Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางเกษตรธรรมชาติ MOA

แนวทางเกษตรธรรมชาติ MOA

Published by somchid buaphan, 2019-06-09 04:38:16

Description: เนื้อหา แนวทางเกษตรธรรมชาติ MOA

Keywords: somchid buaphan

Search

Read the Text Version

บทนา เกษตรกรรมเป็นกระบวนการสาคญั ทแี่ ปรเปลี่ยนความปราณีจากธรรมชาติให้เป็นอาหารเพอื่ การ ดารงชีวติ อยา่ งไรก็ตาม เนือ่ งจากมนุษย์แสวงหาความเจริญทางวตั ถแุ ละชีวิตท่สี ะดวกสบายมากเกินความ จาเป็น จนทาให้ต้องสญู เสียสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติ และสถานทีเ่ พาะปลูกอันสาคัญ ก่อใหเ้ กดิ ปัญหา สิง่ แวดลอ้ มและปัญหาขาดแคลนอาหารอยา่ งรุนแรง อนั เป็นผลพวงจากความเจริญทางเทคโนโลยีวิทยาศาสตร์ และสังคม เบ้อื งหลงั การเปลยี่ นแปลงดังกลา่ ว ทาให้แนวคิดและวถิ ชี วี ิตของพวกเราเปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะ การเปล่ยี นแปลงพฤตกิ รรมในการบริโภคและการบริโภคทไ่ี มถ่ ูกต้อง ชช้ี ดั วา่ เปน็ สาเหตทุ าให้เกษตรกรรมและ หมู่บ้านเกษตรถดถอย เกิดปัญหาสุขภาพทงั้ จิตและกาย และการลม่ สลายของครอบครวั ในระยะไม่กปี่ ีมาน้ี เพ่ือแก้ไขปญั หาดังกล่าว มปี ระชาชนสนใจวิถชี วี ิตท่ียัง่ ยืน โดยไม่เพียงแค่ แสวงหาอาหารท่ปี ลอดภยั และไว้ใจได้เทา่ นั้น แตย่ งั ให้ความสาคญั กับความสมบูรณ์ด้านจติ ใจ เพิ่มมากข้นึ ทั่ว โลก ไมเ่ พยี งเฉพาะในประเทศญป่ี ่นุ รฐั บาลเองกพ็ ยายามสง่ เสริมร่วมกบั ภาคเอกชน โดยออกนโยบายสง่ เสริม กิจกรรมโภชนศกึ ษาทม่ี ีอาหารแบบพ้ืนบ้านญป่ี ่นุ เปน็ หลกั และสง่ เสรมิ การเกษตรที่อนรุ ักษ์ส่ิงแวดลอ้ ม ในคร้ังนี้ มูลนธิ ิเราได้ปรับปรุงแนวทางเกษตรธรรมชาติ MOA (ต่อไปเรียกว่า “แนวทาง”) โดย ปรารถนาทจี่ ะตอบสนองการเปลยี่ นแปลงของยุคสมยั และความต้องการของสงั คม อีกท้ังเพ่ือให้ผู้คนจานวน มากไดเ้ ขา้ ใจและทาเกษตรธรรมชาตทิ ่ีริเรมิ่ โดยทา่ นโมกิจิ โอกาดะ อย่างลึกซึง้ และกวา้ งขวางมากย่ิงขน้ึ แนวทางเกษตรธรรมชาติฉบับนี้ ไดส้ รปุ สานวนตา่ งๆ เพื่อใหเ้ ขา้ ใจหัวข้อท่จี าเป็นในการทาเกษตร ธรรมชาติไดง้ ่ายขึ้น และยังมีภาคผนวก “อธบิ ายคาศัพท์” เพ่อื ใหเ้ ขา้ ใจเบ้ืองหลังและความหมายที่เกีย่ วกบั ประเด็นสาคญั ไว้ตอนทา้ ยของเลม่ ด้วย หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ วา่ จะนาแนวทางฉบับนี้ไปใชเ้ ปน็ ทิศทางของเกษตรธรรมชาติ และเปน็ ส่วนหนึง่ ใน การเผยแพร่วิถีชีวิตสขุ ภาวะที่ยงั่ ยนื โดยให้ความสาคัญกับความสมบรู ณ์ของจติ ใจ 1 เมษายน 2559 มลู นิธิวัฒนธรรมเกษตรธรรมชาติ MOA 2

สารบัญ 1. เก่ยี วกบั การปฏบิ ัตเิ กษตรธรรมชาติ…………………………………………………….4 2. หลักพ้นื ฐานในการทาเกษตรธรรมชาต…ิ ……………………….………………..…..6 3. หลักพื้นฐานการเพาะปลูก…………………………………………………………...…...7 4. วิธีการปฏบิ ัติ……………………………………………………………………………….…..9 5. ข้อควรระวังในการเพาะปลูก…………………………………………………………...14 3

