Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธนวิชญ์ ปันวงค์ษา เลขที่9

ธนวิชญ์ ปันวงค์ษา เลขที่9

Published by thanawitpanwongsa, 2020-11-09 16:16:02

Description: ธนวิชญ์ ปันวงค์ษา เลขที่9

Keywords: พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล

Search

Read the Text Version

พลเมืองดิจทิ ลั และความฉลาดทางดิจิทลั โรงเรียนสนั กำแพง จัดทำโดย นำยธนวชิ ญ์ ปันวงคษ์ ำ สง่ คุณครู วชิ ัย สงิ คน์ อ้ ย

ความฉลาด ทางดิจทิ ลั ควำมฉลำดทำงดิจิทลั (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือ กลมุ่ ควำมสำมำรถทำง สงั คม อำรมณ์ และกำรรับรู้ ทจ่ี ะทำใหค้ นคนหนง่ึ สำมำรถเผชิญกบั ควำมทำ้ ทำยของชวี ติ จิทัล และสำมำรถ ปรับตัวให้เข้ำกบั ชีวติ จทิ ัลได้ ควำมฉลำดทำงดจิ ิทัลครอบคลุมทง้ั ควำมรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและค่ำนยิ ม ทจ่ี ำเป็ นต่อกำรใช้ชีวติ ในฐำนะสมำชิกของโลก ออนไลน์ กลำ่ วอีกนัยหนง่ึ คือ ทักษะกำรใช้สอ่ื และ กำรเข้ำสังคมในโลกออนไลน์ ความฉลาดทางดิจทิ ัล เป็นผลจากศกึ ษาและพัฒนาของ DQ institute หน่วยงานท่ีเกิดจากความ รว่ มมือกนั ของภาครฐั และเอกชนท่วั โลกประสานงาน รว่ มกับ เวลิ ดอ์ ีโคโนมกิ ฟอรม่ั (World Economic Forum) ท่ีม่งุ ม่นั ให้ เดก็ ๆ ทกุ ประเทศไดร้ บั การศึกษาดา้ นทักษะพลเมืองดิจทิ ัลที่มีคุณภาพและใชช้ ีวติ บนโลกออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั ดว้ ยความกา้ วหนา้ ของเทคโนโลยีสมยั ใหม

ทาไมตอ้ งเพิม่ ทกั ษะ ความฉลาดทางดจิ ทิ ลั เดก็ ๆ และเยาวชนในยุคไอทีเติบโตมาพรอ้ มกบั อุปกรณด์ ิจทิ ัลและอินเทอรเ์ นต็ ดว้ ยลกั ษณะการ สื่อสาร ที่รวดเรว็ อิสระ ไรพ้ รมแดน และไม่เหน็ หนา้ ของอีกฝ่าย ทาใหก้ ารรบั รูแ้ ละการใชช้ ีวติ ของ เดก็ รุน่ ใหม่ มีลกั ษณะที่แตกตา่ งจากเจนเนอเรช่นั รุน่ กอ่ นๆ มาก ทกั ษะชวี ติ ใหมๆ่ ตอ้ งไดร้ บั การ เรยี นรูแ้ ละฝึกฝน เพ่ือท่ีเดก็ ท่ีเตบิ โตมาในยคุ ท่ีเตม็ ไปดว้ ยขอ้ มลู ขา่ วสารและเทคโนโลยีสามารถ นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั การใชช้ วี ติ ของคนรุน่ ใหม่ยงั ผกู ตดิ กับเครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ นต็ และสอื่ ออนไลนเ์ กือบตลอดเวลา ยง่ิ ไปกวา่ นัน้ อินเทอรเ์ นต็ และอุปกรณด์ จิ ทิ ัล ถงึ แมจ้ ะเพิ่มความสะดวกสบาย แต่ก็แฝงดว้ ย อนั ตราย เชน่ กัน ไม่วา่ จะเป็น อันตรายต่อสขุ ภาพ การเสพติดเทคโนโลยี หากใชง้ านส่ือดิจทิ ลั มาก เกนิ ไป หรือ อันตรายจากมจิ ฉาชพี ออนไลน์ การคุกคามทางไซเบอร์ และการกล่นั แกลง้ ทางไซเบอร์ พลเมืองยคุ ใหม่ จงึ ตอ้ งรูเ้ ทา่ ทนั สอื่ สารสนเทศ และมีทกั ษะความฉลาดทางดิจทิ ัล เพื่อท่ีจะใชช้ ีวติ อย่ใู นสงั คมออนไลน์ และในชวี ติ จรงิ โดยไม่ทาตัวเองและผอู้ ื่นใหเ้ ดือดรอ้ น ดังนน้ั ครอบครวั โรงเรยี น ทางภาครฐั และ องคก์ รท่ีเก่ียวของ ควรรว่ มสง่ เสรมิ ใหเ้ ยาวชนเป็น ‘พลเมืองดิจทิ ัล’ ที่มี ความรูค้ วามเขา้ ใจในเรื่อง ท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการใชง้ านอินเทอรเ์ น็ต

ความเป็นพลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) คอื อะไร ความเป็นพลเมืองดจิ ทิ ัลคือ พลเมืองผใู้ ชง้ านสื่อดจิ ทิ ลั และสอ่ื สงั คมออนไลนท์ ่ีเขา้ ใจบรรทดั ฐานของ การ ปฏบิ ตั ติ ัวใหเ้ หมาะสมและมีความรบั ผดิ ชอบในการใช้ เทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง การส่อื สาร ในยคุ ดิจทิ ลั เป็นการส่ือสารที่ไรพ้ รมแดน สมาชกิ ของโลกออนไลน์ คือ ทุกคนที่ใชเ้ ครอื ขา่ ยอนิ เทอรเ์ น็ต บนโลกใบนี้ ผใู้ ช้ ส่อื สงั คมออนไลนม์ ีความหลากหลายทางเชอื้ ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมือง ดจิ ทิ ลั จงึ ตอ้ งเป็น พลเมืองที่มีความรบั ผดิ ชอบ มีจรยิ ธรรม เห็นอกเห็นใจ และเคารพผอู้ ื่น มีสว่ นรว่ ม และมงุ่ เนน้ ความเป็นธรรม ในสงั คม การเป็นพลเมืองในยคุ ดิจทิ ัลนน้ั มีทกั ษะท่ี สาคัญ 8 ประการ

ทกั ษะในการรกั ษาอตั ลกั ษณท์ ่ีดีของตนเอง สามารถสรา้ งและบรหิ ารจดั การอัตลกั ษณท์ ี่ดีของตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดีท้ังในโลกออนไลนแ์ ละโลก ความจรงิ อัตลกั ษณท์ ่ีดีคือ การท่ีผใู้ ชส้ ่อื ดิจทิ ลั สรา้ งภาพลกั ษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแง่ บวก ท้งั ความคดิ ความรูส้ กึ และการกระทา โดยมีวจิ ารณญานในการรบั สง่ ขา่ วสารและแสดง ความคดิ เหน็ มีความเหน็ อก เห็นใจผรู้ ว่ มใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรูจ้ กั รบั ผดิ ชอบตอ่ การ กระทา ไมก่ ระทาการที่ผดิ กฎหมาย และจรยิ ธรรมในโลกออนไลน์ เชน่ การละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ การกล่นั แกลง้ หรือการใชว้ าจาที่สรา้ งความ เกลยี ดชงั ผอู้ ื่นทางสอื่ ออนไลน์ การเรยี นรู้ พฒั นา/ การสอ่ื สาร กบั ผอู้ ่ืน การนบั ถือ ตนเอง/ นับถือผอู้ ื่น การป้องกนั ตนเอง/ ป้องกันผอู้ ่ืน 1. Digital Communication เม่ือสอื่ สารในโลกไซเบอร์ ควรมี 4. Digital Access สนับสนุนการเขา้ ถึง สื่อดิจทิ ัลและ 7. Digital Rights and Responsibilities มีอสิ ระ ในการ แสดงออก แต่ตอ้ ง รบั ผดิ ชอบทุกการกระทา วจิ ารณญานที่ เหมาะสม คดิ กอ่ นโพสต์ สทิ ธิท่ี เท่าเทียมทางดจิ ทิ ัล 8. Digital Health and Wellness ดแู ลตวั เองท้งั ทางรา่ งกายและ จติ ใจให้ หา่ งไกลความเส่ยี งของโรคภยั ที่เกดิ จากเทคโนโลยี 2. 2. Digital Literacy ใชส้ ่อื ดจิ ทิ ัลเพื่อสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ 5. Digital Etiquette ปฏบิ ตั ิ ต่อผอู้ ื่นในสงั คมออนไลน์ 9. Digital Security รูจ้ กั ปกป้องขอ้ มลู สว่ นตัวจาก ผไู้ ม่หวงั ดีใน โลกไซเบอร์ และรูจ้ กั การรกั ษาความ ปลอดภยั ของขอ้ มลู และ และตดิ ตามการเปล่ยี นแปลง ของเทคโนโลยีใหท้ นั อยู่ ดว้ ย ความเคารพและไมก่ ล่นั แกลง้ คกุ คามทางไซเบอร์ อุปกรณด์ ิจทิ ลั เสมอ 6. Digital Law ไมล่ ะเมิด สทิ ธิหรอื ฉกฉวยอตั ลกั ษณ์ 3. 3. Digital Commerce เม่ือทาการซอื้ ขายออนไลน์ ควรมี ทรพั ยส์ นิ หรืองานอื่นใดของ ผอู้ ่ืนท่ีเผยแพรใ่ นรูปแบบ ความรบั ผดิ ชอบและ ปกป้องขอ้ มลู ของผซู้ อื้ ดิจทิ ลั

ทกั ษะการคดิ วเิ คราะหม์ ีวจิ ารณญาณท่ดี ี สามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มลู ท่ีถกู ตอ้ งและขอ้ มลู ที่ผดิ ขอ้ มลู ทมี่ ีเนือ้ หาเป็น ประโยชน์ และขอ้ มลู ที่เขา้ ขา่ ยอนั ตราย ขอ้ มลู ติดตอ่ ทางออนไลนท์ ี่น่าต้ังขอ้ สงสยั และน่าเชื่อถือได้ เม่ือใชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ จะรูว้ า่ เนื้อหาอะไร เป็นสาระ มีประโยชน์ รูเ้ ทา่ ทนั ส่อื และสารสนเทศ สามารถ วเิ คราะหแ์ ละประเมิน ขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ท่ีหลากหลายได้ เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงตา่ งๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตัดตอ่ เป็นตน้

ทกั ษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเอง ในโลกไซเบอร สามารถปอ้ งกันขอ้ มลู ดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภยั ท่ีเขม้ แขง็ และปอ้ งกนั การโจรกรรมขอ้ มลู หรอื การโจมตีออนไลนไ์ ด้ มีทักษะในการรกั ษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกออนไลน์ การ รกั ษา ความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอรค์ ือ การปกปอ้ งอปุ กรณด์ จิ ทิ ัลขอ้ มลู ท่ีจดั เกบ็ และ ขอ้ มลู สว่ นตัว ไม่ใหเ้ สียหาย สญู หาย หรอื ถกู โจรกรรมจากผไู้ ม่หวงั ดีในโลกไซเบอร์ การรกั ษา ความปลอดภยั ทาง ดิจทิ ัลมีความสาคญั ดังน 1. เพ่ือรกั ษาความเป็นสว่ นตวั และความลบั หากไม่ไดร้ กั ษาความปลอดภยั 3. เพ่ือปอ้ งกันการโจรกรรมขอ้ มลู เนื่องจากขอ้ มลู ตา่ งๆ มกั เกบ็ รกั ษาในรูป ใหก้ บั อปุ กรณด์ ิจทิ ลั ขอ้ มลู สว่ นตวั และขอ้ มลู ท่ีเป็นความลับอาจจะรว่ั ไหล ของดิจทิ ลั ไม่วา่ จะเป็นเอกสาร ภาพถ่าย หรือคลปิ วีดิโอ ขอ้ มลู เหลา่ นีอ้ าจจะ หรือถกู โจรกรรมได้ ถูกโจรกรรมเพ่ือนาไปขายตอ่ แบลค็ เมล์ หรอื เรียกค่าไถ 2. เพ่ือปอ้ งกันการขโมยอัตลกั ษณ์ การขโมยอตั ลกั ษณเ์ รมิ่ มีจานวนที่มากขนึ้ 4. เพ่ือปอ้ งกันความเสยี หายของขอ้ มลู และอปุ กรณ์ ภยั คุกคามทางไซเบอร์ ในยุคขอ้ มลู ขา่ วสาร เน่ืองจากมีการทาธุรกรรมทางออนไลนม์ ากยิ่งขนึ้ ผคู้ น อาจสง่ ผลเสียตอ่ ขอ้ มลู และ อุปกรณด์ จิ ทิ ัลได้ ผไู้ มห่ วงั ดีบางรายอาจม่งุ หวงั ให้ เรม่ิ ทาการชาระค่าสนิ คา้ ผา่ น สื่ออนิ เทอรเ์ นต็ และทาธุรกรรมกบั ธนาคารทาง เกดิ อนั ตรายต่อขอ้ มลู และอุปกรณท์ ่ีเก็บรกั ษามากกวา่ ท่ีจะ โจรกรรมขอ้ มลู นั้น ออนไลน์ หากไม่มีการรกั ษาความปลอดภยั ท่ี เพียงพอ มิจฉาชพี อาจจะลว้ ง ภยั คกุ คามอยา่ งไวรสั คอมพิวเตอร์โทรจนั และมลั แวรส์ รา้ งความเสียหาย ขอ้ มลู เกี่ยวกับบตั รเครดติ และขอ้ มลู สว่ นตัวของผใู้ ชง้ านไปสวมรอย ทา รา้ ยแรงใหก้ บั คอมพวิ เตอรห์ รอื ระบบปฏบิ ตั กิ ารได้ ธุรกรรมได้ เชน่ ไปซอื้ สนิ คา้ กยู้ ืมเงนิ หรอื สวมรอยรบั ผลประโยชนแ์ ละ สวสั ดิการ

ทกั ษะในการรกั ษาขอ้ มลู สว่ นตวั มีดุลพนิ จิ ในการบรหิ ารจดั การขอ้ มลู สว่ นตัว รูจ้ กั ปกปอ้ งขอ้ มลู ความสว่ นตัวในโลกออนไลนโ์ ดยเฉพาะ การแชรข์ อ้ มลู ออนไลนเ์ พื่อป้องกนั ความเป็นสว่ นตัวทั้งของตนเองและผอู้ ่ืน รูเ้ ท่าทันภยั คุกคามทาง อินเทอรเ์ นต็ เชน่ มลั แวร์ ไวรสั คอมพิวเตอร์และกลลวงทางไซเบอร 1. ไมค่ วรตั้งรหัสผา่ นของบญั ชีใชง้ านท่ีงา่ ยเกนิ ไป 2. ต้งั รหสั ผา่ นหนา้ จอสมารท์ โฟนอยู่เสมอ 3. แชรข์ อ้ มลู สว่ นตัวในส่อื โซเชยี ลมีเดียอย่างระมัดระวงั 4. ใสใ่ จกับการต้งั คา่ ความเป็นสว่ นตัว ระมัดระวงั ในการเปิดเผยชอ่ื และ ที่ต้งั ของเรา และปฏเิ สธแอปท่ีพยายามจะเขา้ ถงึ ขอ้ มลู สว่ นตัวของเรา 5. อย่าใชไ้ วไฟสาธารณะเม่ือตอ้ งกรอกขอ้ มลู สว่ นตัว เชน่ ออนไลนช์ อป ปิง้ หรือธรุ กรรมธนาคาร หรือการลงทะเบียนในสื่อสงั คมออนไลน 6. รูเ้ ทา่ ทันภยั คุกคามทางอินเทอรเ์ น็ต

ทกั ษะในการจดั สรรเวลาหนา้ จอ สามารถในการบรหิ ารเวลาที่ใช้ อปุ กรณย์ คุ ดิจทิ ลั รวมไปถึงการ ควบคุมเพื่อใหเ้ กิดสมดลุ ระหวา่ ง โลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนกั ถงึ อนั ตรายจากการใช้ เวลาหนา้ จอนานเกินไป การทางาน หลายอย่างในเวลาเดียวกัน และ ผลเสียของการเสพตดิ สอ่ื ดจิ ทิ ัล สานกั วจิ ยั สยามเทคโนโลยี อินเทอรเ์ นต็ โพลลร์ ะบวุ า่ วยั รุน่ ไทย เกือบ 40 % อยากใชเ้ วลาหนา้ จอ มากกวา่ ออกกาลงั กาย และผลการ สารวจจาก We are social พบวา่ ในแตล่ ะวนั คนไทยใชเ้ วลา หนา้ จอ

ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมีจรยิ ธรรม มีความเห็นอกเห็นใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ี่ดีกับผอู้ ่ืนบนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเป็นการสอ่ื สารท่ี ไมไ่ ดเ้ หน็ หนา้ กัน มีปฏสิ มั พันธอ์ ันดีตอ่ คนรอบขา้ ง ไมว่ า่ พอ่ แม่ ครู เพ่ือนทั้งในโลกออนไลนแ์ ละใน ชีวติ จรงิ ไมด่ ว่ นตดั สนิ ผอู้ ่ืนจากขอ้ มลู ออนไลนแ์ ตเ่ พียงอย่างเดียว และจะเป็นกระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ี่ ตอ้ งการความชว่ ยเหลือ คดิ กอ่ นจะโพสตล์ งสงั คมออนไลน ใครค่ รวญกอ่ นที่จะโพสตร์ ูปหรอื ขอ้ ความลงในสื่อออนไลน์ ไม่โพสตข์ ณะกาลงั อยู่ในอารมณโ์ กรธ ส่อื สารกับผอู้ ่ืนดว้ ยเจตนาดี ไม่ใชว้ าจาท่ีสรา้ งความเกลียดชงั ทางออนไลน์ ไม่นาลว้ งขอ้ มลู สว่ นตวั ของผอู้ ื่น ไม่กล่นั แกลง้ ผอู้ ื่นผา่ นสอื่ ดจิ ทิ ัล โดยอาจต้งั ความถามกับตัวเองก่อนโพสตว์ า่

เอกสารอา้ งองิ 6 เหตุการณ์ สะเทือนใจ!! จากภยั Cyberbullying - จส. 100 [Online]. แหลง่ ท่ีมา http://www.js100.com/en/site/post_share/view/25700 [4 มกราคม 2561] 9 ขอ้ ควรปฏบิ ตั ขิ องพลเมืองดิจทิ ัลยุคใหม่ [Online]. แหลง่ ที่มา http://www.okmd.or.th/ okmd-opportunity/digital-age/258/ [2 มกราคม 2561] ดีปา้ จบั มือ พนั ธมติ รขบั เคลือ่ นความฉลาดทางดิจทิ ัลใหเ้ ดก็ ไทยเทียบเท่ามาตรฐาน [Online]. แหลง่ ที่มา http://www.ryt9.com/s/prg/2778991 [3 มีนาคม 2561] โจไ๋ ทยเมิน ออกกาลงั กาย 40% อยากเลน่ เน็ต-เกมมากกวา่ [Online]. แหลง่ ที่มา http://www. manager.co.th/qol/viewnews.aspx?NewsID=9560000154824 [2 มกราคม 2561] ผลวจิ ยั ชวี้ ยั รุน่ อยู่ ‘หนา้ จอ’ นาน ยิง่ ผกู พันกับพ่อแม-่ เพ่ือนลดลง [Online]. แหลง่ ท่ีมา http://www. manager.co.th/Around/ViewNews.aspx?NewsID=9530000030132 [24 มกราคม 2561] วทิ ยา ดารงเกียรตศิ ักด์ิ. พลเมืองดจิ ทิ ลั [Online]. แหลง่ ท่ีมา http://www.infocommmju.com/ icarticle/images/stories/icarticles/ajwittaya/digital/Digital_Citizenship.pdf [1 กุมภาพนั ธ์ 2561] ววิ รรณ ธาราหริ ญั โชติ. ทกั ษะทางดิจติ อลที่จาเป็นสาหรบั เด็กในอนาคต [Online]. แหลง่ ท่ีมา http://www.bangkokbiznews.com/blog/detail/642553 [3 มกราคม 2561] สานกั งาน คณะกรรมการกจิ การกระจายเสยี ง กจิ การโทรทัศน์ และกจิ การโทรคมนาคมแห่งชาติ. คู่มือ Cyber Security สาหรบั ประชาชน [Online]. แหลง่ ที่มา https://www.nbtc.go.th/ getattachment/News/รวมบทความ-(1)/คู่มือ-Cyber-Security-สาหรบั ประชาชน/คู่มือ-CyberSecurity-สาหรบั ประชาชน.pdf.aspx [12 มกราคม 2561] Digital Southeast Asia / Thailand In 2017 – An Overview [Online]. แหลง่ ท่ีมา http://my-thai.org/digital-southeast-asia-thailand-2017- overview/ [12 มกราคม 2561] Digital Intelligence (DQ) A Conceptual Framework & Methodology for Teaching and Measuring Digital Citizenship [Online]. แหลง่ ที่มา https://www.dqinstitute. org/wp-content/uploads/2017/08/DQ-Framework-White-Paper-Ver1-31Aug17.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook