Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานเพิ่มคะแนน-พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล-คอม-ปฏิพร-610

งานเพิ่มคะแนน-พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล-คอม-ปฏิพร-610

Published by thanawitpanwongsa, 2020-11-12 14:13:16

Description: งานเพิ่มคะแนน-พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล-คอม-ปฏิพร-610

Keywords: งานเพิ่มคะแนน-พลเมืองดิจิทัลและความฉลาดทางดิจิทัล-คอม-ปฏิพร-610

Search

Read the Text Version

พลเมืองดจิ ทิ ัลและความฉลาดทางดจิ ทิ ลั จดั ทาโดย นางสาว ปฏิพร ภาชนะ ม.6/10 เลขที่ 28 เสนอ คุณครู วชิ ยั สิงห์นอ้ ย โรงเรียนสันกาแพง

พลเมืองดิจทิ ลั (Digital Citizenship) พลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) เป็นพลเมืองที่มีความสามารถในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการบริหารจดั การ ควบคุม กากบั ตน รู้ผดิ รู้ถูก และรู้เท่าทนั เป็นบรรทดั ฐานในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั อยา่ งเหมาะสม มีความรับผดิ ชอบ เรียนรู้ ที่จะใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งชาญฉลาด และปลอดภยั พลเมืองดิจิทลั จึงตอ้ งตระหนกั ถึงโอกาสและความเส่ียงในโลกดิจิทลั เขา้ ใจ ถึงสิทธิและความรับผดิ ชอบในโลกออนไลน์ ความเป็นพลเมืองดิจิทลั นบั เป็นมาตรฐานหน่ึงดา้ นทางเทคโนโลยกี ารศึกษาที่เสนอโดยสมาคมเทคโนโลยี การศึกษานานาชาติ (ISTE : International Society for Technology in Education) เพื่อใหผ้ เู้ รียนสามารถแสดงความเขา้ ใจ ประเดน็ ทางสงั คม วฒั นธรรม และความเป็นมนุษย์ ท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั เทคโนโลยสี ารสนเทศ และปฏิบตั ิตนอยา่ งมีจริยธรรมและ ตามครรลองกฎหมายใหใ้ ชข้ อ้ มูลข่าวสารไดอ้ ยา่ งปลอดภยั ถูกกฎหมาย ซ่ึงมีความสาคญั ในทกั ษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษ ท่ี 21 ทกั ษะสาคญั ท่ีจะทาใหเ้ ป็นพลเมืองดิจิทลั ท่ีสมบูรณ์

ความฉลาดทางดิจิทลั ความฉลาดทางดิจิทลั เป็นผลจากศึกษาและพฒั นาของ DQ institute หน่วยงานท่ีเกิดจากความร่วมมือกนั ของภาครัฐและเอกชนทว่ั โลก ประสานงานร่วมกบั เวลิ ดอ์ ีโคโนมิกฟอร่ัม (World Economic Forum) ที่ มุ่งมนั่ ใหเ้ ดก็ ๆ ทุกประเทศไดร้ ับการศึกษาดา้ นทกั ษะพลเมืองดิจิทลั ท่ีมี คุณภาพและใชช้ ีวิตบนโลกออนไลนอ์ ยา่ งปลอดภยั ดว้ ยความกา้ วหนา้ ของ เทคโนโลยสี มยั ใหม่ ความฉลาดทางดิจิทลั เป็นกรอบแนวคิดที่ครอบคลุมของ ความสามารถทางเทคนิคความรู้ความเขา้ ใจและความคิดทางสงั คมท่ีมี พ้ืนฐานอยใู่ นค่านิยมทางศีลธรรมที่ช่วยใหบ้ ุคคลท่ีจะเผชิญกบั ความทา้ ทาย ทางดิจิทลั ความฉลาดทางดิจิทลั มีสามระดบั 8 ดา้ น และ 24 สมรรถนะที่ ประกอบดว้ ย ความรู้ ทกั ษะ ทศั นคติและคา่ นิยม โดยบทความน้ีจะกล่าวถึง ทกั ษะ 8 ดา้ นของความฉลาดดิจิทลั ในระดบั พลเมืองดิจิทลั ซ่ึงเป็น ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั และส่ือในรูปแบบท่ีปลอดภยั รับผดิ ชอบ และมีจริยธรรม