1. เก่ยี วกับการปฏบิ ัตเิ กษตรธรรมชาติ พวกเรามีชวี ิตอยู่ในฐานะเป็นสว่ นหน่งึ ของธรรมชาติ ดงั นั้น การดาเนนิ ชวี ิตตามกฎแห่งธรรมชาติ และเคารพธรรมชาติจงึ เปน็ เร่ืองสาคญั เกษตรธรรมชาติไม่ไดเ้ ป็นเพียงแค่วิธีการผลิตผลผลิตทางการเกษตร ท่จี าเป็นตอ่ การดารงชวี ิตและ สขุ ภาพของพวกเรา แตย่ ังเปน็ งานสาคญั ในการช่วยค้าจุนวิถีชีวติ และวฒั นธรรมของมนษุ ย์ อีกท้งั ยังช่วย อนรุ กั ษ์สงิ่ แวดล้อมของท้องถิ่นและประเทศ โดยมหี ลกั พื้นฐานอยู่ท่ี “การเคารพและคลอ้ ยตามธรรมชาติ” อีกทั้ง เกษตรธรรมชาติยงั ให้ความสาคัญต่อ “จิตใจ” โดยถอื ว่าท้ังดินและพืชต่างก็มีชีวติ หากเราให้ ความรัก พืชก็จะสนองตอบด้วยการเจรญิ เติบโตอย่างสมบูรณ์ ผผู้ ลิตควรใสใ่ จในเรือ่ งต่อไปน้ีในการปฏิบตั เิ กษตรธรรมชาติ โดยถือเป็นขอ้ พงึ ปฏบิ ตั ิดังน้ี (1) ให้ความสาคญั กับสุขภาพของตนเองและครอบครัว สรา้ งครอบครัวอบอุ่นทม่ี สี ุขภาวะดี มีความเขา้ ใจและความขอบคณุ ซ่ึงกันและกนั ดว้ ยการ รบั ประทานผลผลติ เกษตรที่ปลูกด้วยวิธีเกษตรธรรมชาติกนั ในครอบครัว (2) ปลูกฝังเจตนารมณแ์ ละสรา้ งพลังขับเคล่ือนเพอื่ ประโยชน์ตอ่ ผู้อนื่ และสังคม ปลูกฝงั เจตนารมณ์และสร้างพลังขับเคลอ่ื นให้ตระหนักในเร่ืองสขุ ภาพทั้งจติ และกายของ ผูบ้ ริโภค อนุรกั ษส์ ิง่ แวดล้อมทางธรรมชาติและวฒั นธรรมพื้นบา้ นของชุมชนดว้ ยเกษตรธรรมชาติ (3) ยึดหลักการผลิตและบริโภคในพืน้ ที่ การทาเกษตรธรรมชาตเิ รือ่ งสาคญั คือ การสร้างความเข้าใจและการไดร้ ับการสนับสนนุ ของ คนในพืน้ ท่ี ดังน้ัน จึงควรให้ความสาคัญกับการผลติ และบรโิ ภคในพ้นื ทซ่ี ง่ึ จะทาใหผ้ ู้ผลิตและผูบ้ ริโภคสามารถ สือ่ สารกันได้ และสร้างประโยชน์ในการพฒั นาชุมชนใหเ้ ขม้ แข็ง (4) วางแผนการผลติ และการจัดสง่ เพอ่ื ตอบสนองความต้องการของผบู้ รโิ ภค จะผลติ และจดั ส่งผลผลติ ตามแผน โดยมีเป้าหมาย ในการผลติ อยา่ งเปน็ รปู ธรรม ด้วยการพดู คุยหารือกับครอบครวั และกลุ่มเพื่อนเกษตรกรผู้ผลิตดว้ ยกนั (5) รับผิดชอบตอ่ ผลผลติ การเกษตรทป่ี ลูก ผู้ผลิตจะต้องมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ การเพาะปลกู และการจัดสง่ โดยคานึงถงึ ผลผลิตทางเกษตร ท่จี ะเป็นอาหารบนโตะ๊ อาหาร ผผู้ ลิตจะต้องบันทึกวิธกี ารปลูก ความรสู้ กึ นึกคิดต่อพืชผล และสภาพการเจริญเติบโต อีกท้งั แจ้งข้อมลู ข่าวสารจากแหล่งผลิตให้ผูบ้ ริโภคเขา้ ใจอยา่ งงา่ ยๆ รวมทงั้ วิธกี ารรับประทาน และการเก็บ รักษา 4

(6) คิดประยกุ ต์ ถงึ แมว้ า่ การเพาะปลกู แบบเกษตรธรรมชาตจิ ะมีหลกั การพ้ืนฐาน แตก่ ไ็ ม่มคี ู่มือทเ่ี ป็นแบบ ตายตวั ผผู้ ลติ จะตอ้ งเข้าใจสภาพของของดินเพาะปลกู ในแปลง เงื่อนไขของสง่ิ แวดล้อมในแปลง และ เอกลกั ษณ์พเิ ศษของการเจริญเตบิ โตของพชื แล้วคดิ หาวิธกี ารเพาะปลกู ใหเ้ หมาะสมกับแปลงเพาะปลกู นั้น ดังนัน้ จงึ ต้องทบทวนเทคนคิ การปลูกทส่ี ืบทอดกนั มาแต่โบราณในท้องถิน่ และเรียนรู้กรณตี ัวอยา่ ง ของผผู้ ลิตท่ปี ระสบความสาเร็จในการทาเกษตรธรรมชาติ (7) คานงึ ถึงส่งิ แวดล้อม งดการใช้วัสดสุ ังเคราะหท์ างเคมีและเช้ือเพลิงธรรมชาติ ควรใช้วสั ดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นให้เกิด ประโยชน์สูงสุด 5

