่า \"น้าตาลใส\" มีรสหวานก้าลังดีเหมาะส้าหรับดื่มแก้กระหาย และหากจะท้าการเค่ียวน้าตาลใสต่อไป ต้องกรองเอาส่ิงปะปนในน้าตาลใสออกเสียก่อน จากน้ันใส่น้าตาลในกระทะต้ังไฟเค่ียวไปพลาง ๆ ขณะเดียวกัน ต้องชักสายกระบอกตาลออก และล้างกระบอกตาลใหส้ ะอาดนา้ ไปคว้่าบนรูรมควันบนเตาตาล เพอ่ื รมควนั ใหก้ ระบอกแห้งสนิท การเค่ียวตาลตอ้ งคอยใส่ไฟใหส้ ม่้าเสมอ และเรียงกระทะที่ ๑ - ๒ - ๓ ตามล้าดับ เมอ่ื กระทะท่ี ๑ กระทะเดอื ดจนไดท้ จ่ี ึงยกลง เล่อื นกระทะใบอน่ื ทอ่ี นุ่ อยู่เขา้ ทเ่ี คี่ยวน้าตาลตอ่ ไป ส่วนการเคี่ยวน้าตาลใสให้มีความเข้มข้นจนเหนียวเหมือนยางมะตูม เรียกว่า \"น้าตาลปูด\" เป็นน้าตาลท่ีมีสคี ล้า และจะค่อย ๆ กลายเปน็ สีขาวนวล เม่ือใชไ้ ม้คนน้าตาลจนกระท่ังมีความข้นจับกันเปน็ ก้อน พรอ้ มท่ีจะตักใส่พิมพ์ท้าปึก เรียกว่า \"น้าตาลปึก\" หรืออาจจะใส่ทะนนหรือป๊ีบก็ได้ มีข้อสังเกตว่า หากใช้เวลาเคี่ยวน้าตาลยิ่งนานสีน้าตาลท่ีได้จะเป็นสีขาวนวลและเน้ือแห้ง ส่วนไม้คนน้าตาล สมัยก่อนนิยมใช้ไม้ทองหลางเพราะมีน้าหนักเบาปจั จุบันใช้ลวดสปริงขดกลมตอ่ ดา้ มเป็นเคร่ืองมอื ชว่ ยทุ่นแรงทมี่ า : คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอ้านวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวฯ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒. ๒๕๔๔. วฒั นธรรม พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตร์ เอกลักษณแ์ ละภมู ิปัญญา จงั หวดั เพชรบรุ ี. กรงุ เทพฯ : กรมศิลปากร.

๑๔ กะแช่ ทีม่ า : ttp://libsis.lib.su.ac.th/snclibblog/?p=49362 ทมี่ า : http://oknation.nationtv.tv/blog/ krupia/2009/03/31/entry-1 น้าตาลเมาหรือกะแช่ ท้าจากน้าตาลใส หรือน้าตาลสดที่ได้จากการข้ึนตาล ซ่ึงถ้าทิ้งไว้นานเกิน ๒๔ช่ัวโมง จะเปล่ียนสภาพเป็นน้าส้มสายชู ถ้าน้าไปต้มหรือเค่ียว เพื่อไม่ให้บูดเสียจะเรียกว่า น้าตาลขุ่น นอกจากน้ีน้าตาลใสยังนิยมท้าเป็นเคร่ืองดืม่ ประเภทหมักดองผสมแอลกอฮอล์ เรียกว่า น้าตาลเมา (Palm Wine) หรือกะแช่หรอื เบียร์ภูธร เพราะมีดีกรีใกลเ้ คยี งกนั การทา้ น้าตาลเมานี้จะใส่ในภาชนะจ้าพวกไหหรือกระตุ้ม ซึง่ มีขนาดความจุประมาณ ๒ - ๓ ลิตร เรียกกันว่า \"ท่ี\" ส่วนภาชนะส้าหรับดื่มกระแช่นิยมใช้กะลามะพร้าวขัดผิวจนเป็นมันเลื่อมเรยี กว่า \"หลอ่ \" แตเ่ ดมิ กะแชห่ รือน้าตาลเมาจัดเปน็ เครือ่ งดืม่ ท่ีผิดกฎหมายตามพระราชบัญญัตเิ ครอ่ื งดื่มประเภทมึนเมาแต่ได้พฒั นาขึน้ จนเป็นเครอ่ื งดม่ื ประเภทไวน์ทถ่ี ูกต้องตามกฎหมาย และเป็นสนิ ค้าท่ีไดร้ บั ความนิยมในโครงการหนึง่ ต้าบลหนงึ่ ผลติ ภณั ฑอ์ ีกด้วยท่มี า : คณะกรรมการฝา่ ยประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอ้านวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวฯ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒. ๒๕๔๔. วฒั นธรรม พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลกั ษณ์และภูมปิ ัญญา จงั หวัดเพชรบุรี. กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร.

๑๕ศิลปหตั ถกรรมพืน้ บ้าน จากสภาพแวดล้อมของจังหวัดเพชรบุรี ไม้ตาลเป็นไม้ที่มีอยู่อย่างมากมายในจังหวัดท่ีข้ึนอยู่ตามหัวไร่ปลายนา และถ้าเป็นไม้แก่ที่ไม่สามารถให้ลูกตาลและน้าตาลได้ก็จะถูกท้ิงไวต้ ามท้องไรท่ ้องนา เคยมีการน้าไม้ตาลส่วนทโี่ ค่นท้ิงมาแปรรปู เปน็ ไมก้ ระดาษบ้าง ฝาบ้านบา้ งไวส้ า้ หรับสรา้ งบ้านเรอื น เน่อื งจากท้องถิน่ มไี ม้ตาลเหลือใช้มากมายโดยเฉพาะส่วนที่เป็นโคนตาล ชาวบ้านจึงคิดค้นการแปรรูปไม้ตาลมาเป็นผลิตภัณฑ์เคร่ืองใช้ในครัวเรอื นและชีวติ ประจา้ วนัผลติ ภัณฑ์กลงึ ไม้ตาล งานไมต้ าลนเ้ี ป็นงานเสริมของคนต้าบลหนองปรง อา้ เภอเขายอ้ ย จงั หวัดเพชรบรุ ี รบั ทา้ ของใช้ทกุ อยา่ งอาทิ ผอบ ครก แจกัน แก้วน้า ถว้ ยน้า เครอ่ื งเชยี่ นหมาก ฯลฯ ซ่ึงเป็นรายได้ค่อนขา้ งดี ไม้ตาลท่ีใช้น้ันจะเปน็ ไม้ตาลท่ีเจ้าของโคน่ ทิง้ ซ่ึงส่วนใหญ่จะรบั ซ้ือมาในราคาเมตรละ ๑๒๐ - ๑๕๐ บาท ตามลกั ษณะเน้ือไมซ้ ึ่งจะมีท้งั เกรดดีและเกรดไม่ดี ตามลักษณะดินทปี่ ลกู ตน้ ตาลนน้ั หากเปน็ ดินทรายปนหนิ ไม้ตาลจะแกรง่ มาก หากเป็นดินในที่ลมุ่เนอ้ื ไมจ้ ะซยุ เพราะไมต้ าลจะอมนา้ สว่ นเครอ่ื งมือทีใ่ ช้น้ัน จะเปน็ เคร่ืองมือช่างไม้ทง้ั หมด

๑๖งานศิลปกรรมลา้ ค่าของเมืองเพชร จิตรกรรม ภาพเขยี นในพระพทุ ธศาสนา ช่างไทยนยิ มเขียนไว้บอกเล่าประวัตทิ งั้ ท่ีพระพทุ ธเจ้าทรงตรสั รู้ เรยี กว่า ปฐมสมโพธิ และพระชาติก่อนๆ ทเี่ รียกว่าชาดก โดยได้แทรกภาพวิถชี ีวิตของสังคมไทยแตก่ ่อนเป็นตวั เชอ่ื มให้ไดร้ วู้ ่าเปน็ เร่อื งทีเ่ กี่ยวข้องหรือเป็นเรอ่ื งของชนชาตเิ ราแท้ๆเป็นการเพ่มิ ความเชอ่ื ให้เป่ยี มบริบูรณ์ขึน้ ในบรรดาเร่อื งชาดกในพทุ ธศาสนาน้นั ชาดกเรื่องมหาเวสสันดรชาดกได้รับความนิยมสูงสุดและมกั เรียกวา่ \"มหาชาติ\"เพราะถอื วา่ เป็นพระชาตทิ ีย่ ิ่งใหญ่ของพระศาสดา หลงั จากพระชาตนิ แี้ ลว้ ก็ได้ทรงตรสั รปู้ ระกาศพระพทุ ธศาสนาแผ่ไพศาลไปทั่วและเร่อื งมหาชาติได้เขา้ ไปเป็นสว่ นหนง่ึ ของวัฒนธรรมประจ้าชาติ และศลิ ปนิ พ้ืนบ้านไดจ้ า้ ลองภาพไว้อย่างงดงามเปน็ เรอื่ งทน่ี า่ ยินดีอย่างยง่ิ ทเ่ี มอื งเพชรบุรสี ามารถยืนหยัดรักษาแนวนิยมของบรรพชนไว้ไดแ้ ละอย่างเป็นตวั ของตวั เองทม่ี า : วัดมหาธาตุวรวหิ าร จงั หวดั เพชรบรุ ี. ๒๕๔๓. ภาพจติ รกรรมมหาชาติชาดก. เพชรบรุ ี: เพชรภูมกิ ารพิมพ์.