1.เอกลกั ษณ์พลเมืองดิจทิ ัล (Digital Citizen Identity) เอกลกั ษณ์พลเมืองดิจิทลั เป็นความสามารถสร้างและบริหารจดั การอตั ลกั ษณ์ที่ดีของตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดีท้งั ใน โลกออนไลน์และโลกความจริงอตั ลกั ษณ์ที่ดีคือ การท่ีผใู้ ชส้ ื่อดิจิทลั สร้างภาพลกั ษณ์ในโลกออนไลน์ของตนเองใน แง่บวก ท้งั ความคิดความรู้สึก และการกระทา โดยมีวจิ ารณญาณในการรับส่งขา่ วสารและแสดงความคิดเห็น มี ความเห็นอกเห็นใจผรู้ ่วมใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรู้จกั รับผดิ ชอบต่อการกระทา ไม่กระทาการที่ผดิ กฎหมาย และจริยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลิขสิทธ์ิ การกลนั่ แกลง้ หรือการใชว้ าจาที่สร้างความเกลียดชงั ผอู้ ่ืน ทางส่ือออนไลน์

2.การบริหารจัดการเวลาบนโลกดิจิทัล (Screen Time Management) การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจิทลั เป็นความสามารถควบคุมตนเอง ความสามารถในการจดั สรรเวลาใน การ ใชง้ านอุปกรณ์ดิจิทลั และอุปกรณ์เทคโนโลยไี ดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รวมถึงการใชง้ านสื่อสงั คม (Social Media) และเกม ออนไลน์ (Online Games) ดว้ ยความรับผดิ ชอบต่อตนเอง สามารถบริหารเวลาที่ใชอ้ ุปกรณ์ยคุ ดิจิทลั รวมไปถึงการควบคุมเพ่ือใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกความเป็นจริง อีกท้งั ตระหนกั ถึง อนั ตราย และสุขภาพจากการใชเ้ วลาหนา้ จอนานเกินไป และผลเสียของการเสพติดสื่อดิจิทลั

3.การจดั การการกลนั่ แกล้งบนไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การจดั การการกลน่ั แกลง้ บนไซเบอร์ เป็นความสามารถในการป้องกนั ตนเอง การมีภูมิคุม้ กนั ในการรับมือ และจดั การกบั สถานการณ์การกลนั่ แกลง้ บนอินเทอร์เน็ตไดอ้ ยา่ งชาญฉลาด การใชอ้ ินเทอร์เน็ตเป็นเครื่องมือ หรือช่องทางเพื่อก่อใหเ้ กิดการคุกคามล่อลวงและการกลน่ั แกลง้ บนโลกอินเทอร์เน็ตและสื่อสงั คมออนไลน์ โดย กลุ่มเป้าหมายมกั จะเป็นกลุ่มเดก็ จนถึง เดก็ วยั รุ่น การกลนั่ แกลง้ บนโลกไซเบอร์คลา้ ยกนั กบั การกลนั่ แกลง้ ใน รูปแบบอื่น หากแต่การกลน่ั แกลง้ ประเภทน้ีจะกระทาผา่ นสื่อออนไลนห์ รือสื่อดิจิทลั เช่น การส่งขอ้ ความทาง โทรศพั ท์ ผกู้ ลน่ั แกลง้ อาจจะเป็นเพื่อนร่วมช้นั คนรู้จกั ในสื่อสงั คมออนไลน์ หรืออาจจะเป็นคนแปลกหนา้ กไ็ ด้ แต่ส่วนใหญ่ผทู้ ่ีกระทาจะรู้จกั ผทู้ ่ีถูกกลนั่ แกลง้ รูปแบบของการกลน่ั แกลง้ มกั จะเป็นการวา่ ร้าย ใส่ความ ข่ทู าร้าย หรือใชถ้ อ้ ยคาหยาบคาย การคุกคามทางเพศผา่ นสื่อออนไลน์ การแอบอา้ งตวั ตนของผอู้ ่ืน การแบลก็ เมล์ การ หลอกลวง การสร้างกลุ่มในโซเชียลเพ่ือโจมตีโดยเฉพาะ

4.การจดั การความปลอดภัยบนระบบเครือข่าย (Cybersecurity Management) การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือขา่ ย เป็นความสามารถในการสารวจ ตรวจสอบ การป้องกนั และ การรักษาความปลอดภยั ของขอ้ มูลในระบบเครือข่าย ป้องกนั ขอ้ มูลดว้ ยการสร้างระบบความปลอดภยั ที่เขม้ แขง็ และป้องกนั การโจรกรรมขอ้ มูลหรือการถูกโจมตีออนไลนไ์ ด้ มีทกั ษะในการรักษาความปลอดภยั ของตนเองใน โลกออนไลนก์ ารรักษาความปลอดภยั ของตนเองในโลกไซเบอร์ คือการปกป้องอุปกรณ์ดิจิทลั ขอ้ มูลที่จดั เกบ็ และขอ้ มูลส่วนตวั ไม่ใหเ้ สียหาย สูญหาย หรือถูกโจรกรรมจากผไู้ ม่หวงั ดีในโลกไซเบอร์

5.การจัดการความเป็ นส่วนตวั (Privacy Management) การจดั การความเป็นส่วนตวั เป็นความสามารถในการ จดั การกบั ความเป็นส่วนตวั ของตนเองและของผอู้ ่ืน การใช้ ขอ้ มูลออนไลนร์ ่วมกนั การแบ่งปันผา่ นสื่อดิจิทลั ซ่ึงรวมถึง การบริหารจดั การ รู้จกั ป้องกนั ขอ้ มูลส่วนบุคคลของตนเอง เช่น การแชร์ขอ้ มูลต่าง ๆ ดว้ ยเคร่ืองมือดิจิทลั การขโมยขอ้ มูลอตั ลกั ษณ์ เป็นตน้ โดยตอ้ งมีความสามารถในการฝึกฝนใช้ เครื่องมือ หรือวธิ ีการในการป้องกนั ขอ้ มูลตนเองไดเ้ ป็นอยา่ งดี รวมไปถึงปกปิ ดการสืบคน้ ขอ้ มูลต่างๆ ในเวบ็ ไซต์ เพ่ือรักษา ความเป็นส่วนตวั ความเป็นส่วนตวั ในโลกออนไลน์ คือสิทธิ การปกป้องขอ้ มูลความส่วนตวั ในโลกออนไลนข์ องผใู้ ชง้ านที่ บุคคลหรือการบริหารจดั การขอ้ มูลส่วนตวั รวมถึงการใชด้ ุลย พินิจปกป้อง ขอ้ มูลส่วนบุคคลและขอ้ มูลท่ีเป็นความลบั ของ ผอู้ ่ืน

6.การคดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ (Critical Thinking) การคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ หมายถึง ความสามารถในการตดั สินของบุคคลวา่ ควรเชื่อ ไม่ควรเชื่อ ควรทา หรือไม่ควรทาบนความคิดเชิงเหตุและผล มีความสามารถในการวิเคราะห์แยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลที่ถูกตอ้ งและ ขอ้ มูลท่ีผดิ ขอ้ มูลที่มีเน้ือหาเป็นประโยชน์และขอ้ มูลที่เขา้ ข่ายอนั ตราย ขอ้ มูลติดต่อทางออนไลนท์ ี่น่าต้งั ขอ้ สงสยั และน่าเชื่อถือได้ เม่ือใชอ้ ินเทอร์เน็ต ทราบวา่ เน้ือหาใดมีประโยชน์ รู้เท่าทนั สื่อและสารสนเทศ สามารถ วเิ คราะห์และประเมิน ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลที่หลากหลายได้ เขา้ ใจรูปแบบการหลอกลวงต่าง ๆ ในส่ือดิจิทลั เช่น ข่าวปลอม เวบ็ ไซตป์ ลอม ภาพตดั ต่อ ขอ้ มูลอนั ท่ีเทจ็ เป็นตน้

7.ร่องรอยทางดจิ ิทลั (Digital Footprints) ร่องรอยทางดิจิทลั เป็นความสามารถในการเขา้ ใจธรรมชาติของการใชช้ ีวิตในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือ ร่องรอยขอ้ มูลทิ้งไวเ้ สมอ ร่องรอยทางดิจิทลั อาจจะส่งผลกระทบในชีวติ จริง ที่เกิดจากร่องรอยทางดิจิทลั เขา้ ใจ ผลลพั ธ์ท่ีอาจเกิดข้ึน เพ่ือนามาใชใ้ นการจดั การกบั ชีวิตบทโลกดิจิทลั ดว้ ยความรับผดิ ชอบ ขอ้ มูลร่องรอยทางดิจิทลั เช่น การลงทะเบียน อีเมล การโพสตข์ อ้ ความหรือรูปภาพ ไฟลง์ านต่าง ๆ เม่ือถูกส่งเขา้ โลกอินเทอร์เน็ตแลว้ จะทิ้ง ร่องรอยขอ้ มูลส่วนตวั ของผใู้ ชง้ านไว้ ใหผ้ อู้ ่ืนสามารถติดตามได้ และจะเป็นขอ้ มูลท่ีระบุตวั บุคคลไดอ้ ยา่ งง่ายดาย

8.ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสัมพนั ธภาพทดี่ กี บั ผู้อื่นทางดจิ ทิ ัล (Digital Empathy) ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสมั พนั ธภาพท่ีดีกบั ผอู้ ่ืนทาง ดิจิทลั เป็นความสามารถในการเขา้ ใจผอู้ ่ืน การตอบสนองความ ตอ้ งการของผอู้ ่ืน การแสดง ความเห็นใจและการแสดงน้าใจต่อ ผอู้ ื่นบนโลกดิจิทลั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม มีปฏิสมั พนั ธ์อนั ดีต่อคน รอบขา้ ง ไม่วา่ พ่อแม่ ครู เพ่ือนท้งั ในโลกออนไลน์และในชีวิต จริง ไม่ด่วนตดั สินผอู้ ่ืนจากขอ้ มูลออนไลนแ์ ต่เพียงอยา่ งเดียว และจะเป็นกระบอกเสียงใหผ้ ทู้ ่ีตอ้ งการความช่วยเหลือในโลก ออนไลน์

จะเห็นวา่ ความฉลาดดิจิทลั ในระดบั พลเมืองดิจิทลั เป็นทกั ษะท่ีสาคญั สาหรับนกั เรียน และบุคคลทว่ั ไป ในการส่ือสารในโลกออนไลน์เป็นอยา่ งยง่ิ ท้งั เอกลกั ษณ์พลเมืองดิจิทลั การบริหารจดั การเวลาบนโลกดิจิทลั การ จดั การการกลน่ั แกลง้ บนไซเบอร์ การจดั การความปลอดภยั บนระบบเครือขา่ ย การจดั การความเป็นส่วนตวั การคิด อยา่ งมีวิจารณญาณ ร่องรอยทางดิจิทลั ความเห็นอกเห็นใจและสร้างสมั พนั ธภาพท่ีดีกบั ผอู้ ่ืนทางดิจิทลั หากบุคคลมี ทกั ษะและความสามารถท้งั 8 ประการจะทาใหบ้ ุคคลน้นั มีความสามารถในการใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการบริหารจดั การ ควบคุม กากบั ตน รู้ผดิ รู้ถูก และรู้เท่าทนั เป็นบรรทดั ฐานในการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั อยา่ งเหมาะสม เรียนรู้ท่ีจะใช้ เทคโนโลยอี ยา่ งชาญฉลาด และปลอดภยั แหล่งที่มา : สถาบนั สื่อเดก็ และเยาวชน. (2561). การจดั ทา Fact Sheet‘ความฉลาดทางดิจิทลั ’ (Digital Intelligence : DQ) และ การศึกษาการรังแกกนั บนโลกไซเบอร์ของวยั รุ่น. กรุงเทพมหานคร : สถาบนั สื่อเดก็ และ เยาวชน :สถาบนั ส่ือเดก็ และเยาวชน. (2562). การพฒั นาพลเมือง MILD จุดเนน้ ตามช่วงวยั . สืบคน้ เม่ือ 21 เมษายน 2562, จาก http://cclickthailand.com/ชุดความรู้สาหรับครู/ความรู้/การพฒั นาพลเมือง-midl-จุดเนน้ ตามช่วงวยั .