2. หลกั พน้ื ฐานในการทาเกษตรธรรมชาติ เมอื่ คานงึ ถงึ เหตผุ ลทว่ี า่ เกษตรธรรมชาตเิ ป็นการเกษตรที่ช่วยสร้างเสริมสขุ ภาพและค้าจุนวิถชี ีวิต ของมนุษย์ ตลอดจนอนุรักษ์ส่ิงแวดลอ้ มทางธรรมชาตแิ ละวัฒนธรรมในท้องถนิ่ จึงควรปฏิบตั ิเกษตรธรรมชาติ ใหเ้ ตม็ พน้ื ทที่ ้งั หมด และขยายออกไปให้ทว่ั ท้ังท้องถ่นิ สงิ่ สาคัญในการเร่ิมทาเกษตรธรรมชาติ คอื พยายามเรียนรู้จิตใจและเทคนคิ การเพาะปลูกตาม “หลกั พื้นฐานการเพาะปลูก” ทรี่ ะบไุ ว้ในแนวทางฉบับนี้ โดยเรม่ิ จากการผลติ ตามความตอ้ งการท่ีแทจ้ รงิ ของ ผู้บริโภคและผปู้ ระกอบการร้านอาหาร เปน็ ตน้ ตลอดจนพยายามดูผลการเพาะปลูกไปพร้อมๆ กับพฒั นาระบบการตลาดใหส้ มบรู ณ์ แล้วคอ่ ยๆ ขยายพน้ื ท่ีเพาะปลกู และบริหารจดั การใหเ้ กิดความม่ันคง โดยพยายามรกั ษาความไวว้ างใจของประชาชนใน พืน้ ท่ี แล้วเผยแพร่ออกไป (1) สร้างกล่มุ เพ่ือนผ้ผู ลติ พยายามพบปะแลกเปลี่ยน โดยแบง่ ปันความปลืม้ ปีติที่ได้รบั จากการทาเกษตรธรรมชาติกบั ผู้ผลิตทอี่ ยใู่ กลก้ ัน จัดประชุมเรียนร้กู ารเพาะปลูกเปน็ ประจาในกลุ่มเพอื่ น เพ่ือพูดคยุ กันเกยี่ วกบั ความปีตยิ ินดี หรือความยากลาบากในการเพาะปลูก การตลาด และเทคนิคอนั ยอดเยีย่ มของแตล่ ะบุคคล เปน็ ตน้ อนั จะเป็นการเชื่อมโยงไปสู่การพัฒนาในการกาหนดเปา้ หมายท่ีมากกวา่ ความพยายามของบคุ คลคนเดียว และเทคนิคการเพาะปลูก นอกจากนี้ การมีมาตรฐานในการส่งผลผลติ รว่ มกับเพ่ือนเกษตรกร จะช่วย ใหก้ ารผลิตและการส่งเปน็ ไปตามแผน (2) พบปะแลกเปล่ยี นเรยี นรู้กบั ผบู้ รโิ ภค ในการรว่ มมือกบั ผู้บรโิ ภคท่ีเข้าใจเกษตรธรรมชาติ ควรจดั ให้มีตลาดนัดจาหน่ายผักหรือเทศกาล เก็บเกยี่ วผลผลิต เพอื่ รบั ฟังความคิดเห็นต่างๆ จากผู้บรโิ ภค จะได้ปลูกพืชผลให้ตรงกับความตอ้ งการของ ผบู้ รโิ ภค ในเวลาเดยี วกนั ก็บอกใหผ้ ูบ้ ริโภคทราบถงึ ความประทบั ใจและความปติ ิยินดจี ากการทาเกษตร ธรรมชาติ (3) ประสานงานกบั ผู้ทีเ่ กี่ยวขอ้ งด้านการตลาด เพอื่ ขยายเกษตรธรรมชาติ สงิ่ ทขี่ าดไม่ได้คือ การพัฒนาด้านการตลาดและดา้ นการขายให้ สมบรู ณ์ การประสานงานอย่างจริงจงั กบั บุคคลในวงการตลาดทเ่ี หน็ พ้องกับวตั ถุประสงคแ์ ละแนวคิดของ เกษตรธรรมชาติ และมีวตั ถุประสงคเ์ ดยี วกนั เป็นเรื่องสาคัญ 6

3. หลักพน้ื ฐานการเพาะปลูก เกษตรธรรมชาติมีหลักพืน้ ฐานอยู่ทก่ี ารปลกู พชื ใหเ้ จริญเติบโตอย่างแข็งแรงด้วยการทาให้ดิน แสดงศกั ยภาพโดยไม่ต้องอาศยั ปยุ๋ เคมีและสารเคมีสงั เคราะห์ ดงั นัน้ จงึ ตอ้ งใส่ใจในการสังเกตธรรมชาติ เรียนรู้กลไกธรรมชาตอิ นั ยอดเย่ียม แล้วนามาใชใ้ น แปลงเกษตร โดยเพาะปลูกพืชใหเ้ หมาะกับพน้ื ที่และภูมิอากาศด้วยความรักตามลักษณะของพืช ขนั้ สุดท้ายคือ การเกบ็ เมลด็ พนั ธุ์ และการปลูกพืชซา้ พนื้ ท่ี และถา้ เป็นดนิ ทีไ่ ม่จบั ตัวแข็งราก สามารถเจริญเติบโตไดด้ แี ล้ว ก็จะปลกู ไดโ้ ดยไม่ต้องใส่วสั ดุ เชน่ ปยุ๋ หมัก การปลกู พืชตามหลกั พน้ื ฐานมดี ังต่อไปน้ี (1) การทาใหด้ นิ แสดงศักยภาพ เดิมทีแลว้ ดนิ มศี ักยภาพท่จี ะทาให้พืชเจรญิ เติบโตได้อยา่ งแข็งแรง (ศักยภาพของดนิ ) ดังนั้น จึงไมต่ ้องใช้วัสดุ เชน่ ปยุ๋ เคมี สารเคมสี งั เคราะห์ทางการเกษตร การทาใหด้ ินแสดงศักยภาพ เร่อื งสาคญั อยทู่ ี่การเขา้ ใจลักษณะของดิน โดยไมท่ าให้ดินสกปรก ทาใหด้ นิ มีชีวิตชีวา และทาให้เปน็ ดนิ ทร่ี ากงอกงามได้ดี (2) ยึดกลไกการทางานของธรรมชาตเิ ป็นมาตรฐาน เพ่ือนากลไกอันยอดเยยี่ มของธรรมชาตมิ าทาใหเ้ ปน็ จรงิ ในแปลงเพาะปลกู จงึ ต้องสงั เกตสภาพ ของดินเพาะปลกู และการเจริญเติบโตของพชื ท่ีเปล่ยี นแปลงไปทุกวัน ท่ามกลางธรรมชาตดิ ้วยความอ่อน นอ้ ม แลว้ เพาะปลกู ไปตามการเปลี่ยนแปลงน้ัน (3) ใหค้ วามรักกับดนิ และพชื ไมเ่ พียงคนและพชื ที่มีชวี ติ ดินก็มชี ีวิตทม่ี คี ุณค่า ดงั น้ัน การปลูกพืชให้เจริญเติบโตแขง็ แรงโดย อาศยั พลังธรรมชาตินนั้ เร่ืองสาคญั คือการให้ความรกั ต่อดินและพชื (4) วางแผนในการเพาะปลูก ปลูกพชื ประเภทและพันธ์ุต่างๆ (เหมาะกบั ดนิ ) ให้เหมาะกบั สภาพแวดล้อมในการปลูก และ ปลกู ให้เหมาะกับช่วงเวลาทพี่ ืชเจริญเตบิ ได้ดี (เหมาะกบั ฤดูกาล) อีกท้ัง การทาให้เป็นดนิ ที่ไม่จับตัวแขง็ และรากของพชื เจรญิ เตบิ โตไดด้ นี ัน้ เรื่องสาคัญคอื การ วางแผนปลูกท่คี านึงถงึ พชื ทป่ี ลูกก่อนและหลงั (5) ให้ไดร้ ับแสงแดดและนา้ ทเี่ หมาะสมกบั พืช พืชมีศกั ยภาพในการเจรญิ เติบโตด้วยพลังงานทไ่ี ด้รับจากธาตอุ าหารและน้าจากการดดู ซับของ รากทีไ่ ชชอนในดนิ และจากแสงทางใบ การสง่ เสริมใหพ้ ืชแสดงศกั ยภาพในการเจรญิ เติบโตดงั กล่าวไดอ้ ย่างเตม็ ท่ีนั้น เร่ืองสาคญั คือ การให้พืชทีป่ ลูกไดร้ ับแสงแดดอย่างพอเพียงและไดร้ บั นา้ อยา่ งเหมาะสม 7

(6) ใชเ้ มลด็ พนั ธุ์ที่ปลูกดว้ ยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ พชื จะมีคณุ สมบัติในการปรบั ตัวให้เข้ากบั ภมู ิอากาศและลักษณะของดินในพน้ื ทเ่ี พาะปลูก อกี ทัง้ ยงั ทนต่อการเปลยี่ นแปลงของอากาศที่แปรปรวนและโรคแมลงด้วย ด้วยเหตผุ ลน้ี เมล็ดพันธุ์ท่ีใช้ในการเพาะปลูกจึงอยากใหใ้ ช้เมลด็ พนั ธ์ุทปี่ ลูกดว้ ยวิธีเกษตร ธรรมชาติในแปลงของตนเองหรือทอี่ ยู่ใกล้กับแปลงของตนเอง ❈ “เมลด็ พนั ธุ์” ตามแนวทางฉบับน้ี หมายถึง เมลด็ พนั ธแุ์ ละท่อนพันธ์ุ 8

4. วธิ ีการปฏิบตั ิ (1) ทาให้รากเจริญงอกงามไดด้ ี คดิ หาวธิ ีการต่างๆ เช่น การไถพรวน การใชป้ ยุ๋ หมกั ธรรมชาติ การใช้เศษพืชทีเ่ หลือในแปลง การใชป้ ยุ๋ พืชสด การคลุมดนิ การยกแปลง การฝงั ท่อระบายน้าใต้ดนิ การทาร่องระบายน้า และการนา ดนิ จากท่ีอน่ื มาใส่ในแปลง เพอ่ื พฒั นาให้เป็นดนิ เพาะปลกู ท่ีรากของพืชเจริญงอกงามได้ดี โดยเก็บข้อมูล ลักษณะเฉพาะของดนิ เพาะปลูกจากสภาพการเจริญเติบโตของพชื และหญา้ หรอื จากการวเิ คราะห์ดนิ เปน็ ต้น 1.1 การไถพรวน คดิ หาวธิ ีการไถพรวนให้เหมาะกับดนิ เพาะปลกู เพ่ือทาใหด้ ินเพาะปลูกมีลักษณะรว่ นซุย ก. เลือกใชเ้ ครื่องจกั รกลทางการเกษตร (อาทิ รถไถพรวน รถไถผาน เป็นต้น) และใช้ให้น้อยครง้ั ทส่ี ุดเทา่ ทีจ่ าเปน็ ข. กรณที หี่ นา้ ดนิ จับตัวแขง็ เน่ืองจากฝนตกหรือแหง้ แลง้ ควรไถพรวนหนา้ ดินตามความ เหมาะสมดว้ ยความระมัดระวังอย่าให้รากบอบชา้ 1.2 การใช้ปยุ๋ หมกั ธรรมชาติ เกษตรธรรมชาตสิ ่งเสรมิ ให้ใช้ปุย๋ หมกั ธรรมชาติจากวสั ดุ เช่น ใบไม้ ใบหญา้ การใช้ปยุ๋ หมกั ธรรมชาติจะชว่ ยใหด้ ินร่วนซยุ รกั ษาความชน้ื ระบายน้า และรกั ษาอุณหภมู ไิ ดด้ ี ทาให้รากของพืช เจริญเตบิ โตไดด้ ี ในการใชป้ ุ๋ยหมักธรรมชาตินัน้ จะต้องคิดหาวธิ กี ารทีเ่ หมาะกับดินเพาะปลกู ของตนเอง โดย ระมัดระวงั ในเรอื่ งต่อไปน้ี ก. ปุย๋ หมักธรรมชาติ ตามหลกั แลว้ ใหใ้ ช้ปุ๋ยหมักท่ีทาเอง ข. วสั ดุทีใ่ ชท้ าปุ๋ยหมกั ธรรมชาติ ถา้ เป็นไปไดค้ วรใชว้ ัสดุที่มีอยใู่ นฟารม์ หรอื อยู่ใกลฟ้ าร์ม ค. ถา้ วสั ดุเปน็ หญ้าใหห้ มักจนเสน้ ใบอ่อนนุ่มลง แตถ่ า้ เป็นใบไมใ้ หใ้ ชเ้ วลาในการหมกั จนเส้นใย ของใบไมย้ ่อยสลาย ง. กิ่งและเปลือกไมจ้ ะยอ่ ยสลายยาก จงึ ต้องหมกั ไวต้ ้งั แต่ 2 ปขี ้นึ ไป แลว้ ค่อยนาไปใช้ จ. ปริมาณในการใช้ ใหพ้ จิ ารณาโดยยืนยนั จากสภาพของดนิ เพาะปลกู หรอื สภาพการ เจริญเตบิ โตของพืชทป่ี ลูกในรุ่นก่อน ฉ. ปรับระดับความลึกในการใส่ปุ๋ยใหเ้ หมาะกับลกั ษณะของรากพชื ช. ถา้ ดนิ เพาะปลูกเปน็ ดนิ ทรี่ ากเจรญิ เติบโตไดด้ แี ลว้ ให้งดใชป้ ุ๋ยหมกั ธรรมชาติ ซ. วัสดุทีใ่ ชใ้ นการหมกั ปุ๋ยธรรมชาติ เลือกให้เหมาะสมกบั พชื พันธ์ใุ นธรรมชาติดังน้ี  นาขา้ ว – พืชที่ขึ้นตามรมิ นา้ เชน่ ฟางข้าว ตน้ กก  สวนผัก – พชื ทีข่ ึน้ ตามเขตปา่ ทีอ่ ยู่รอบๆ สวน เชน่ ใบไม้ ใบหญา้  สวนไม้ผล – ต้นหญ้าท่เี กื้อกูลกบั ตน้ ไม้ หรือใบไม้ ก่ิงไม้ เศษกง่ิ และใบท่ีตัดแตง่ ทง้ิ 9

1.3 การคลมุ ดนิ ดินเพาะปลกู ถ้าหากหน้าดนิ เปลือย จะได้รับอิทธผิ ลจากฝนและแสงแดดโดยตรง ทาใหด้ ินชื้น หรอื แหง้ เกินไป และทาให้อุณหภมู เิ ปลยี่ นแปลงอย่างกระทันหนั ได้ง่าย ส่งผลกระทบต่อการ เจรญิ เติบโตของพชื จึงควรปฏิบตั ิดังน้ี ก. คลุมดินด้วยเศษพืชในแปลง หรอื หญ้าทต่ี ัด หรือปุ๋ยหมกั ธรรมชาติ ข. สวนไม้ผล ให้เล้ียงหญ้าเพื่อรักษาระบบนเิ วศนใ์ หส้ มดลุ ค. วสั ดุในการคลมุ ดนิ ให้ใชว้ ัสดุท่เี ก้ือกลู ต่อพืชท่ีปลูก (2) การปลูกพืชชนดิ เดียวกันซ้าพ้ืนท่ี การปลูกพชื ชนดิ เดียวกนั ซา้ พ้ืนที่ จะทาใหด้ ินเพาะปลูกปรับสภาพให้เหมาะกบั พืชชนิดน้ัน จาก การปรับเปลี่ยนโครงสรา้ งของดนิ ทเี่ หมาะกบั พืชชนิดน้ัน และการเปล่ียนแปลงของกลุม่ จุลินทรีย์ที่ช่วยให้ พืชเจรญิ เตบิ โต ชว่ งแรกของการปลกู พืชชนิดเดยี วกันซ้าพนื้ ท่ี การเจรญิ เติบโตอาจจะไมด่ ี แต่จะกลับมาดีข้ึนใน เวลาไมก่ ่ปี ี หลังจากนัน้ จะปลูกได้อย่างม่นั คง การปลกู พืชชนิดเดียวกนั ซ้าพื้นที่ จะต้องปฏิบัตดิ งั นี้ 1.1 ปลูกพชื ตา่ งตระกลู เช่น ตระกูลถวั่ กับตระกูลหญา้ จนกว่าดนิ จะแสดงศักยภาพ 1.2 เพาะปลูกต่อเน่ืองโดยไมห่ ยุดพักดิน 1.3 เพอื่ ให้ปลูกพชื ได้งา่ ยขึน้ ให้ปลกู พืชชนดิ เดยี วกนั ซา้ ในพ้นื ที่เดยี วกนั อย่างต่อเนื่อง 1.4 ใชเ้ มล็ดพันธท์ุ ป่ี ลูกและเกบ็ ในแปลงน้ัน (3) เมลด็ พนั ธ์ุและต้นกล้า เน่ืองจากลักษณะของเมล็ดพันธแ์ุ ละตน้ กลา้ จะมีอิทธพิ ลอยา่ งยง่ิ ต่อการเพาะปลูกและคุณภาพ จึงไมใชเ้ มล็ดพันธ์ทุ ี่ผา่ นกระบวนการทางพันธวุ ศิ วกรรมโดยจะปฏบิ ัติดงั นี้ 1.1 เลือกพนั ธุ์ที่เหมาะกับเกษตรธรรมชาติ 1.2 เมล็ดพันธุ์ อยากใหใ้ ชเ้ มล็ดพันธท์ุ ่ีเก็บเอง 1.3 เลือกเมลด็ พนั ธ์ทุ ีเ่ กบ็ ใกลๆ้ พ้ืนทเี่ พาะปลูก 1.4 ตน้ กล้า พยายามเพาะกลา้ เองดว้ ยวิธีเกษตรธรรมชาติ (4) การดูแลจัดการหญา้ พืชมหี น้าท่ีในการพรวนดนิ รักษาความชมุ่ ชน้ื ของหน้าดนิ อีกทั้งยังเป็นอินทรีย์วัตถุและชว่ ยหลอ่ เลยี้ งจลุ นิ ทรยี ์ในดนิ ดังน้ัน เกษตรธรรมชาติ จงึ ไม่ได้มองวา่ หญ้าเปน็ ศัตรู และจะไมใ่ ชย้ าฆา่ หญา้ ในชว่ งแรกของการทาเกษตรธรรมชาติ จะมีหญ้าท่ีขนึ้ แขง่ กับพชื ท่ีปลูกอยู่มาก การทาเกษตร ธรรมชาตอิ ย่างต่อเน่อื ง จะทาใหช้ นดิ ของหญา้ เปลี่ยนแปลงไป กลายเป็นหญา้ ที่เกื้อกูลกบั พืชท่ปี ลูกเพ่มิ มากขน้ึ 10

เพอ่ื ควบคมุ หญา้ ไม่ใหข้ นึ้ จนเป็นอุปสรรคต์ ่อการเจรญิ เติบโตของพชื ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี 1.1ร้จู กั ชนดิ และนเิ วศวิทยาของหญ้า จากการสังเกตในแปลง 1.2เลือกฤดูกาลเพาะปลูกและวิธีการปลกู เช่น วธิ ไี ถดนิ พรวนหน้าดนิ กลบโคน คลุมดินเป็นตน้ 1.3จดั การหญ้าทเ่ี ป็นอุปสรรคต่อการเจรญิ เติบโตของพชื ต้งั แต่ระยะแรก 1.4อยา่ ให้รากไดร้ ับความบอบชา้ (5) การจัดการโรคและแมลงศตั รูพืช เกษตรธรรมชาติเชือ่ ว่าการใช้ปยุ๋ หมกั มากเกินไปเป็นสาเหตุใหเ้ กิดโรคและแมลงศตั รพู ืช การจดั การโรคและแมลงศัตรูพืช ตามหลกั การพน้ื ฐานแล้วคือการทาให้ดินแสดงศกั ยภาพ และ ทาให้พชื เจรญิ เตบิ โตอย่างแข็งแรง ดงั น้นั จึงไมใ่ ชย้ าฆ่าเชื้อในดนิ และสารเคมีสงั เคราะห์ทางการเกษตร เพอ่ื ไมใ่ ห้โรคและแมลงศตั รูพืชระบาด ควรปฏิบตั ดิ งั ต่อไปน้ี 1.1 ปลูกพชื ให้แข็งแรง และทนต่อโรคและแมลงโดยอาศยั ศักยภาพของดนิ 1.2 เลอื กพนั ธ์ุท่ีทนต่อโรคและแมลง 1.3 ปลกู ให้เหมาะกบั ฤดกู าล 1.4 เพอ่ื เพม่ิ ชนิดและจานวนของตัวห้าตัวเบียน ควรนาวธิ ตี ่างๆ มาใช้ เช่น ปลกู พืชก่อนและ หลังทีเ่ กื้อกลู กัน ปลกู พชื ผสมผสานหรอื ปลกู พืชแซม ปลูกพืชเป็นแนวกาแพงกน้ั เปน็ ต้น 1.5 เพม่ิ ความหลากหลายทางชวี ภาพในแปลงโดยดแู ลการปลูกใหเ้ หมาะกับพน้ื ท่ี ฤดกู าล และ ดินดว้ ย 1.6 บริหารจัดการหญ้าบนคนั นาใหเ้ หมาะสมโดยคานงึ ถึงระบบนเิ วศน์ของการเกดิ ตัวห้าตัวเบียน และโรคแมลง (6) การดแู ลการปลกู ดนิ ตลอดจนคุณสมบตั พิ ิเศษ ในการเพาะปลูกนั้น จะดแู ลการปลูกให้เหมาะสมกับภูมอิ ากาศ ของพชื โดยปฏิบตั ิดงั น้ี 1.1 หวา่ นเมลด็ หรอื ยา้ ยกลา้ ในช่วงเวลาท่เี หมาะสม 1.2 ปลกู พืชให้มีระยะห่างที่เหมาะสม 1.3 ยกแปลงโดยคานึงถงึ ทิศทางท่ีเหมาะสม 1.4 ดแู ลควบคุมความชน้ื ให้เหมาะสม 1.5 ปอ้ งกนั ลม 1.6 ปลกู พืชผสมผสานที่เก้ือกลู กัน (7) การเพาะปลกู ในโรงเรอื น หลักพนื้ ฐานของเกษตรธรรมชาติคือการปลูกพชื ท่ีเหมาะสมกับพื้นทแี่ ละฤดูกาล ดงั น้ัน ตาม หลกั การแลว้ จึงจะไม่ปลกู ในโรงเรือนท่ีตดิ เครื่องทาความรอ้ น และตอ้ งปลูกพืชในดนิ 11

การใช้โรงเรอื นหรือมุ้งจะใชเ้ ท่าท่ีจาเปน็ ในกรณีทช่ี ่วยสรา้ งสภาพแวดล้อมให้เหมาะสมกับการ เจริญเติบโตของพชื เพื่อให้พืชเจริญเตบิ โตไดอ้ ย่างแข็งแรง (8) เทคนคิ ทางเลอื ก ชว่ งแรกของการทาเกษตรธรรมชาติ เน่อื งจากส่วนใหญ่ท้ังดนิ และพืชยังไมส่ ามารถแสดง ศกั ยภาพทีจ่ ะทาให้พชื เจรญิ เติบโตได้ ดงั นนั้ จงึ ตอ้ งใชป้ ุ๋ยหมกั และวสั ดเุ สริมเพ่ือรกั ษาปริมาณของผลผลิต และพยายามเพาะปลกู ตาม “หลกั การปลกู พ้ืนฐาน” ท่ีอธิบายไวใ้ นบทกอ่ น แลว้ จึงลดปยุ๋ หมกั และวัสดลุ งตามการเปล่ียนแปลงของดนิ และพืช 1.1ปุย๋ หมกั มลู สตั ว์ เกษตรธรรมชาตติ ามหลักการแล้วจะไม่ใชป้ ยุ๋ หมักจากมูลสตั ว์ แตอ่ ยา่ งไรก็ตาม มี กรณีอยู่เปน็ จานวนมากท่ีไมส่ ามารถหาวสั ดุทาปุ๋ยธรรมชาติตามการส่งเสริมของเกษตร ธรรมชาตไิ ด้ และในอีกด้านหนง่ึ จงึ อนญุ าตใหใ้ ช้ปุ๋ยหมกั มลู สัตว์ที่ผา่ นกรรมวธิ อี ย่าง เหมาะสมแล้วเป็นการทดแทนช่ัวคราว การผลิตและการใชป้ ุย๋ หมักมูลสัตว์ ควรระมดั ระวงั ดงั นี้ ก. วัตถดุ บิ ของปุ๋ยหมกั เน่ืองจากความแขง็ แรงของสัตวท์ ่เี ปน็ ต้นกาเนิดของวตั ถุดบิ เป็นเรื่องสาคัญ จงึ ควรเปน็ สตั วท์ ่ีเลยี้ งในสภาพแวดล้อมทด่ี ีปล่อยให้เดิน และให้ อาหารที่ปลกู ดว้ ยวธิ ีเกษตรธรรมชาติ ข. การผลติ การดแู ล และการนาปุย๋ หมักไปใช้ ควรระมัดระวังในรายละเอียด อย่า ให้เป็นมลพิษตอ่ อากาศ น้า และดิน ค. ตรวจสอบระดบั ของการย่อยสลายของปุ๋ยหมักดว้ ยวิธกี ารทดลองการงอก แล้ว จงึ นาไปใช้ ง. ป๋ยุ หมัก เน่อื งจากความสมดุลของธาตุอาหารจะแตกต่างกันไปตามชนิดของ วัตถุดิบและวิธกี ารผลิต จงึ ควรพิจารณาชนิดและปรมิ าณของป๋ยุ หมักที่จะ นามาใช้ โดยยนื ยนั ผลการตรวจวิเคราะห์ดนิ และธาตุอาหารกอ่ น อน่ึง ให้ใช้ เท่าท่จี าเปน็ จ. ถ้าดนิ เพาะปลกู เป็นดนิ ท่ีรากเจริญงอกงามไดด้ ีแล้ว ใหง้ ดใช้ 1.2 ใช้วสั ดเุ สริมจนดินแสดงศกั ยภาพ ใช้วสั ดเุ สรมิ เทา่ ท่จี าเป็น โดยมวี ตั ถุประสงค์เพ่ือรกั ษาความแข็งแรงสมบูรณ์ของ ดนิ และพชื จนกวา่ ดนิ จะแสดงศกั ยภาพได้ ก. วัสดอุ นิ ทรีย์ หรือวัสดทุ ่ีใชป้ รับปรงุ ดิน ให้เลือกใช้วัสดุทีเ่ หมาะสมโดยพิจารณา จากข้อมลู สภาพจริงของแปลงทไี่ ด้จากการวเิ คราะห์ดิน และให้ยึดหลักการใช้ วสั ดุท่ผี ลติ เอง หรอื วัสดทุ น่ี า้ กลับมาใชไ้ ด้ท่ีมีอยใู่ นท้องถ่นิ 12

ข. กรณที ี่คาดว่าจะเกดิ ความเสียหายจากโรคและแมลงศัตรูพืชในวงกว้าง ใหร้ บี แยกแยะโรคและแมลงศตั รูพืชโดยเร็ว แล้วหาวธิ กี ารรวมถึงการใชว้ สั ดุท่ี เหมาะสมกับระบบนิเวศนน์ นั้ ในกรณเี ช่นนี้ จะไม่ใช้วสั ดุในเชงิ การกาจัดโรค และแมลง 13

5. ข้อควรระวังในการปลกู นอกจากการปฏิบตั ิตามเรือ่ งทไี่ ด้แนะนาไปแล้ว ควรระมัดระวงั ในเรือ่ งต่อไปน้ี (1) การดแู ลแปลงเพาะปลูก “แปลงเพาะปลูก” หมายถึง ไรน่ า และสวนผลไม้ รวมถึงคนั นา และคันกน้ั บริเวณรอบไร่สวน ด้วย ในกรณีเพาะปลูกในโรงเรือน แปลงเพาะปลูกใหร้ วมถึงพ้นื ที่บรเิ วณรอบโรงเรือนน้ันดว้ ย ไมใ่ ช่ หมายถงึ เฉพาะพ้นื ท่ใี นโรงเรอื นอยา่ งเดียว แปลงเพาะปลูก ให้ติดตงั้ ปา้ ยสญั ลักษณ์เพ่ือให้ผู้บรโิ ภคหรอื ผูท้ ่มี าทศั นศึกษา เหน็ และเข้าใจได้ ง่าย โดยดูแลควบคุมและระมดั ระวังในเรื่องต่อไปนี้ 1.1 กาหนดเขตแดนของพน้ื ทีเ่ พาะปลกู โดยรอบให้ชัดเจน 1.2 ปลูกพืชดว้ ยวธิ ีเกษตรธรรมชาติอย่างต่อเนอ่ื ง 1.3 หากเปน็ แปลงเพาะปลกู ท่ีคิดว่าจะมีการปนเปื้อนจากการปลิวหรอื ไหลเข้ามาของวสั ดุ ตอ้ งห้ามในเกษตรธรรมชาติ ใหด้ าเนินมาตรการปอ้ งกันการปนเป้อื น 1.4 ควรใช้น้าทีม่ ิไดป้ นเป้ือนวสั ดตุ อ้ งห้ามในเกษตรธรรมชาติ 1.5 ไมเ่ ผาและทง้ิ วัสดุการเกษตรหรอื ขยะในแปลงเพาะปลูก (2) เครือ่ งจกั รกล เครอ่ื งมือทางการเกษตร วสั ดุการเกษตร เกีย่ วกบั การใช้เคร่ืองจักรกล เครื่องมือทางการเกษตร และวสั ดุการเกษตรในเกษตรธรรมชาติ นนั้ ควรปฏิบตั ิตามดงั นี้ 1.1 เครอ่ื งจกั รกลและเครื่องมือทางการเกษตร ควรกาหนดให้ใชเ้ ฉพาะสาหรบั ทาเกษตร ธรรมชาติ หรือในกรณที น่ี าไปใช้ในแปลงอ่นื ให้ทาความสะอาดและล้างใหส้ ะอาดเพอื่ ปอ้ งกนั การปนเป้ือนจากวสั ดุต้องห้ามในเกษตรธรรมชาติ 1.2 ควรหลีกเลย่ี งการใช้วสั ดุการเกษตร เช่น พลาสติก ให้มากที่สดุ เทา่ ทจ่ี ะทาได้ แตค่ วรใช้วสั ดุ ทค่ี านึงถึงสิง่ แวดลอ้ ม เช่น เสาคา้ ไมไ้ ผ่ เปน็ ต้น 1.3 ไมน่ าภาชนะหรือถุงใส่วัสดุต้องหา้ มในเกษตรธรรมชาตเิ ขา้ มาในแปลงเพาะปลกู (3) แผนงานและการจดบนั ทึก แผนการเพาะปลกู และบันทึกการเพาะปลกู เป็นเอกสารสาคัญเพ่ือใชท้ บทวนปรับปรุงการ เพาะปลูกของตนเอง และพัฒนาเทคนิคให้ดีข้นึ อีกท้งั ยังเชือ่ มโยงไปส่คู วามเชอ่ื ใจของผบู้ ริโภค จงึ ควร เกบ็ รักษาไว้ดังนี้ 1.1 ก่อนปลกู ให้วางแผนการปลูกท่ีสอดคล้องตามแนวทางเกษตรธรรมชาติ (เชน่ ชนิด ปรมิ าณ การผลิต และวสั ดทุ ี่จะใช้ ฯลฯ) 14

1.2 ใหบ้ นั ทกึ ข้อมลู อย่างถูกตอ้ ง เช่น การไถ การหวา่ นเมล็ด การยา้ ยปลกู การดแู ลหลังการ ปลูก การเกบ็ เกยี่ ว การเกบ็ รักษา การจดั ส่ง และการทาความสะอาดเครือ่ งจักรกล ฯลฯ 1.3 ถ้ามีส่ิงที่ได้เรียนร้จู ากการเปลย่ี นแปลงของอากาศ สภาพของดินและพืช ให้บันทึกด้วย 1.4 ถา่ ยรปู บนั ทกึ เป็นระยะๆ 1.5 เก็บรกั ษาแผนการเพาะปลูกและบนั ทึกไว้ เพ่ือเป็นประโยชน์ในการวางแผนครง้ั ต่อไป ^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^^ 15


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook