Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิสาขบูชา

Description: วิสาขบูชา

Search

Read the Text Version

วันวสิ ำขบชู ำ วนั ขึน้ ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ หรอื ๑๕ คำ่ เดอื น ๗ ในปอี ธิกมำส มเี หตกุ ำรณส์ ำ่ คญั ทำงพระพุทธศำสนำเกิดขึน้ คือ กำรประสูติ ตรสั รู้ และปรินิพำน ของพระพุทธเจ้ำ หอ้ งสมดุ ประชาชนอาเภอบา้ นลาด จงั หวัดเพชรบุรี

ประวตั วิ นั วสิ าขบูชาและความสาคญั ของ วนั วสิ าขบูชา วนั วิสาขบูชา ถือเป็นวนั สาคญั ยิ่งทางพระพุทธศาสนา เพราะเป็ นวนั ท่ีเกิด ๓ เหตุการณ์ สาคญั ที่เกี่ยวกบั วถิ ีชีวิตของพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ เวียนมาบรรจบกนั ในวนั เพญ็ เดือน ๖แมจ้ ะมี ช่วงระยะเวลาห่างกนั นบั เป็นเวลาหลายสิบปี ซ่ึงเหตุการณ์อศั จรรย์ ๓ ประการ

๑. วนั วสิ าขบูชา เป็ นวนั ทพี่ ระพทุ ธเจ้าประสูติ เม่ือพระนางสิริมหามายา พระมเหสีของพระเจา้ สุทโธทนะ แห่งกรุงกบิลพสั ดุ์ ทรงพระครรภ์ แก่จวนจะประสูติ พระนางแปรพระราชฐานไปประทบั ณ กรุงเทวทหะ เพอ่ื ประสูติในตระกลู ของพระนางตามประเพณีนิยมในสมยั น้นั ขณะเสดจ็ แวะพกั ผอ่ นพระอิริยาบถใตต้ น้ สาละ ณ สวนลุมพนิ ีวนั พระนางกไ็ ดป้ ระสูติพระโอรส ณ ใตต้ น้ สาละน้นั ซ่ึงตรงกบั วนั เพญ็ เดือน ๖ ก่อนพทุ ธศกั ราช ๘๐ ปี คร้ันพระกมุ ารประสูติได้ ๕ วนั กไ็ ดร้ ับการถวายพระนามวา่ \"สิทธัตถะ\" แปลว่า \"สมปรารถนา\"

เม่ือข่าวการประสูติแพร่ไปถึงอสิตดาบส ๔ ผอู้ าศยั อยใู่ นอาศรมเชิงเขาหิมาลยั และมีความคุน้ เคย กบั พระเจา้ สุทโธทนะ ดาบสจึงเดินทางไปเขา้ เฝ้ า และเมื่อเห็นพระราชกมุ ารกท็ านายไดท้ นั ทีวา่ น่ีคือผู้ จะตรัสรู้เป็นพระสมั มาสัมพทุ ธเจา้ จึงกล่าวพยากรณ์วา่ \"พระราชกมุ ารนีจ้ ักบรรลพุ ระสัพพญั ญุตญาณ เห็นแจ้งพระนิพพานอนั บริสุทธ์ิอย่างยงิ่ ทรงหวงั ประโยชน์แก่ชนเป็ นอนั มาก จะประกาศธรรมจักร พรหมจรรย์ของพระกมุ ารนีจ้ ักแพร่หลาย\" แลว้ กราบลงแทบพระบาทของพระกมุ าร พระเจา้ สุทโธท นะทอดพระเนตรเห็นเหตุการณ์น้นั ทรงรู้สึกอศั จรรยแ์ ละเป่ี ยมลน้ ดว้ ยปี ติ ถึงกบั ทรุดพระองคล์ งอภิวาท พระราชกมุ ารตามอยา่ งดาบส

๒. วนั วสิ าขบูชา เป็ นวนั ท่พี ระพทุ ธเจ้าตรัสรู้อนุตตรสัมมาสัมโพธิญาณ หลงั จากออกผนวชได้ ๖ ปี จนเม่ือพระชนมายุ ๓๕ พรรษา เจา้ ชายสิทธตั ถะกท็ รงตรัสรู้ เป็นพระพทุ ธเจา้ ณ ใตร้ ่มไมศ้ รีมหาโพธ์ิ ฝ่ังแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม ในตอน เชา้ มืดของวนั พธุ ข้ึน ๑๕ ค่า เดือน ๖ ปี ระกา ก่อนพทุ ธศกั ราช ๔๕ ปี ปัจจุบนั สถานท่ีตรัสรู้ แห่งน้ีเรียกวา่ พทุ ธคยา เป็นตาบลหน่ึงของเมืองคยา แห่งรัฐพหิ าร ของอินเดีย

ส่ิงท่ีตรัสรู้ คือ อริยสจั ส่ี เป็นความจริงอนั ประเสริฐ ๔ ประการของพระพทุ ธเจา้ ซ่ึง พระพทุ ธเจา้ เสดจ็ ไปท่ีตน้ มหาโพธ์ิ และทรงเจริญสมาธิภาวนาจนจิตเป็นสมาธิไดฌ้ าานท่ี ๔ แลว้ บาเพญ็ ภาวนาต่อไปจนไดฌ้ าาน ๓ คือ - ยามต้น : ทรงบรรลุ \"ปุพเพนิวาสานุสสตญิ าณ\" คือ ทรงระลึกชาติในอดีตท้งั ของตนเองและผอู้ ่ืนได้ - ยามสอง : ทรงบรรลุ \"จุตูปปาตญาณ\" คือ การรู้แจง้ การเกิดและดบั ของสรรพสตั วท์ ้งั หลาย ดว้ ยการมีตาทิพย์ สามารถเห็นการจุติและอุบตั ิของวิญญาณท้งั หลาย - ยามสาม หรือยามสุดท้าย : ทรงบรรลุ \"อาสวกั ขยญาณ\" คือ รู้วธิ ีกาจดั กิเลสดว้ ย อริยสจั ๔ (ทุกข์ สมุทยั นิโรธ มรรค) ไดต้ รัสรู้เป็นพระสมั มาสมั พทุ ธเจา้ ในคืนวนั เพญ็ เดือน ๖ ซ่ึงขณะน้นั พระพทุ ธองคม์ ีพระชนมายไุ ด้ ๓๕ พรรษา

๓. วนั วสิ าขบูชา เป็ นวนั ทพี่ ระพุทธเจ้าเสดจ็ เข้าสู่ปรินิพพาน (ดับสังขารไม่กลบั มาเกิดสร้าง ชาติ สร้างภพอกี ต่อไป) เม่ือพระพทุ ธองคไ์ ดต้ รัสรู้และแสดงธรรมเป็นเวลานานถึง ๔๕ ปี จนมีพระชนมายไุ ด้ ๘๐ พรรษา ไดป้ ระทบั จาพรรษา ณ เวฬุคาม ใกลเ้ มืองเวสาลี แควน้ วชั ชี ในระหว่างน้นั ทรงพระประชวรอยา่ งหนกั คร้ันเม่ือถึงวนั เพญ็ เดือน ๖ พระพุทธองคก์ บั พระภิกษุสงฆท์ ้งั หลาย ก็ไปรับภตั ตาหารบิณฑบาตที่บา้ นนายจุนทะ ตามคากราบทูล นิมนต์ พระองคเ์ สวยสูกรมทั ทวะท่ีนายจุนทะต้งั ใจทาถวายก็เกิดอาพาธลง แต่ทรงอดกล้นั มุ่งเสด็จไปยงั เมืองกุสิ นารา ประทบั ณ ป่ าสาละ เพื่อเสดจ็ ดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน

เม่ือถึงยามสุดทา้ ยของคืนน้นั พระพุทธองคก์ ็ทรงประทานปัจฉิมโอวาทว่า \"ดูก่อนภิกษุ ท้ังหลายอนั ว่าสังขารท้ังหลายย่อมมคี วามเส่ือมสลายไปเป็ นธรรมดา ท่านท้ังหลายจงยงั กิจท้ัง ปวงอันเป็ นประโยชน์ของตนและประโยชน์ของผู้อ่ืนให้บริบูรณ์ด้วยความไม่ประมาท เถดิ \" หลงั จากน้นั กเ็ สดจ็ เขา้ ดบั ขนั ธ์ปรินิพพาน ในราตรีเพญ็ เดือน ๖ น้นั

การประกอบพธิ ีในวนั วสิ าขบูชา การประกอบพธิ ีใน วนั วิสาขบชู า จะแบ่งออกเป็น ๓ พธิ ี ไดแ้ ก่ ๑. พิธีหลวง คือ พระราชพธิ ีสาหรับพระมหากษตั ริย์ พระบรมวงศานุวงศ์ ประกอบในวนั วิสาขบูชา ๒. พธิ ีราษฎร์ คือ พิธีของประชาชนทวั่ ไป ๓. พิธีของพระสงฆ์ คือ พิธีท่ีพระสงฆป์ ระกอบศาสนกิจ

กจิ กรรมในวนั วิสาขบูชา กิจกรรมท่ีพทุ ธศาสนิกชนพงึ ปฏิบตั ิใน วนั วสิ าขบูชา ไดแ้ ก่ ๑. ทาบุญใส่บาตร กรวดน้าอทุ ิศส่วนกศุ ลใหญ้ าติที่ลว่ งลบั และเจา้ กรรมนายเวร ๒. จดั สารับคาวหวานไปทาบญุ ถวายภตั ตาหารที่วดั และปฏิบตั ิธรรม ฟังพระธรรมเทศนา ๓. ปล่อยนกปลอ่ ยปลา เพอ่ื สร้างบุญสร้างกศุ ล ๔. ร่วมเวยี นเทียนรอบอโุ บสถท่ีวดั ในตอนค่า เพ่ือราลึกถึงพระพทุ ธ พระธรรม พระสงฆ์ ๕. ร่วมกิจกรรมเก่ียวกบั วนั สาคญั ทางพทุ ธศาสนา ๖. จดั แสดงนิทรรศการ ประวตั ิ หรือเร่ืองราวความเป็นมาเกี่ยวกบั วนั วิสาขบูชา ตามโรงเรียน หรือสถานท่ีราชการตา่ ง ๆ เพื่อใหค้ วามรู้ และเป็นการร่วมราลกึ ถึง ความสาคญั ของวนั วิสาขบูชา ๗. ประดบั ธงชาติตามอาคารบา้ นเรือน วดั และสถานท่ีราชการ ๘. บาเพญ็ สาธารณประโยชน์

หลกั ธรรมที่สาคญั ในวนั วสิ าขบูชา ที่ควรนามาปฏบิ ตั ิ ในวนั วสิ าขบูชา พทุ ธศาสนิกชนท้งั หลายควรยดึ มน่ั ในหลกั ธรรม ซ่ึงหลกั ธรรมที่ควรนามา ปฏิบตั ิในวนั วสิ าขบชู า ไดแ้ ก่ ๑. ความกตญั ญู คือ การรู้คุณคน เป็นคุณธรรมท่ีคู่กบั ความกตเวที ๒. อริยสจั ๔ คือ - ทุกข์ - สมุทยั - นิโรธ - มรรค ๓. ความไม่ประมาท คือ การมีสติตลอดเวลา ไม่วา่ จะทาอะไร พดู อะไร คิดอะไร ลว้ นตอ้ งใช้ สติ เพราะสติคือการระลึกได้