๑๗ประตมิ ากรรม งานประตมิ ากรรม คือ งานศลิ ปะที่แสดงออกดว้ ยการปนั้ แกะสลัก การหล่อ และการจัดองคป์ ระกอบความงามอ่นื ๆ ลงบนสือ่ ต่าง ๆ ทตี่ ้องการน้าเสนอ เช่น ไม้ หนิ โลหะ สัมฤทธิ์ เพอ่ื ใหเ้ กิดรปู ทรง ๓ มิติ มีความลกึหรอื นนู หนา งานประติมากรรมจะสะทอ้ นความเชอื่ และเอกลกั ษณข์ องหม่ชู นผ้สู ร้าง ได้แก่ สงั คม วฒั นธรรมคา่ นิยม ฯลฯ การป้ันเปน็ งานศิลปะอยา่ งหน่ึงดา้ นประติมากรรม นอกเหนอื จากการแกะสลกั การหล่อจากวัสดตุ ่าง ๆเชน่ ดนิ เหนยี ว ปนู พลาสเตอร์ ขผ้ี ้งึ ไม้ ทองเหลอื ง สา้ ริด ฯลฯ ชนชาตไิ ทยรบั อิทธิพลด้านประติมากรรมมาจากอินเดยี เป็นส่วนมาก ต่อมาได้ผสมผสานลักษณะที่เปน็ ของคนไทยจนเกดิ เปน็ ลกั ษณะศลิ ปะไทยโดยเฉพาะข้ึน เพชรบุรี เป็นจังหวัดหน่ึงท่ีได้ช่ือว่ามีงานประติมากรรมจ้านวนมาก และมีความงามไม่ยิ่งหย่อนกว่าประติมากรรมท่ีมีช่ือในถนิ่ อื่น ผู้สนใจสามารถศกึ ษาได้จากวัด ท้งั ท่ีเป็นวดั เกา่ และวัดท่ีสรา้ งใหม่บางวัด เน่ืองจากบรรพบุรุษชาวเพชรบุรีท่ีเป็นช่างฝีมือด้านประติมากรรม หรือท่ีเรียกว่า ไประติมากร” ได้ส่ังสอนสืบต่อความรู้แก่ช่างในรนุ่ หลังไว้เป็นอยา่ งดี ประติมากรรมในจงั หวดั เพชรบุรีทง่ี ดงามลือช่ือทั้งที่เป็นงานปน้ั งานแกะสลกั และงานหล่อน้นั ปรากฏอยู่ในรูปแบบตา่ ง ๆ ทส่ี า้ คัญ ๖ ลกั ษณะ คือ ๑. พระพทุ ธปฏิมากร ๒. ธรรมาสน์ ๓. หนา้ บนั ๔. บานประตู ๕. ฐานเสมา ๖. ฝาพระอุโบสถ

๑๘ทม่ี า: https://www.facebook.com/Watmahathat.Phet/ ทม่ี า: https://picpost.mthai.com/view/23133 ศิลปินงานปูนปน้ั ทีม่ ชี ่ือเสียงที่สุดของจังหวดั เพชรบรุ ี คือ นายทองร่วง เอมโอษฐ เป็นศลิ ปินปูนปน้ั และผู้เชีย่ วชาญด้านศลิ ปะปนู ปั้น มีฝีมอื ยอดเยยี่ มและจินตนาการอันบรรเจิดท่มี ีรปู แบบในการป้นั และสตู รเฉพาะตัวในการตา้ ปูน ทสี่ ืบทอดและอนรุ ักษศ์ ลิ ปะปูนป้ันดง้ั เดิมของชา่ งเมืองเพชร มีผลงานปนู ปนั้ ที่ซุ้มประตู ซุ้มหนา้ ตา่ ง ศาลาการเปรียญ และพระอโุ บสถตามวัดในจังหวัดเพชรบุรีและต่างจงั หวัดมากมาย ไดส้ รา้ งสรรคผ์ ลงานอย่างต่อเน่ืองท้งัในประเทศและตา่ งประเทศ จึงได้รับการยกย่องเชิดชูเกียรติเป็นศลิ ปินแห่งชาติสาขาทศั นศลิ ป์ (ประณีตศิลป์ –ศลิ ปะปูนป้ัน) พุทธศักราช ๒๕๕๔ที่มา : http://www.chongsakae.go.th/site/

๑๙สถาปัตยกรรมพระปรางค์วดั มหาธาตุวรวิหาร ศาลาการเปรยี ญวดั ใหญ่สวุ รรณาราม โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ และปราสาทราชวงั ตามแบบศลิ ปะไทยมลี กั ษณะเฉพาะทสี่ วยงาม สถาปนิกผูอ้ อกแบบไดส้ รา้ งข้ึนจากความเช่อื ศรทั ธาและความนึกคดิ ของตน ซ่ึงแบบทสี่ ร้างก็ได้มีวิวฒั นาการสืบเนื่องมาโดยตลอด บางยุคบางสมยั อาจมีรายละเอยี ดของสถาปัตยกรรมแตกตา่ งกนั ไปบ้างตามสภาพแวดลอ้ ม และความนยิ มของผูค้ นในสมยั นั้น แต่โครงสร้างและสว่ นประกอบส่วนใหญ่ยังคงลักษณะเดมิ อยู่ สถาปัตยกรรมที่งดงามมีคุณค่าของจังหวัดเพชรบรุ ีมอี ยู่เป็นจ้านวนมาก อาทิ พระอโุ บสถ ศาลาการเปรยี ญ หอระฆงั พระสถปู เจดีย์ กฎุ ิสงฆ์ ซ่งึบางแหง่ จะมเี ป็นแบบฉบบั หรอื มีลักษณะเฉพาะทมี่ า: http://www.holidaythai.com/theegg/photo-254953.htm ทีม่ า: http://www.holidaythai.com/theegg/photo-254957.htm

๒๐งานช่างทองโบราณเมืองเพชรบุรี ทม่ี า : https://www.gotoknow.org/posts/560240 จังหวัดเพชรบรุ ไี ด้ชอ่ื ว่าเปน็ แหลง่ ศิลปะชา่ งทองโบราณทม่ี ชี อ่ื เสียงมากท่ีสดุ แห่งหนงึ่ ของประเทศ ศลิ ปะชา่ งทองโบราณเมืองเพชรบรุ ีได้รงั สรรคผ์ ลงานด้านหัตถศลิ ปท์ ีม่ คี ุณคา่ งดงาม ประณีต แสดงถึงเอกลกั ษณ์แหง่ ภมู ิปัญญา ผนวกกับฝีมอื ของผู้สร้างสรรคผ์ ลงาน ผลงานของช่างทองไม่ว่าจะเปน็ สรอ้ ยข้อมือ กา้ ไล ตุม้ หู ฯลฯ หรือท่ีเรยี กว่า \"ทองรูปพรรณ\" น้ันจะมลี วดลายแบบเคร่ืองทองโบราณ เชน่ ลายกนก เป็นต้น มีความละเอียดอ่อนประณีตแสดงถงึ อารมณ์อันสนุ ทรยี ์ของผสู้ รา้ งสรรค์ผลงานนัน้ งานช่างทองของเมืองเพชรบุรสี บื ทอดกนั มาแต่โบราณกาล สอนกนั ในครอบครัวและแก่ผู้ท่ีมใี จรักในศิลปะการท้าทองรปู พรรณ เพ่ือสบื สานงานช่างทองอันงามเด่นให้คงอยู่คู่ชาตติ ลอดไป ชา่ งทองจะนา้ สว่ นประกอบมาประกอบตามความประสงค์ของผสู้ ่งั ท้าวา่ ต้องการให้ทา้ ด้วยวิธีและแบบใด ได้แก่ การทา้ สร้อยชนดิ ลายส่ีเสาหกเสาและแปดเสา โดยจะน้าลวดทองขนาดเล็กมาท้าเป็นห่วงกลมแลว้ สาน และขดั กันตามแบบแตล่ ะชนิดจะได้

๒๑สรอ้ ยทงั้ ๓ ชนิด ตามความยาวที่ผูส้ งั่ ท้าก้าหนด สร้อยท่ีได้จะมีความยืดหยุน่ บดิ ตัวได้ ม้วนได้ดงั่ เชือก สร้อยคอลายหกเสาผู้ชายนิยมแขวนพระ ผ้หู ญงิ มักนยิ มห้อยจ้ีและใชไ้ ด้ทุกโอกาสที่แตง่ กายแบบไทย ชา่ งทองเมอื งเพชรท่มี ีช่ือเสยี งเปน็ ทรี่ ู้จกั กนั ดีคือ นางเน่อื ง แฝงสคี า้ หรอื ป้าเน่ือง ท่านมีความเชย่ี วชาญในการทา้ ทองรปู พรรณทุกชนิด มีประสบการณใ์ นการทา้ ทองยาวนานกว่า ๘๐ ปี ศนู ย์วัฒนธรรมแหง่ ชาตปิ ระกาศเกียรติคณุ ใหเ้ ปน็ ผู้มผี ลงานดเี ด่นทางวฒั นธรรม สาขาช่างฝมี ือ “ชา่ งทอง” และได้รบั การคัดเลือกจากสา้ นักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแห่งชาติให้เปน็ ‘ศลิ ปนิ แหง่ ชาติ’ พุทธศักราช ๒๕๕๕ สาขาทศั นศลิ ป์ (ประณีตศลิ ป์)ช่างทองโบราณ ปัจจบุ ันผ้ทู ี่สืบทอดงานฝีมือทองโบราณของปา้ เนือ่ งก็คือ น.ส.มณฑา แฝงสคี ้า หรือพี่ติว๋ บตุ รสาวผูร้ บั มรดกฝีมือของแม่มาอย่างครบถ้วน ที่มา : https://www.gotoknow.org/posts/560240

๒๒ศลิ ปะงานแทงหยวก งานแทงหยวก เป็นงานศิลปะ อนั เกดิ จากภูมิปญั ญาชาวบา้ นทีน่ า้ หยวก หรอื กาบจากตน้ กลว้ ย ซึง่ เปน็ วัสดุธรรมชาติ มาแกะฉลุเปน็ ลายไทย ใชใ้ นการประดับเชงิ ตะกอนเผาศพ ปกติในการเผาศพของคนเมืองเพชร มกั จะมีการตัง้ เมรุ และนยิ มตกแตง่ เชิงตะกอนดว้ ยหยวก แต่ภาพที่เห็นจากงานน้ีไมม่ ีการตั้งเมรุ แตจ่ ัดบริเวณตัง้ ศพบา้ เพ็ญกศุ ลแบบธรรมดา ประดับบรเิ วณดว้ ยดอกไม้สดสวยงาม ศลิ ปะการแทงหยวก เปน็ ภมู ิปัญญาท้องถ่นิ ทสี่ บื ทอดกันมาในการเขยี นลาย ผกู ลายตา่ งๆ ช่างหยวกเป็นผทู้ ่ีมพี รสวรรค์ สามารถเอาหยวกกล้วย (กาบ) มาเขยี นลาย ผกู ลายตา่ ง ๆ แล้วนา้ มาแทงหยวกเปน็ ลวดลาย ระบายสี(กาบ) กลว้ ยเหลา่ นนั้ จนเกดิ เป็นผลงาน ช่างแทงหยวกจะแทงลวดลายโดยไม่มีการร่างแบบลายจึงต้องมีความช้านาญเป็นอย่างย่ิง นอกจากกาบกล้วยแล้วยังนิยมน้าฟักทอง มันเทศ หัวผักกาด มันแกว มะละกอ มาประดิษฐ์เป็นดอกไม้ เคร่ืองอุปโภคบริโภคสัตว์และตัวละครในวรรณคดมี าประดบั เชงิ ตะกอน ให้มชี วี ิตชีวาขึ้น รวมเรยี กวา่ \"การแทงหยวกประกอบเคร่อื งสด\" ศิลปินช่างแทงหยวกผู้มีช่ือเสียงของเพชรบุรี คือ นายประสม สุสุทธิ ผู้มีผลงานดีเด่นทางด้านวัฒนธรรมสาขาทัศนศลิ ป์ (แทงหยวก) พ.ศ. ๒๕๓๕ท่ีมา : วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปญั ญา จังหวดั เพชรบรุ ี. ๒๕๔๔. กรุงเทพฯ : กรมศลิ ปากร,. : ๘๙-๑๐๐.

๒๓ ของกนิ ของฝากจากเมืองเพชร เพชรบรุ ีเป็นเมอื งแหง่ ต้นตาลโตนด ในท้องทุ่งนาเมืองเพชรมองไปทางไหนกเ็ หน็ แตต่ น้ ตาล ซ่ึงเป็นวัตถุดิบในการปรงุ อาหาร นบั ตั้งแต่อาคารคาวไปจนถงึ อาหารหวาน ของกินเล่น อาหารและขนมทที่ า้ จากลูกตาลโตนดน้ีเปน็ ปรากฏในบทสวดบินของเก่า ซึง่ ได้กลา่ วถงึ อาหารคาวหวานของเมืองเพชรบุรีไว้อยา่ งตดิ อกติดใจวา่\"เพชรบุรีแกงหัวตาล \" ขนมเพชรบุรี ใหญ่สนิ้ ดที ้ังหวานมนัเนอ้ื ย่างฝานบาง ๆ ผดู้ เี มืองเพชรนนั้ เขายกยอ่ งกันเป็นอย่างดีใส่เนื้อวัวแลตบั ไก่ โตนดเต้าแลจาวตาล เปน็ เครอื่ งหวานเพชรบุรีแกงกับใบโหระพา\" กนิ กับน้าตาลยี ของมมี าชว่ ยกนั \" เหล่าน้ีเป็นส่วนน้อยของผลผลิตที่ต้นตาลโตนดให้แก่ชาวเมืองเพชรบุรี ส่วนต่าง ๆ ของต้นน้ามาใช้ประโยชนไ์ ดอ้ กี มาก เช่น เน้ือไม้นา้ มาท้าเฟอร์นิเจอรช์ นั้ ดี หรอื แม้แต่ขเี้ ถ้าของใบตาล นอกจากเปน็ ปยุ๋ แลว้ ยังน้ามาละลายท้าขนมเปียกปนู ไดอ้ กี ดว้ ยขนมหวาน... สัญลกั ษณ์เมอื งเพชรท่ีมา : https://www.facebook.com/pg/sweetonoumasomouma/posts/

๒๔ นา้ ตาลสด น้าตาลเมืองเพชร เป็นผลผลิตท่ีขึ้นชื่อลือชา เพราะมีคุณสมบัติเหนือกว่าน้าตาลจากเมืองอื่น โดยเฉพาะความหวานอันเนื่องมากจากเทคนิคพิเศษในการเค่ียวน้าตาลเมืองเพชร จึงเป็นทั้งของกินและของฝากที่มีความหมาย นอกจากคุณค่าในตัวของมันเองแล้ว ยังเป็นปัจจัยที่ส้าคัญท่ีท้าให้เพชรบุรีมีช่ือเสียงเลื่องลือไปทั่วในเร่ือง \"ขนมเมืองเพชร\" และถ้าจะกล่าวถึงขนมคู่บ้านคู่เมืองเพชรบุรี น่าจะได้แก่ขนมที่ท้ามาจากผลิตผลของต้นตาลโตนด คนที่อายุมากกว่า ๙๐ ปี กล่าวว่ากินมาตั้งแต่เม่ือคร้ังปู่ย่าตายาย ขนมประเภทนี้มีการพัฒนาไปไม่มากนกั ที่คนเมืองเพชรเรียกวา่ \"น้าตาลสด\" เปน็ นา้ ตาลที่รองมาจากตน้ ตาลกินไดท้ ันที ถา้ ไมแ่ น่ใจเรือ่ งความสะอาด ควรต้มเสียก่อน เชน่ นี้จะเรียกวา่ \"นา้ ตาลอนุ่ \"ทมี่ า : เว็บไซต์สมั มาชีพชุมชนจงั หวดั เพชรบุรี ท่ีมา : https://www.smartsme.co.th/content/78366อาหารทท่ี าจากผลตาล ผลตาลใช้ท้าอาหารและขนมไดท้ กุ อายุ เร่มิ ตัง้ แตล่ ูกตาลที่ยังอ่อน เอามาผา่ นเฉพาะตอนหัวทม่ี สี ีขาวเป็นแผน่ บาง ๆ ใช้ทา้ อาหารคาว เรียกวา่ \"แกงหวั ตาล\" \"จาวตาล\" เปน็ ลกู ตาลในระยะท่สี อง สามารถน้ามากนิ สด ๆ ได้ มผี ูน้ า้ มาดัดแปลงห่ันเปน็ ชิน้ บาง ๆ ใส่น้าเชื่อมและน้าแข็ง เรียกว่า \"ลูกตาลลอยแก้ว\" \"จาวตาลเชอื่ ม\" เป็นจาวตาลในระยะท่ีสาม ซง่ึ เน้ือในของจาวตาลจะแข็งซุยคล้ายจาวมะพรา้ ว นา้ มาเชื่อมนา้ ตาลจนน้าตาลแทรกเข้าไปในเนื้อ ขนมชนดิ นี้ไดร้ บั ความนยิ มมาก จงึ มีราคาสงู กวา่ ขนมเชอื่ มอืน่ ๆ

๒๕ \"โตนดทอด\" ทา้ จากจาวตาลในระยะทส่ี าม โดยน้ามาเชื่อมแล้วชุบแปง้ ทอด เปน็ ขนมเมอื งเพชรขนานแท้และดง้ั เดิม \"ขนมตาล\" ท้าจากลูกตาลแกท่ สี่ ุกงอมโดน้าเอาเนื้อลูกตาลไปผสมกับแป้ง น้าตาลโตนดและกะทิ คนให้เข้ากนั หยดบนใบตองแล้วน้าไปนง่ึ เม่อื สกุ จะฟูเปน็ สีเหลือง \"น้าตาลเมา\" หรอื \"กะแช่\" ก็คอื น้าตาลสดท่ีนา้ มาอุ่นแลว้ ท้งิ ไว้ใหเ้ ยน็ สนิท จากนั้นนา้ เปลือกหรือรากมะเกลือมาเผาไฟทิ้งใหเ้ ยน็ น้าไปเรียงใส่ในไหแล้วเทนา้ ตาลอนุ่ ทเ่ี ย็นสนทิ แล้วใสล่ งไป ปิดฝาใหแ้ น่น ทงิ้ ไว้ ๒ วัน ๒คนื ก็จะได้นา้ ตาลเมาตา้ รบั เมืองเพชรที่มกี ลนิ่ หอมและมรี สอรอ่ ยย่ิงนัก \"ตงั เม\" ของกนิ เล่นส้าหรบั เด็ก ซ่งึ เป็นผลพลอยได้จากการเคี่ยวนา้ ตาลปกี คือ ส่วนท่ีเป็นน้าตาลเหนียว ๆใสแจ๋วท่ีจบั อยบู่ นกระทะเคีย่ วน้าตาลน้นั เองทมี่ า: http://www.trironk.net/w0257/12kamol/test2.htm ท่มี า: http://www.foodtravel.tv/recipe.aspx?viewid=917 ท่มี า: http://www.trironk.net/w0257/ 12kamol/test2.htmทมี่ า: http://www.trironk.net/w0257/12kamol/test2.htm ท่ีมา: https://www.youtube.com/watch?v=xV3Cx3TIfd0 ทมี่ า: http://www.trironk.net/w0257/ 12kamol/test2.htm

๒๖ขนมยอดนิยม ต้ังแต่ สมยั ราชกาลท่ี ๔ จนถึงปจั จุบัน ขนมเมืองเพชรท่ีจดั ว่าเปน็ ขนมทีไ่ ด้รับความนยิ มสงู สุดมดี ังน้ีขนมขห้ี นู ทม่ี า : https://sites.google.com/site/khanhomthai1/home/khnm-khihnu เป็นขนมช้ันดที ่มี ชี ่ือเสยี งมาก่อนขนมอนื่ ๆ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทiงโปรดมากกวา่ ขนมใด ๆ ทรงรบั สงั่ วา่ \"ท้าได้เก่งและอร่อยกวา่ ทไี่ หน ๆ\" ขนมขห้ี นูเมืองเพชรอร่อย นุ่ม ไมห่ วานจัดและหอม เพราะอบด้วยมะลิ กลบี กระดังงาลนไฟและควันเทียบอบ ในปัจจบุ ันหารบั ประทานไดไ้ ม่งา่ ยนัก เน่ืองจากเป็นขนมท่ีทา้ยาก ใชเ้ วลาทา้ นานและเก็บไว้ไมไ่ ด้นานและผูม้ ีฝีมือในการท้าเพียงไม่กค่ี น โดยส่วนใหญ่อย่ใู นวยั ชรา อีกทั้งไม่ค่อยยอมถา่ ยทอดความรู้ให้ใครอีกดว้ ย ขา้ วเกรยี บงา ทมี่ า : www.yhibklong.com/2016 /03/4.html?m=0

๒๗ เปน็ ขนมเมืองเพชรซึ่งรจู้ กั และนิยมรับประทานกันอยา่ งกว้างขวาง ข้าวเกรียบงามวี วิ ัฒนาการมาหลายขัน้ ตอน ในระยะแรกมีสว่ นผสมเพยี ง ๒ อย่าง คือ แป้งกับน้าตาลโตนด ต่อมามผี คู้ ดิ ดัดแปลงใส่มะพรา้ วหนั่ เปน็ แทง่สีเ่ หลี่ยมขนาดจว๋ิ ผสมลงไป และหลังจากนัน้ ก็มีการเตมิ งาดา้ ลงไปอีก จงึ กลายเป็นข้าวเกรียบงาอย่างทีเ่ ห็นกนั ในปจั จบุ ัน หากจะรับประทานใหอ้ รอ่ ยจะต้องปิ้งเสยี ก่อน ข้าวเกรยี บงาอยใู่ นความนยิ มของคนไทยทว่ั ประเทศ ซึ่งสรา้ งความภาคภูมิใจให้แกค่ นเมอื งเพชรมาเปน็เวลาไม่นอ้ ยกวา่ ๖๐ ปี ในปจั จบุ ันแม้จะมีโรงงานทา้ ข้าวเกรียบงาเหลือเพียง ๕ โรงงาน แตก่ ย็ งั ไดร้ ับความนิยมเป็นอันดับสามของขนมเมืองเพชร ขนมหมอ้ แกง เมอ่ื พูดถึงเมืองเพชรบุรี ผคู้ นท้งั หลายมกั จะนึกถงึ \"ขนมหมอ้ แกง\" จนขนมชนิดนีก้ ลายเป็นสัญลักษณ์อีกอยา่ งหนง่ึ ของเมอื งเพชรบรุ ี ขนมหม้อแกงเป็นขนมพน้ื เมืองจงั หวดั เพชรบุรี ประมาณกวา่ ๔๐ ปีมาแล้ว ดังนน้ั ไม่วา่ ชาวเมอื งเพชรจะยา้ ยหลักแหลง่ ไปอยู่ทใ่ี ดก็ตาม คร้นั เมื่อท้าขนมขายกจ็ ะต้องโฆษณาวา่ ขนมหม้อแกงเมืองเพชรปัจจบุ นั ขนมหม้อแกงเป็นขนมท่มี รี สหวานกลมกลอ่ มชวนกิน จึงมผี เู้ รียกว่า \"ขนมเคก้ ไทย\" นับเปน็ ของฝากที่นิยมมากกว่าสินค้าประเภทอื่น เพราะสะดวก เกบ็ คา้ งคนื ได้ ถาดหน่ึง ๆ รับประทานไดห้ ลายคน เคลด็ ลบั ความอร่อยของขนมหมอ้ แกงอยู่ท่คี ุณภาพของสว่ นผสม เช่น จะตอ้ งเลอื กเผือกทสี่ ดและใหม่น้าตาลและมะพร้าวต้องดี ไมม่ ีกลนิ่ กะทติ ้องขน้ และสดเสมอ การผสมไข่กบั น้าตาลตอ้ งใช้เวลาให้พอเหมาะมฉิ ะน้นั เวลาผิงไฟ ไขจ่ ะขึ้นเน้ือขนมรบั ประทานไม่อร่อย ส้าหรับไฟท่ีผงิ กต็ ้องปรับความร้อนให้พอเหมาะดว้ ยเช่นกนั การทา้ ขนมหม้อแกงจึงมักเปน็ งานที่ต้องอาศยั ทักษะความช้านาญอยมู่ าก แต่เดิมขนมหม้อแกงเมืองเพชรบุรีมีข้อบกพร่อง คือเก็บไว้ในบรรยากาศธรรมดาได้ประมาณ ๒๔ ช่ัวโมงเท่าน้ัน ถ้าอากาศร้อนจะเสียเร็ว ขนมหม้อแกงเมืองเพชรจึงแพร่หลายอยู่ในจังหวัดไกล้เคียงหรือไกลที่สุดแค่กรุงเทพฯ แตป่ ัจจบุ นั ขนมหม้อแกงได้รับการพัฒนาบรรจุกระป๋องสง่ ไปขายต่างประเทศ โดยมีอายกุ ารเกบ็ ได้นานถงึ ๑ ปี

๒๘ สว่ นขนมทไ่ี ด้รับความนยิ มรองจากขนมหม้อแกงกค็ ือ \"ขนมบา้ บิ่น\" นอกจากน้ีก็มขี นมเชอื่ มซึง่ มีอยู่มากมายหลายชนิด เช่น ทองหยิบ ฝอยทอง ทองหยอด เมด็ ขนม (ลูกชุบ) จาวตาลเชอื่ ม ฯลฯ กไ็ ดร้ บั ความนิยมตลอดมาเปน็ เวลาไมน่ อ้ ยกว่า ๑ ศตวรรษที่มา : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอา้ นวยการจัดงานเฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ ัวฯ ๕ ธนั วาคม ๒๕๔๒. ๒๕๔๔. วัฒนธรรม พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณ์และภมู ิปัญญา จังหวดั เพชรบุรี. กรงุ เทพฯ : กรมศิลปากร. . ขา้ วแช่ ท่ีมา : http://www.painaidii.com/diary/diary-detail/001794/lang/th/ ขา้ วแช่ เป็นภูมิปัญญาทางวัฒนธรรมดา้ นอาหารการกนิ ของชาวเพชรบรุ ี เป็นอาหารท่เี หมาะกบั ฤดรู ้อน แก้กระหายไดเ้ ปน็ อย่างดี นยิ มท้าเปน็ อาหารว่างรับประทานในครอบครัว หรือท้าบญุ เล้ียงพระในเทศกาลตรษุ และสงกรานต์ ข้าวแชต่ า้ รบั เมอื งเพชรด้งั เดิม นิยมใส่ดอกกระดังงาไทยในน้าอบข้าวแช่ซึ่งเป็นหมอ้ ดนิ ขนาดใหญ่ สามารถเกบ็ ความหอมและความเยน็ ไดเ้ ปน็ อย่างดี ซ่ึงข้าวแชข่ องที่อ่นื อาจจะมเี พยี งแค่ดอกมะลิกับกลีบกุหลาบโรยในน้าท่ีอบควนี เทียนเทา่ นัน้ ส่วนกับขา้ วทร่ี ับประทาน กบั ข้าวแช่ของเมืองเพชรต้องมีรสหวานนา้ และรสเค็มตาม มเี พียง ๓อย่างเทา่ นั้น คือ ลูกกะปิ ปลากระเบนผดั หวาน และผกั กาดเค็มผดั หวาน จึงอาจแตกต่างไปจากตา้ รับขา้ วแชช่ าววังหรือข้าวแชท่ ี่อื่น ซ่งึ มีเครือ่ งเคียงเพ่มิ ข้ึนอีกหลายอยา่ ง เช่น พริกหยวกสอดไส้ หอมแดงสอดไส้ หมูสับปลาเคม็ ทอดเสน่ห์ของข้าวแช่นอกจากจะมีรสชาติอรอ่ ยเยน็ ช่ืนใจดว้ ยน้าแข็ง และกลิ่นหอมของน้าขา้ วแชแ่ ลว้ การใชถ้ ว้ ยจานเชงิ แบบโบราณก็เป็นส่งิ ดึงดดู ให้สนใจรบั ประทานดว้ ยไมน่ ้อย

๒๙ท่มี า : คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอา้ นวยการจัดงานเฉลิมพระเกยี รติ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ฯ ๕ ธันวาคม ๒๕๔๒. ๒๕๔๔. วฒั นธรรม พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ เอกลักษณ์และภมู ิปญั ญา จังหวดั เพชรบุรี. กรงุ เทพฯ : กรมศลิ ปากร. หนา้ ๑๕๐ – ๑๕๑. ชมพูเ่ พชร สา้ หรับผู้มาเยอื นเมืองเพชร หากจะมีของฝากตดิ มือกลบั ติดมือกลบั บ้านซงึ่ นอกจากขนมหวานหลากหลายแล้ว ถ้าเปน็ หนา้ ชมพกู่ ็คงไม่อาจจะมองขา้ ม \"ชมพเู่ มืองเพชร\" ซง่ึ มลี ักษณะและรสชาติเป็นเอกลักษณ์มเี ฉพาะท่เี มืองเพชรแหง่ เดียวเทา่ นน้ั ท่ีมา : http://www.thaitambon.com/product/022151027 “ชมพูเ่ พชร” ผลไมข้ ึ้นชื่อจงั หวัดเพชรบรุ ี มีความโดดเด่นทรี่ สชาติความหวานกรอบอรอ่ ย รูปทรงสวยงามจนถือเป็นสุดยอดชมพู่ไมว่ า่ ใครทม่ี าเพชรบรุ ีเปน็ ตอ้ งหาซอื้ ติดไม้ตดิ มือเอาไปเปน็ ของฝากอยูเ่ สมอๆ ย่งิ ช่วงหน้าร้อนเป็นช่วงทช่ี มพเู่ พชรสายรงุ้ ออกผลและมรี สชาติท่ีหวานจดั จา้ น สา้ หรบั “ชมพู่เพชร” พันธุ์แท้ดงั้ เดิมนน้ั ต้องเปน็ พนั ธ์ุ “ชมพู่เพชรสายรุ้ง” เท่านน้ั ซ่ึงเป็นการเรียกตามลกั ษณะของสผี วิ ท่ีมีสีเขยี วอ่อนปนชมพู สว่ นก้นผลจะมสี ชี มพเู ข้ม รสชาติหวานอรอ่ ยชืน่ ใจ เฉพาะชมพเู่ พชรสายรงุ้เทา่ นน้ั ที่ได้รับอนุญาตให้ใชช้ อื่ วา่ “ชมพ่เู พชร” แตห่ ากเป็นชมพู่เพชรพนั ธุ์อ่นื ๆ เช่น ชมพู่เพชรสวุ รรณ ชมพูเ่ พชรจนิ ดา จะมีรสชาติไมห่ วานกรอบเท่า รวมท้ังลักษณะสีผลยังเปน็ สเี ขียวปนแดง ต่างจากชมพูเ่ พชรสายรุ้งซึ่งเป็นที่นิยมมาแต่เดิม ท่สี า้ คญั ชมพู่เพชรสายรงุ้ แม้แตจ่ ะน้าพนั ธ์ุไปปลกู ทอ่ี ่นื แตค่ ณุ ภาพก็จะไมด่ เี ท่ากับปลกู ทเ่ี มืองเพชรบุรี โดยเฉพาะในพื้นทบี่ ้านฉาง ต.หนองโสน อ.เมือง จ.เพชรบรุ ี จะได้ชอื่ ว่ามีคุณภาพดที ่ีสดุทมี่ า : https://www.posttoday.com/social/local/366658

๓๐นวภรณ์ อุ่นเรอื น : เรยี บเรียงพิมพร ศะรจิ ันทร์ : ถา่ ยภาพ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook