การจัดทาคู่มือการใช้ Google Earth Pro สาหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร มีวัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมพัฒนาปรับปรุงองค์ความรู้ท่ีมีอยู่ในองค์กร ให้เป็นระบบและมีมาตรฐานเดียวกัน ซ่ึงเป็นเป้าหมายของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และตรงตามความต้องการของ ผู้รบั บริการ หรือผมู้ สี ่วนได้เสีย เพ่ือใหบ้ รรลวุ สิ ยั ทศั นข์ องสว่ นราชการ ในปัจจุบัน ขอขอบคุณหัวหนา้ กลุ่มงานวิจัยระบบนิเวศป่าไม้และส่ิงแวดล้อม (คุณภาณุมาศ ลาดปาละ) และผู้อานวยการสานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืช (คุณธัญนรินทร์ ณ นคร) ที่สนับสนุนและ มอบโอกาสให้ผู้เขียนได้จัดทา “คู่มือการใช้ Google Earth Pro สาหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร” ขอขอบคุณ คุณชิงชัย วิริยะบัญชา ที่คอยให้คาปรึกษาและปรับปรุงเน้ือหาให้มีความสมบูรณ์มากขึ้น คุณขวัญชนก ทองจาด และคณุ ชรนิ รัตน์ นาคเกตุ ท่ีตรวจทานต้นฉบับ คุณสุวรรณา เขื่อนคา ท่ีช่วย ในการออกแบบและจดั ทารปู เลม่ และขอขอบคุณเจา้ หน้าที่และพนักงานทุกท่านท่ีอานวยความสะดวก ในด้านต่างๆ ไว้ ณ โอกาสน้ี คู่มือการใช้ Google Earth Pro สาหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร เล่มน้ีได้รวบรวมแนวทาง จากการใช้งานจริงในภาคสนาม นามารวบรวม และจัดทาข้ึนเป็นรูปเล่ม ประกอบด้วยข้ันตอนการ ปฏบิ ตั ิงาน ขั้นตอนการเลือกแปลงสารวจ ข้ันตอนการใช้งานโปรแกรม Google Earth Pro และการขึ้นรูป แปลงตัวอย่าง เอาไว้ด้วยกันเพ่ือให้เข้าใจได้ง่ายสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ทันทีคณะผู้จัดทา หวังเปน็ อย่างยิง่ ว่า คู่มอื เลม่ นจี้ ะเปน็ ประโยชนแ์ ละสามารถใช้เป็นแนวทางสาหรับการปฏิบัติงาน สามารถ ช่วยให้ผปู้ ฏิบัตงิ านดาเนินงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและเป็นมาตรฐานเดียวกัน หากมีข้อบกพร่อง ประการใดจากคมู่ อื เลม่ นี้ ผ้เู ขียนขอนอ้ มรับไว้แตเ่ พยี งผู้เดยี ว กนั ยายน 2563 นรินทร์ จรูญรตั นพกั ตร์ กฤติณ สุดโต
สารบญั หน้า สารบญั ภาพ (1) คานา (2) โปรแกรม Google earth และลักษณะโดยทัว่ ไป 1 การติดตั้งโปรแกรม Google Earth Pro 2 ขั้นตอนการดาวน์โหลดและติดตง้ั โปรแกรม Google Earth Pro การตงั้ คา่ เพือ่ การใชง้ านโปรแกรม Google Earth Pro 5 การตง้ั คา่ เพอื่ การใชง้ าน Offline 5 การใชเ้ คร่ืองมือโปรแกรม Google Earth Pro 6 10 การประยุกต์ใช้ Google Earth Pro และ TCX Converter ในการทาระดบั ความสงู พ้นื ที่ 11 การประยกุ ตใ์ ช้ข้อมลู ภาพดาวเทยี มในสารวจและวางแปลงตวั อย่าง 19 การเลือกพ้ืนที่วางแปลงสารวจจากข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอยี ดสงู การหาความสมั พันธ์ของแปลงสารวจมวลชีวภาพกับภาพถ่ายจากดาวเทียม 27 ผลการศึกษาจากกรณตี ัวอยา่ งการวางแปลงถาวรและดชั นีพืชพรรณจาก 27 ภาพถ่ายจากดาวเทียม 33 ข้อเสนอแนะสาหรบั การใช้งาน 44 เอกสารอา้ งองิ 48 ประวตั กิ ารศึกษา และการทางาน 49 51 (1)
ภาพท่ี 1 เว็บไซต์ดาวน์โหลดโปรแกรม Google Earth Pro หนา้ ภาพท่ี 2 ขั้นตอนการดาวน์โหลดและตดิ ตัง้ โปรแกรม Google Earth Pro 5 ภาพที่ 3 โปรแกรม Google Earth Pro 5 ภาพท่ี 4 หนา้ ตา่ งโปรแกรม Google Earth Pro 6 ภาพที่ 5 แสดงป่มุ ตวั เลือก 6 ภาพท่ี 6 แสดงรายละเอียดในรายการตวั เลือก 7 ภาพที่ 7 แสดงรายละเอียดในรายการเลอื กแบบอกั ษร 7 ภาพที่ 8 แสดงรายละเอียดในรายการเลอื กแสดงพกิ ัดละตจิ ดู /ลองจิจดู 8 ภาพที่ 9 แสดงรายละเอยี ดในรายการเลือกการตั้งค่าภาษา 8 ภาพที่ 10 แสดงรายละเอยี ดในรายการเลอื กการกาหนดการนาทาง 9 ภาพท่ี 11 แสดงรายละเอียดในรายการเลือกการกาหนดหนว่ ยความจาสูงสดุ 9 ภาพท่ี 12 การสรา้ งรปู หลายเหล่ียมใหม่ 10 ภาพที่ 13 การวาดรูปหลายเหล่ียมใหม่ 13 ภาพท่ี 14 แสดงแถบคุณสมบตั ขิ องช้นั ข้อมูล 13 ภาพท่ี 15 การแกไ้ ขรปู หลายเหลี่ยม 13 ภาพท่ี 16 แสดงการนาเขา้ รูปภาพ 14 ภาพท่ี 17 ภาพการนาเขา้ ภาพ 14 ภาพที่ 18 การนาข้อมลู แผนท่ีชุดดนิ มาซอ้ นทับกับพนื้ ทีศ่ ึกษา 15 ภาพท่ี 19 แสดงแถบเวลา 15 16 (2)
หนา้ ภาพที่ 20 ภาพถ่ายหลายช่วงปี ของบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาปะช้าง – แหลมขาม 17 อาเภอเทพา จังหวดั สงขลา ภาพที่ 21 แสดงตัวอยา่ งพ้ืนที่ ท่ีต้องการสรา้ งแบบจาลองความสงู เชงิ เลข 19 ภาพท่ี 22 การเพ่ิมเสน้ เพือ่ หาคา่ แบบจาลองความสูงเชิงเลขของพน้ื ที่ 19 ภาพที่ 23 การสรา้ งจุดเส้นทาง 20 ภาพท่ี 24 การบันทึกไฟล์ 20 ภาพที่ 25 โปรแกรม TCX Converter 21 ภาพท่ี 26 การนาเข้าไฟล์ 21 ภาพท่ี 27 การเพิ่มค่า Altitude 22 ภาพที่ 28 การบนั ทึกไฟล์ 23 ภาพท่ี 29 การส่งออกไฟล์เปน็ นามสกลุ CSV 23 ภาพที่ 30 โปรแกรมสรา้ งแบบจาลองพื้นที่ 3 มติ ิ 24 ภาพที่ 31 ขัน้ ตอนการคานวณค่า Grid File 24 ภาพท่ี 32 ขั้นตอนการเปิดไฟลแ์ ละภาพแสดงความลาดชนั ของพ้ืนท่ี 25 ภาพที่ 33 ตัวอยา่ งภาพแสดงจานวนปริมาณน้าฝน 26 ภาพท่ี 34 การใชง้ านเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ Laptop ในพืน้ ทปี่ ฏิบตั งิ าน 29 ภาพท่ี 35 พื้นท่ีแปลงสารวจทมี่ ีความหนาแน่นของหมู่ไม้มาก 30 ภาพที่ 36 พืน้ ทท่ี ีม่ ีความหนาแนน่ ของหม่ไู มป้ านกลาง 31 ภาพท่ี 37 พืน้ ที่ท่ีมีความหนาแน่นของหมู่ไมน้ ้อย 32 ภาพที่ 38 การกาหนดขอบเขตพน้ื ทศี่ กึ ษา 33 (3)
หนา้ ภาพที่ 39 การวงขอบเขตและการแสดงผลพ้ืนท่ที ัง้ หมดบนโปรแกรม QGIS 34 ภาพท่ี 40 ลกั ษณะการมองภาพมมุ กวา้ งและการมองภาพเฉพาะเจาะจง 36 ภาพท่ี 41 ขอ้ มลู ที่ได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม 37 ภาพท่ี 42 ความหนาแน่นของเรอื นยอดจากมุมมองบนฟา้ 38 ภาพท่ี 43 ความละเอียดของจดุ ภาพในดาวเทยี มแตล่ ะดวง 39 ภาพท่ี 44 การฟน้ื ตวั ของปา่ 40 ภาพที่ 45 แปลงสารวจขนาด บนภาพถา่ ยจากดาวเทียมรายละเอียดสงู 41 ภาพท่ี 46 ลักษณะการวางแปลงสารวจ 42 ภาพท่ี 47 ลักษณะการวางตัวของแปลงสารวจ เทยี บกับจุดภาพของภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม 43 ภาพท่ี 48 คา่ R-Square ของปา่ แต่ละชนิด 45 ภาพที่ 49 ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งป่าผลัดใบและป่าไมผ่ ลัดใบ จานวน 66 แปลง 46 (4)
การประเมินการกักเก็บคาร์บอนและการตรวจวัดการสูญเสียคาร์บอนเหนือพื้นดินของ ภาคปา่ ไม้ ถือได้ว่ามีความสาคญั อย่างยง่ิ ทีต่ อ้ งทาการศกึ ษาวิจัย หลังจากที่ประเทศไทยได้ลงนามใน พิธีสารเกียวโต (Kyoto protocol) ซึ่งได้มีการยอมรับเอาเร่ืองการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land Use) การเปล่ียนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน (Land-Use Change) และป่าไม้ (Forest) เป็นส่วนหน่ึงของ การพิจารณา เพื่อให้เกิดการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในโลกให้มากข้ึน ซ่ึงการประเมิน การกักเก็บคาร์บอนและการสูญเสียคาร์บอนของป่าธรรมชาตินับเป็นสาเหตุหน่ึง ที่ปัจจุบันหลาย องค์กรได้นาเทคโนโลยีการสารวจระยะไกล (Remote sensing) เข้ามาช่วยในการประเมินพ้ืนท่ี เน่ืองจากข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมสามารถตรวจวัดค่าการสะท้อนแสงของส่ิงปกคลุมดินในช่วง คลื่นที่แตกต่างกัน สามารถประยุกต์ใช้ในการประเมินค่าการกักเก็บคาร์บอนและการสูญเสีย คาร์บอนเหนือพื้นท่ีดินในพื้นที่ป่าไม้ ท่ีมีพ้ืนที่ขนาดใหญ่และกว้างขวางได้อย่างรวดเร็ว และใช้ งบประมาณนอ้ ยลง “คู่มือการใช้ Google Earth Pro สาหรับการวางแปลงตัวอย่างถาวร” เล่มนี้ ได้ทาการ รวบรวมขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม และการใช้งาน Google Earth Pro เบ้ืองต้น เพื่อนาไปประยุกต์ ใช้กับงานด้านการวางแปลงตัวอย่างถาวร หรือแปลงสารวจทรัพยากรป่าไม้ รวมไปถึงการ ประยุกต์ใช้ข้อมูลภาพถ่ายดาวเทียมเพ่ือใช้ประเมินมวลชีวภาพเหนือพื้นดินในพื้นที่ป่าไม้ และ สามารถนาไปพัฒนาและประยุกต์ใช้กับงานวิจัยด้านต่างๆ ให้มีความรวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ เพ่ิมมากยงิ่ ขน้ึ ----------------------- 1
แหล่งขอ้ มูล : ai-no-tsubasa กูเกิลเอิร์ธ (Google Earth) นับเป็น นอกจากน้ันก็นาเอาข้อมูลอ่ืนๆ มาซ้อนทับกับ รูปแบบหน่ึงของผลิตภัณฑ์ในช่ือ ของบริษัท ภาพถ่ายเหล่าน้ีอีกช้ันหน่ึง ซึ่งแต่ละชั้นเลเยอร์ Google ที่ถูกออกแบบมาให้ติดต่อกับผู้ใช้งาน (Layer) ก็จะแสดงรายละเอียดส่วนต่างๆ เช่น เพื่ออานวยความสะดวกในการสืบค้นข้อมูล ที่ต้ังสถานีตารวจ โรงเรียน สนามบิน สถานที่ และทาใหก้ ารแสดงผลขอ้ มูลมปี ระสิทธิภาพมาก ราชการ และช้ันขอ้ มูลอนื่ ๆ อกี มากมาย ทั้งแบบท่ี ยิ่งขึ้น โดยบริษัท Google ได้นาภาพถ่ายทาง บริษัท Google เตรียมไว้ให้ หรือมีบริษัทอ่ืนๆ อากาศและภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียด เพิ่มเติมเข้ามา รวมท้ังสามารถรวมชั้นข้อมูลที่ สูงมาผสมผสานกับเทคโนโลยี Streaming และ ผู้ใช้งานสามารถกาหนดข้ึนเองได้ ซึ่งเคร่ืองมือ ทาการเช่ือมโยงข้อมูลจากฐานข้อมูลของบริษัท ท่ีสามารถใช้งานตามดังกล่าวได้คือ XML Google เพื่อนาผู้ใช้งานไปยังส่วนต่างๆ ท่ีอยู่ (Extensible Markup Language) ซึ่งบริษัท บนโลกใบนี้ในรปู แบบของแผนท่ดี จิ ิตอล ซึ่งแผนที่ Google ได้มีการกาหนดคุณสมบัติพิเศษข้ึนมา เกดิ จากการผสมผสานภาพถ่ายจากแหล่งข้อมูลที่ เรียกว่า KML (Keyhole Markup Language) หลากหลาย จากดาวเทียมหลายดวง นามา ซึ่งใช้ในการสร้างช้ันข้อมูลต่างๆ การแสดง ประกอบกันให้เสมือนว่าเป็นผืนเดียวกัน ซ่ึงแต่ ข้อมูลในรูปแบบ จุด เส้น หรือรูปหลายเหลี่ยม ละจดุ แตล่ ะพื้นท่ีกจ็ ะมรี ายละเอียดของจุดภาพท่ี ต่างๆ ท่ีสร้างมากจาก KML ท้ังสิ้น ในปัจจุบันมี ไม่เท่ากัน แต่จากความสามารถของระบบจาก เวอร์ชัน KML.2.3.ส่วนรูปแบบการจัดเก็บแบบ บริษัท Google ซึ่งสามารถประมวลผลภาพถ่าย ประหยัดเนื้อท่ี เรียกว่า KMZ.ซึ่งก็คือ zip ท า ใ ห้ ผู้ ใ ช้ ง า น รู้ สึ ก ว่ า เ ป็ น ภ า พ ผื น เ ดี ย ว กั น format ของ KML 2
โปรแกรมกูเกิลเอิร์ธ (Google Earth) ซึ่งโปรแกรมกูเกิลเอิร์ธ จะเป็นการทางานแบบ เป็นโปรแกรมที่พัฒนาและผลิตข้ึนโดยบริษัท Online จาเป็นต้องมีการใช้งาน Internet Google เพื่อใช้สาหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วน ในขณะใช้งาน แต่ทั้งน้ีด้วยความสามารถของ บุคคล หรือในโทรศัพท์มือถือ โดยมีการแสดง ระบบคอมพิวเตอร์ ด้วยโปรแกรมสามารถ ภาพถ่ายจากดาวเทียมท่ีมีรายละเอียดสูง ท่ีสามารถ บั น ทึ ก ข้ อ มู ล ข อ ง ส ถ า น ท่ี ที่ เ ค ย รั บ ช ม ไ ว้ ไ ด้ บ่งช้ีให้เห็นรายละเอียดต่างๆ เช่น เส้นทาง บางส่วน หรือท่ีเรียกว่าการบันทึกข้อมูลใน คมนาคม ตาแหน่งที่ต้ังของสถานท่ี สภาพภูมิ แคสเมมโมร่ี (Cache memory) เพ่ืออานวย ประเทศ อาคารต่างๆ ในลักษณะของภาพ 3 ความสะดวกแก่ผู้ใช้งาน เมื่อเวลามีการเรียกดู มิติ รวมทั้งเป็นโปรแกรมที่ให้บริการภาพถ่าย ข้อมูลบริเวณพ้ืนที่เดิมซึ่งข้อมูลทั้งหมดเป็น จากดาวเทียมท่ีมีรายละเอียดสูงจากท่ัวโลก ขอ้ มูลจากดาวเทียมรายละเอียดสูงที่ให้บริการฟรี เพื่อให้บริการแก่สาธารณะชน โดยสามารถ ไม่มีค่าใช้จ่าย ในส่วนความถูกต้องทางตาแหน่ง แสดงสถานที่ต่างๆ ได้อย่างชัดเจนรวมท้ัง ของข้อมูลที่ได้จากโปรแกรม Google Earth สถานท่ีสาคัญทางยุทธศาสตร์ต่างๆ เช่น ค่าย นั้นอยู่ในความถูกต้องต้ังแต่ 0-12 ฟุต ที่ใน ทหาร สนามบินทหาร รวมถึงพระราชวัง ระยะทาง 1000 ฟุต ในพ้ืนท่ีเขตเมือง และจาก ผูใ้ ชง้ านสามารถมองเห็นภาพถ่ายจากดาวเทียม ข้อมูลที่ได้จากระบบในปี 2015 และ 2017 รายละเอียดสูง ที่ครอบคลุมพื้นที่ในระดับโลก (Harrington, 2017) ซึ่งในพื้นที่ป่าไม้อาจจะมี ท้ังใบ ระดับทวีป ระดับประเทศ ระดับจังหวัด ความคลาดเคล่ือนทางตาแหน่งมากกว่านี้เมื่อ จนถึงระดับพ้ืนท่ีขนาดเล็ก เช่น หลังคาบ้านได้ นามาประยกุ ตใ์ ช้งานในภาคสนาม 3
โปรแกรมกูเกิลเอิร์ธ (Google Earth) น้ันมีหลายรุ่น (Version) แต่ท่ีนิยมใช้ในงานด้าน ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หรือด้านงานแผนท่ี ที่แต่เดิมก่อน ปีพ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2015) มีอยู่ 2 Version คือ กเู กลิ เอริ ์ธพลัส (Google Earth Plus) และ กูเกิลเอิร์ธโปร (Google Earth Pro) ซึ่งปัจจบุ ัน (พ.ศ. 2563) มใี ชอ้ ยูเ่ พยี ง กูเกลิ เอริ ์ธโปร (Google Earth Pro) เทา่ น้นั โดยมีรายละเอียด ของโปรแกรม ดังน้ี 1. กเู กลิ เอิร์ธพลัส (Google Earth Plus) ได้เพิ่มความสามารถในการทางานร่วมกับ GPS โดยได้รับการสนับสนุนโดยตรงจาก Garmin และ Magellan ซึ่งเป็นค่าย ยักษ์ใหญ่ในธุรกิจ GPS กูเกิลเอิร์ธพลัส ถูกยกเลิก เดือนธันวาคม ปี 2551 และ รวบรวมความสามารถของกูเกิลเอิร์ธพลสั ไวใ้ นกูเกิลเอริ ์ธ เวอรช์ ัน่ ฟรี 2. กูเกิลเอิรธ์ โปร (Google Earth Pro) กอ่ นเดอื นมกราคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2015) ต้องจ่ายเงินในราคา 399 ดอลลาร์สหรัฐ ต่อปี สาหรับการใช้งาน กูเกิลเอิร์ธโปร เป็นเวอร์ชัน่ ทมี่ ่งุ เนน้ ใหม้ ีความสามารถมากกว่า กูเกิลเอิร์ธพลัส เช่น สามารถวัด หาค่าของ รัศมี พนื้ ที่ และ ความสูง แบบสามมิติได้ สามารถบันทึกวิดีโอได้ พิมพ์ ภาพแบบคุณภาพสูงสาหรับนาเสนองาน รวมทั้งสามารถใช้ข้อมูลในรูปแบบแผนที่ ที่มีระบบพิกัดได้ ซึ่งเป็นรุ่นท่ีสามารถใช้สาหรับงานการสารวจรังวัดพ้ืนท่ีได้ และ ตง้ั แตเ่ ดือนมกราคม พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2015) ได้เปิดให้ใช้บริการฟรี ทาให้การใช้ งานภาพถา่ ยจากดาวเทยี มรายละเอยี ดสูง เป็นท่ีแพรห่ ลายมากยง่ิ ขึ้น 4
1. ขั้นตอนการดาวนโ์ หลดและตดิ ต้งั โปรแกรม Google Earth Pro ขัน้ ตอนการดาวน์โหลดโปรแกรมทจ่ี ะนามาติดต้งั สามารถเขา้ ไปท่ีเวบ็ ไซต์ Google ท่ชี ่องค้นหา พมิ พ์วา่ Google Earth Pro เข้าไปทเี่ วบ็ ไซต์ https://www.google.co.th/intl/th/earth/download/gep/agree.html แสดงดงั ภาพท่ี 1 ภาพที่ 1 เวบ็ ไซต์ดาวน์โหลดโปรแกรม Google Earth Pro เม่ือเข้ามาในเว็บไซต์ให้กดท่ี “ยอมรับและดาวน์โหลด” เพื่อเป็นการดาวน์โหลด โปรแกรมมาติดต้ังบนเครื่องคอมพิวเตอร์ จะมีแถบเครื่องมือด้านล่างแสดงการดาวน์โหลดข้ึนมา เม่ือดาวน์โหลดเสร็จใหก้ ด “ตดิ ตง้ั โปรแกรม” แสดงดงั ภาพท่ี 2 ภาพที่ 2 ข้นั ตอนการดาวนโ์ หลดและตดิ ตงั้ โปรแกรม Google Earth Pro 5
2. การต้งั ค่าเพ่ือการใชง้ านโปรแกรม Google Earth Pro เม่อื เปดิ โปรแกรม จะพบหนา้ ตา่ งของโปรแกรม เป็นรปู โลกทม่ี ีพนื้ หลงั สีดา และมตี วั หนงั สอื สขี าว เขยี นคาวา่ Google Earth ซงึ่ เปน็ version ในปี พ.ศ. 2563 (ค.ศ. 2020) แสดงดังภาพที่ 3 ภาพท่ี 3 โปรแกรม Google Earth Pro เมื่อเข้าสู่โปรแกรมจะพบหน้าต่างของโปรแกรมท่ีแสดงแผนที่บนโลก เราสามารถย่อขยาย เพ่ือดพู ื้นทต่ี ่างๆ ท่ีอยูท่ ุกมุมโลก ไดต้ ามต้องการ แสดงดงั ภาพที่ 4 2.1 แถบเมนูด้านบน ประกอบด้วย แถบไฟล์ แถบแก้ไข แถบมุมมอง แถบเคร่ืองมือ แถบเพ่ิม และแถบความชว่ ยเหลอื 2.2 แถบเคร่ืองมือด้านขวาบน จะประกอบด้วยเคร่ืองมือ ย่อ ขยาย เล่ือนภาพ และปรบั ทศิ เขม็ ทิศ ภาพท่ี 4 หน้าต่างโปรแกรม Google Earth Pro 6
2.3 เพ่ือให้การทางานมีความสะดวกรวดเร็วข้ึน ควรมีการต้ังค่าต่างๆ เพ่ืออานวย ความสะดวกต่อการใช้งาน โดยไปท่ีแถบเมนู แล้วเลือกแถบเคร่ืองมือ ตัวเลือก แสดงดงั ภาพที่ 5 ภาพท่ี 5 แสดงปุ่มตวั เลือก ในแถบตัวเลือก Google Earth Pro จะพบกับแถบ มุมมอง 3D แคชการเดินทาง การนาทาง และท่วั ไป แสดงดงั ภาพท่ี 6 โดยให้กาหนดคา่ ตา่ งๆ ดงั นี้ ภาพท่ี 6 แสดงรายละเอียดใน รายการตัวเลอื ก 7
2.3.1 การต้ังค่าแบบอักษร 3 มิติ ในแถบแบบอักษร ให้เลือกแบบอักษร 3 มิติ เลือกแบบอักษรตามความพึงพอใจของ ผใู้ ชง้ าน ในท่ีนีเ้ ลอื กใชแ้ บบอกั ษร Angsana New ขนาดอักษร 14 แสดงดังภาพท่ี 7 ภาพท่ี 7 แสดงรายละเอียดในรายการเลอื กแบบอักษร 2.3.2 การต้ังค่าการแสดงผลของระบบพกิ ัด ในแถบแสดงละตจิ ดู และลองจจิ ูด โดยทว่ั ไปให้เลอื กแถบพกิ ัดกริด (Universal Transverse Mercator: UTM) เป็นระบบทป่ี รบั มาจากระบบเส้นโครงแผนทแี่ บบทรานสเวริ ์สเมอร์เคเตอร์ เพื่อ เป็นการรักษารปู รา่ งโดยใชท้ รงกระบอกตัดลูกโลกระหว่างละติจูด 84 องศาเหนือ -..80 องศาใต้ โดย มรี ศั มีทรงกระบอก สน้ั กว่ารศั มขี องลูกโลก ผวิ ทรงกระบอก จะผ่านเข้าไปตามแนวเมริเดียน ของโซน 2 แนว คือ ตัดเข้ากับตัดออก เรียกลักษณะนี้ว่า เส้นตัด (Secant) ทาให้ความถูกต้อง มีมากขึ้นโดยเฉพาะบริเวณสองข้างเมริเดียนกลาง ซ่ึงจะแสดงค่าโซน ค่าพิกัดเป็น เหนือ และตะวนั ออก แสดงดงั ภาพที่ 8 ภาพท่ี 8 แสดงรายละเอยี ดใน รายการเลอื กแสดงละติจดู /ลองจิจดู 8
2.3.3 การต้ังค่าภาษา เพื่อให้โปรแกรมสามารถแสดงตัวหนังสือเป็นภาษาไทยได้อย่างถูกต้อง ให้ไปท่ี แถบเครื่องมอื ทัว่ ไป > การต้งั ค่าภาษา > เลือกภาษาไทย แสดงดังภาพที่ 9 ภาพท่ี 9 แสดงรายละเอียดในรายการเลอื กการตง้ั คา่ ภาษา 2.3.4 การยกเลกิ การเอียงของภาพ ในมุมมอง 3 มิติ การยกเลิกการเอียงของภาพ ในมุมมอง 3 มิติ ให้เลือกในแถบการนาทาง เลือก ไมต่ ้องเอียงอัตโนมัติขณะยอ่ / ขยาย แสดงดงั ภาพที่ 10 เพ่ือให้มุมมองเป็นการมองจาก ด้านบนลงมาในแนวต้ังฉาก ไม่เป็นการมองมุมเฉียง ซ่ึงการมองมุมเฉียงน้ัน จะมี ประโยชนส์ าหรับการมองภาพสามมติ ิทม่ี ที รวดทรง ภาพที่ 10 แสดงรายละเอียดในรายการเลือกการกาหนดการนาทาง 9
3. การต้งั ค่าเพ่อื การใช้งาน Offline เพื่อให้ระบบสามารถทางานได้โดย ขึ้นอยู่กับความสามารถของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ไม่ติดขัดเม่ือไม่มีสัญญาณ Internet หรือเมื่อ ทล่ี งโปรแกรม Google Earth Pro เอาไว้ แต่ระบบ ต้องการใชโ้ ปรแกรมในขณะท่ไี มม่ ี Internet นั้น จะมีความสามารถยิ่งข้ึน ถ้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โปรแกรม Google Earth Pro จะมีความสามารถ หรือ Laptop ท่ีใช้งานอยู่มีเคร่ืองรับสัญญาณ ในการจดจาข้อมูลตามท่ีผู้ใช้เคยเข้าไปดูพื้นที่ GPS ในตัวเอง หรือสามารถเช่ือมโยงกับ GPS เดิมของผู้ใช้ได้ ซ่ึงโปรแกรมจะเก็บข้อมูลไว้ใน ภายนอกได้ ตัวโปรแกรม Google Earth Pro หน่วยความจาเครื่องที่ใช้งาน แสดงดังภาพท่ี 11 ก็จะแสดงผลแบบ Real Time กล่าวคือ สามารถ แสดงให้เห็นว่าโปรแกรม Google Earth Pro แสดงตาแหน่งปจั จบุ ันขณะทผ่ี ู้ใชง้ านอยู่ พร้อมกับ ที่ใช้งานบนเคร่ืองคอมพิวเตอร์เครื่องดังกล่าว แผนที่รายละเอียดสูงใช้เป็นฉากหลังได้ทันที มีขนาดหน่วยความจาแคช 1024 MB และมี และผู้ใช้งานสามารถบันทึกค่าพิกัด พร้อมกับ ขนาดของดิสก์แคช 2048 MB ซึ่งขนาดของแคช วางรปู แปลงในคราวเดยี วกนั ภาพที่ 11 แสดงรายละเอยี ดในรายการเลอื กการกาหนดหน่วยความจาสูงสุด 10
4. การใชเ้ ครื่องมือโปรแกรม Google Earth Pro 1. แถบเมนู เปน็ เครอ่ื งมอื หลักในการจัดทาขอ้ มูล ประกอบไปดว้ ย 1.1 ไฟล์ ใชใ้ นการจดั การขอ้ มลู ไฟลง์ าน เชน่ เปดิ ข้อมูล บันทกึ ขอ้ มูล ยอ้ นกลับ เป็นต้น 1.2 แก้ไข ใช้ในการแก้ไขข้อมูล และการแสดงผล เช่น ตัด คดั ลอก เปน็ ตน้ 1.3 มมุ มอง ใชใ้ นการกาหนดการแสดงผล เชน่ แถบเคร่อื งมอื แถบดา้ นข้าง เปน็ ต้น 1.4 เคร่อื งมือ ใช้ในการตัง้ คา่ การแสดงผลของแผนท่ี เชน่ ไมบ้ รรทดั ตาราง เป็นต้น 1.5 เพิ่ม ใชใ้ นการเพมิ่ ช้ันขอ้ มูล เช่น โฟลเดอร์ เสน้ ทาง เปน็ ตน้ 1.6 ความช่วยเหลอื เป็นคมู่ ือใชใ้ นการชว่ ยเหลือเวลามีข้อสงสัยในตัวโปรแกรม 2. คน้ หาสถานทแี่ ละตาแหนง่ สามารถใช้ในการค้นหาสถานที่หรือตาแหน่ง ต่างๆ ที่ต้องการ โดยการพิมพ์ช่ือสถานท่ีท่ีต้องการ ลงไปในช่องค้นหา แล้วกด “ค้นหา” โปรแกรมจะ คน้ หาสถานท่ีทตี่ ้องการให้ 11
3. แถบการสร้างข้อมลู เปน็ แถบเครอ่ื งมือท่ีใชใ้ นการสรา้ งและจัดการข้อมูลตา่ งๆ ประกอบดว้ ย 3.1 เป็นเครื่องมือซอ่ นแถบดา้ นขา้ ง แถบค้นหา และรายการสถานท่ี 3.2 เป็นเคร่ืองมือสาหรับการเพิ่มหมุดของสถานที่ต่างๆ โดยสามารถต้ังชื่อสถานที่ ทีต่ อ้ งการโดยพมิ พ์ทช่ี ่อง : ช่อื และสามารถแก้ไขสญั ลกั ษณ์ที่ต้องการได้โดยการกดเข้า ไปที่ ซึ่งถือว่าเป็นเครื่องมือที่มีความสาคัญมากต่อผู้ใช้งาน ใช้สาหรับกากับ สถานทท่ี ่ีเราเคยไป หรอื ตอ้ งการบอกตาแหน่งในแผนที่ เพ่ือให้ทราบว่าตาแหน่งพิกัด ดังกล่าวคอื อะไร 3.3 เปน็ เคร่อื งมือสาหรบั การสร้างรูปหลายเหลี่ยม เปน็ พ้ืนทหี่ รอื เสน้ ก็ได้ โดยไปท่ี ผใู้ ช้งานสามารถกาหนดช่ือชนั้ ข้อมลู ใหม่ไดต้ ามตอ้ งการ โดยแก้ไขในช่อง ช่ือฟีเจอร์ที่ กาลงั แก้ไข และยังสามารถกาหนดให้มีคาอธบิ าย ลักษณะ และสีได้ แสดงดังภาพท่ี 12 ได้กาหนดให้เส้น มีสีเหลือง ความกว้าง 2.0 ความทึบ 100 % และกาหนดให้พ้ืนที่มี สีขาว และมีความทึบ 0 % : ในกรณีนี้ ถ้ากาหนดความทึบเป็น 100 % จะมีลักษณะ เหมอื นการลงสีในพน้ื ท่รี ปู ปิด ซ่ึงจะมองไมเ่ หน็ พ้ืนทภ่ี ายใน เมื่อกาหนดค่าแบบน้ีแล้ว จะสามารถวาดรูปหลายเหล่ียมแบบปิดได้ โดยจะแสดงเฉพาะเส้นขอบ ไม่มีการลงสี ภาพในพนื้ ท่ที ท่ี าการวาด 12
ภาพที่ 12 การสรา้ งรูปหลายเหลีย่ มใหม่ จากนัน้ ผ้ใู ชง้ านสามารถเรมิ่ วาดได้ โดยห้ามปิดหน้าต่าง การสร้างรูปหลายเหล่ียมให้ใช้วิธีการ คลิกซ้ายบริเวณหน้าต่างของโปรแกรม Google Earth Pro แสดงดังภาพท่ี 13 เม่ือครอบคลุมตาม ต้องการ ให้กดปุ่ม “ตกลง” เพื่อการบันทึก โปรแกรมจะทาการบันทึก และปรากฏข้อมูล ในบริเวณ “สถานทข่ี องฉัน” เฉพาะบนเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทที่ าการสร้างเท่านั้น ภาพท่ี 13 การวาดรูปหลายเหลยี่ มใหม่ ภาพท่ี 14 การแก้ไขรูปหลายเหลี่ยม ทาได้โดยการคลิก แสดงแถบคณุ สมบัติของชนั้ ข้อมลู ขวาท่ีชั้นข้อมูลท่ีสร้างข้ึน แสดงดังภาพที่ 14 จะปรากฏ หน้าต่างข้ึนมา ให้เลือกที่คุณสมบัติ จะปรากฏหน้าต่าง แก้ไขรูปหลายเหล่ียม แสดงดังภาพท่ี 15 และในเส้นรอบ รูปของช้ันข้อมูลที่เลือกอยู่จะปรากฏจุดสีแดง หรือจุดหัก ของเส้น (Node) ปรากฏอยู่ ซึ่งสามารถเพ่ิม ลดจุด ดังกล่าวได้ เมื่อเสร็จส้ินแล้ว ให้กดปุ่ม “ตกลง” เพื่อทา การบนั ทกึ 13
ภาพท่ี 15 การแก้ไขรูปหลายเหลี่ยม 3.4 เปน็ เครื่องมอื ในการในการเพ่ิมเสน้ ทางในแผนที่ 3.5 เป็นเคร่ืองมือท่ใี ช้ในการนาเข้าขอ้ มลู รปู ภาพ ซ่ึงจะนามาวางซ้อนบนแผนท่ี โดย กดเข้าไปที่ ซึ่งสามารถนาเข้ารูปได้ท้ังในรูปแบบไฟล์ที่อยู่ในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ (ข้อ 1) หรืออาจจะนาเข้าผ่านทางเว็บไซต์หรือผ่านลิงค์ (ข้อ 2) แสดงดังภาพท่ี 16 ภาพท่ี 16 แสดงการนาเข้ารปู ภาพ 14
เมอ่ื นาไฟล์รูปภาพเข้ามาใน Google Earth Pro แลว้ สามารถขยบั ภาพ ย่อ ขยาย หรือขยับตาแหน่งของรูปภาพ เพื่อให้ซ้อนทับหรือให้ภาพไปอยู่ในตาแหน่งยังบริเวณที่ ต้องการได้ สามารถเพิ่ม ช่ือรูปภาพ คาอธิบายรูปภาพ การกาหนดความโปรงแสง มุมมอง หรอื ระดบั ความสูง เปน็ ตน้ แสดงดงั ภาพที่ 17 ภาพที่ 17 ภาพการนาเขา้ รูปภาพ จากวิธีการนาเข้าภาพดังกล่าวสามารถนามาประยุกต์ใช้ในงานด้านป่าไม้ได้ เช่น การนาพื้นที่ป้าไม้มาซ้อนทับกับข้อมูลแผนท่ีชุดดินหรือแผนที่ภูมิประเทศ ตัวอย่างเช่น การนาข้อมูลแผนที่ชุดดินมาวางทับพ้ืนที่บริเวณวนอุทยานนครไชยบวร เพ่ือหาเหตุผล ประกอบการตายของไม้ยางนา แสดงดังภาพท่ี 18 ภาพท่ี 18 การนาขอ้ มูลแผนท่ชี ดุ ดนิ มา ซ้อนทบั กบั พืน้ ทศ่ี ึกษา 15
3.6 เปน็ เคร่ืองมอื สาหรับบนั ทึกการเดนิ ทาง 3.7 เป็นเคร่ืองมือทใี่ ช้ดูภาพยอ้ นหลังในอดตี ความสามารถของโปรแกรม Google Earth Pro ที่นา่ สนใจอยา่ งหนง่ึ ซง่ึ มปี ระโยชนม์ าก คอื การ ดภู าพยอ้ นหลงั หรือการดูภาพในอดีต ซึ่งเป็นภาพท่ีมีรายละเอียดสูง โดยแถบด้านบนของโปรแกรมช่ือ วา่ แถบแสดงภาพเชงิ ประวัติศาสตร์ ซึ่งสามารถเล่ือนเลือกช่วงเวลาได้ โดยการกดท่ีปุ่ม เพื่อดูข้อมูล ย้อนหลัง และปุ่ม เพ่ือดูข้อมูลปีก่อนหน้า แสดงดังภาพท่ี 19 ซึ่งภาพในอดีตของแต่ละพ้ืนที่จะมี จานวนไมเ่ ทา่ กันขนึ้ อย่กู บั การปรับปรงุ ขอ้ มูลของทางบริษัท Google จากการใช้งานพบว่าการปรับปรุง ข้อมูลภาพในพื้นที่เมือง จะมีมากกว่าพื้นท่ีป่าไม้ นอกจากน้ียังสามารถติดตามการเปล่ียนแปลงพ้ืนท่ี แสดงดงั ภาพท่ี 20 การเปลย่ี นแปลงของพืน้ ท่ดี ินงอกบริเวณเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาปะช้าง-แหลมขาม จากภาพดงั กลา่ วจะเห็นแปลงตัวอยา่ ง (กรอบสแี ดง) ในปี 2545 ยงั อย่ใู นน้าทะเล และในปีต่อๆมา เร่ิมมี การงอกของดินจนถึงปัจจุบันมีต้นไม้เจริญเติบโตข้ึนมา จะเห็นได้ว่าสามารถนาข้อมูลภาพย้อนหลังใน อดีตมาใชป้ ระโยชนใ์ นการติดตามการเปลี่ยนแปลงและใช้ในการดาเนินคดไี ด้ ภาพท่ี 19 แสดงแถบเวลา 16
ภาพที่ 20 ภาพถา่ ยหลายชว่ งปี ของบริเวณเขตรกั ษาพันธ์สุ ัตว์ป่าเขาปะช้าง – แหลมขาม อาเภอเทพา จังหวดั สงขลา 17
3.8 เป็นเครื่องมือแสดงอาทติ ย์ ตามชว่ งวนั เวลาตา่ งๆ 3.9 เป็นเคร่อื งมอื ท่ีใช้เลอื กดวงดาวท่จี ะใช้ในการแสดงข้อมูล 3.10 เปน็ เครื่องมอื ไว้ใชว้ ัดระยะทางต่างๆ ระหวา่ งจุดทส่ี นใจโดยมีให้เลือกการวัดระยะทาง หลายรปู แบบ สามารถเลอื กได้โดยเข้าไปท่ี แล้วทาการเลือกรูปแบบท่ีเราต้องการ หนว่ ยของการวัด แล้วทาการคลกิ ซา้ ยท่ีเมาส์ จุดที่ต้องการทาการวดั ระยะทาง 3.11 เปน็ เครอื่ งมอื ส่งออกข้อมูลทาง E-mail 3.12 เปน็ เครื่องมือสาหรับใช้พิมพ์แผนที่ 3.13 เป็นเครอ่ื งมอื สาหรับการบนั ทกึ ภาพ 3.14 เปน็ เครอื่ งมอื ทใ่ี ช้ลิงค์ดู Google Map 3.15 เป็นการดขู ้อมูลพน้ื ท่ขี อง Google Earth Pro ผา่ น Website 4. แถบแสดงวนั ที่บันทกึ ภาพ พิกดั ความสูง และความสงู ระดับสายตาของพื้นท่ีนั้นๆ 18
การจัดทาความสูงของพื้นท่ีที่ต้องการด้วยโปรแกรม Google Earth Pro เป็นการจัดทา แบบจาลองระดับสงู เชิงเลข (Digital Elevation Model : DEM) ได้ดว้ ยตัวเองด้วยวธิ ีการงา่ ยๆ ดังน้ี 1. เปิดโปรแกรม Google Earth Pro ขึ้นมา ไปยังสถานที่ท่ีต้องการทาแบบจาลอง ความสงู เชิงเลข แสดงดงั ภาพท่ี 21 ภาพที่ 21 แสดงตัวอย่างพ้ืนที่ ทต่ี ้องการสร้างแบบจาลองความสงู เชิงเลข 2. ไปท่ีแถบเครื่องมือ เพ่ิมเส้นทาง จะปรากฏกล่องเครื่องมือ ให้ต้ังช่ือ ขนาดของเส้น สีตามทีต่ ้องการ เสร็จแล้ว ยงั ไมต่ อ้ ง “ตกลง” แสดงดงั ภาพท่ี 22 ภาพท่ี 22 การเพม่ิ เส้น เพ่ือหาคา่ แบบจาลองความสงู เชิงเลขของพื้นท่ี 19
3. จากนัน้ ทาการกาหนดจุดเส้นทาง ซ่ึงในแต่ละจุดที่เราทาการกาหนดจะมีพิกัดของจุดนั้นๆ เพ่ือใชใ้ นการสร้างชั้นความสงู ของข้อมูล ดังน้ันเราควรกาหนดจุดให้มีความละเอียดเพื่อความแม่นยาใน การสรา้ งขอ้ มลู สงู ข้ึน เมอื่ สรา้ งจดุ เสน้ ทางเสรจ็ แล้วให้ กดท่ี “ตกลง” แสดงดังภาพท่ี 23 ภาพท่ี 23 การสร้างจดุ เสน้ ทาง 4. ไปท่ีแถบเมนู ไฟล์ > บันทึก > บันทึกสถานท่ีเป็น ที่ช่อง Save as Type ให้เลือกเป็นไฟล์ นามสกลุ KML แลว้ ต้งั ช่อื ตามทต่ี อ้ งการแล้วกด “Save” แสดงดังภาพท่ี 24 ภาพที่ 24 การบนั ทกึ ไฟล์ 20
5. ทาการแปลงไฟลใ์ หเ้ ป็นไฟล์ Excel โดยใช้โปรแกรมช่วยแปลงไฟล์ TCX Converter โดยการ เข้าไปโหลดโปรแกรมใน Google พิมพ์ค้นหาคาว่า TCX..Converter แล้วเข้าไปท่ีเว็บไซด์ https://tcx-converter.software.informer.com/2.0/ ทาการดาวน์โหลดและติดต้ัง จะได้โปรแกรม ตามแสดงดังภาพที่ 25 ภาพท่ี 25 โปรแกรม TCX Converter 6. นาเขา้ ไฟลท์ ตี่ อ้ งการไปท่ี OPEN FILE เลือกไฟลท์ ีต่ อ้ งการแล้วกดที่ Open แสดงดังภาพที่ 26 ภาพที่ 26 การนาเข้าไฟล์ 21
7. เมื่อนาเข้าข้อมูลมาจะสังเกตได้ว่าข้อมูลท่ีนาเข้ามามีค่า Latitude, Longitude แต่ยังขาด ค่า Altitude ซึ่งในการทาระดบั ความสงู จาเป็นต้องใชค้ า่ ดงั กลา่ ว โดยการเข้าไปที่ เมนู Track Modify > Update Altitude จะมกี ล่องข้อความข้ึนมากด Yes จะได้คา่ Altitude แสดงดงั ภาพที่ 27 ภาพที่ 27 การเพิ่มคา่ Altitude 22
8. ทาการส่งออกไฟล์เพ่ือนาไปประยุกต์ใช้กับโปรแกรมอ่ืนๆ โดยไปท่ี Save CSV File ตั้งช่ือ ไฟลท์ ีต่ อ้ งการแล้วกด Save แสดงดงั ภาพท่ี 28 ภาพท่ี 28 การบันทึกไฟล์ 9. เปิดไฟล์ดังกล่าวขึ้นมาที่ Excel ลบคอลัมน์ที่ไม่จาเป็นออก ให้เหลือแต่คอลัมน์ Easting Northing และ Altitude ทาการสง่ ออกไฟล์เปน็ นามสกลุ CSV แสดงดังภาพท่ี 29 ภาพท่ี 29 การสง่ ออกไฟล์เป็นนามสกลุ CSV 23
10. ในการทาระดบั ความลาดชันของพื้นท่ีนั้น จะใช้โปรแกรมสร้างแบบจาลองพื้นที่ 3 มิติ สามารถพิมพค์ ้นหาจาก Google และดาวน์โหลดมาใช้งานซ่ึงจะเป็นตัวทดลองใช้งาน เมื่อดาวน์โหลด และตดิ ตั้งเสร็จจะได้โปรแกรม แสดงดังภาพที่ 30 ภาพที่ 30 โปรแกรมสรา้ งแบบจาลองพนื้ ที่ 3 มติ ิ 11. การทาความลาดชันของพ้ืนที่ ไปที่เมนู Grid เลือกคาส่ัง Data ทาการเปิดไฟล์ CSV ท่ี Save ในข้อท่ี 9 จะมีกล่องเครื่องมือ Grid Data ข้ึนมากด OK โปรแกรมจะการคิดคานวณ Grid File เพ่อื ใช้ในการสรา้ งรปู แสดงดงั ภาพท่ี 31 ภาพที่ 31 ข้ันตอนการคานวณค่า Grid File 24
12. ทาการสร้างภาพแผนท่ีความลาดชันข้ึนได้โดยไปที่ แถบเมนู Map > New > 3D Surface เปดิ ไฟล์ Grid ทท่ี าการ Save ในขอ้ 11 ข้ึนมา จะไดภ้ าพ Slop แสดงดงั ภาพที่ 32 ภาพที่ 32 ข้นั ตอนการเปดิ ไฟล์และภาพแสดงความลาดชนั ของพ้ืนที่ 25
จากวิธีการนาเข้าข้อมูลความลาดชันดังกล่าวถ้ามีข้อมูลอ่ืนๆ ในพื้นที่เพิ่มเติม เช่น ปริมาณ นา้ ฝน อณุ หภูมิ ความชน้ื เปน็ ตน้ เราสามารถนาข้อมูลเหล่าน้ีมาใส่เพื่อให้เห็นภาพที่ชัดเจนย่ิงข้ึน หรือ นาไปใชใ้ นการนาเสนอผลงานได้ แสดงดังภาพที่ 33 ภาพที่ 33 ตวั อย่างภาพแสดงจานวนปริมาณนา้ ฝน 26
1. การเลอื กพ้ืนทีว่ างแปลงสารวจจากข้อมูลภาพถา่ ยดาวเทยี มรายละเอยี ดสงู การคัดเลือกพื้นท่ีเพ่ือกาหนดขอบเขต ของข้อมูลการสารวจท่ีได้จากพื้นที่ศึกษา กับ ในการวางแปลงสารวจนั้นมีหลากหลายทฤษฎี ข้อมูลจากภาพถ่ายจากดาวเทียม สามารถแบ่ง และวธิ กี าร ผ้วู จิ ยั สามารถใช้ไดต้ ามความเหมาะสม ข้อมูลได้อย่างเฉพาะเจาะจงมากกว่า การเก็บ ซ่ึงในวิธีการที่จะนาเสนอต่อไปนี้ ได้นาเสนอ ข้อมูลเป็นชุดเดียว และด้วยหลักเกณฑ์ทางการ วิธีการคัดเลือกพ้ืนที่ โดยแบ่งเป็นกลุ่มพื้นที่ ซึ่ง คานวณทางคณิตศาสตร์ กลุ่มของข้อมูลท่ีมีความ กาหนดไว้ 3 กลุ่ม คือ กลุ่มเล็ก กลุ่มกลาง และ ละเอียดมากกว่า ย่อมดีกว่ากลุ่มข้อมูลการสารวจ กลุ่มใหญ่ เพ่ือให้การคานวณความสัมพันธ์ ชุดเดยี ว เม่ือมีการวางแผนเพ่ือกาหนดพื้นที่ เป้าหมาย เป็นต้น แตเ่ มอื่ เข้าถึงพ้ืนท่ีแล้ว ผู้วิจัย ท่ีต้องการศึกษาเรียบร้อยแล้ว การเข้าถึงพ้ืนที่ ควรมีการใช้เคร่ืองมือบ่งช้ีพิกัดเช่น GPS แบบ เป้าหมายดังกล่าวนั้น สามารถทาได้หลายวิธี พกพา เครื่องมือถือท่ีสามารถบอกพิกัดได้ และ เช่น การบอกจุดให้กับเจ้าหน้าท่ีผู้ชานาญ รวมถึงการใช้ Laptop เพื่อบ่งชี้ตาแหน่งของ เส้นทาง หรือบอกลักษณะสถานท่ี หรือเส้นทาง ผู้วิจัยขณะที่อยู่ในพื้นท่ีจริง และทาการกาหนด ให้กับชาวบ้านท่ีชานาญเส้นทางนาเข้าไปยังพื้นที่ พน้ื ท่ีท่วี างแปลงตัวอย่างถาวร หรือแปลงสารวจ 27
เหตุผลและความจาเป็นท่ีจะต้องนา มองเป็นภาพรวมทั้งหมด ซึ่งสมรรถนะของเครื่อง Laptop เข้าพ้ืนที่ เนื่องจากความสามารถของ GPS แบบมือถือน้ัน จะเป็นเพียงเคร่ืองช่วย โปรแกรม Google Earth Pro นั้น สามารถบันทึก กาหนดตาแหน่งของผู้วิจัย บนภาพถ่ายท่ีอยู่ใน ภ า พ ถ่ า ย จ า ก ด า ว เ ที ย ม ที่ มี ร า ย ล ะ เ อี ย ด สู ง โปรแกรม Google Earth Pro เท่านั้น แต่ถ้า เสมือนเป็นพ้ืนที่จริง อยู่ในเครื่อง Laptop ทา ผู้วิจัยสามารถจัดหาเคร่ือง Laptop ท่ีมี GPS ให้ผู้วิจัยสามารถมองเป็นพ้ืนที่ในมุมกว้างได้ อยใู่ นตัวเคร่ืองได้นั้น ก็จะสามารถลดข้ันตอนของ ท้ังหมด แสดงดังภาพที่ 34 สามารถกาหนด การทางาน และเพิ่มความถูกต้องของการทางาน จุดเร่ิมต้นของการวางแปลงได้อย่างชัดเจน ง่าย ได้สูงขึ้น ผู้ใช้งานในระบบนี้ไม่จาเป็นต้องมี ต่อการวางแผนการทางาน และสามารถแสดง ความรู้ทางด้านแผนที่มากนัก ก็สามารถกาหนด ตาแหน่งได้อย่างเรียลไทม์ แสดงตาแหน่งท่ี แปลงตัวอย่างถาวร หรือใช้วางแผนการวางแปลง ผู้วิจัยยืนอยู่ ในตาแหน่งปัจจุบัน ได้ง่ายกว่าการ สารวจใหม่ได้ ตามความเหมาะสมของพ้ืนที่ นาแผนที่กระดาษเข้าพื้นที่ ถึงแม้ว่าจะมีเครื่อง เมอื่ แผนงานที่กาหนดไว้ไม่เป็นไปตามเป้าหมาย GPS แบบพกพา ท่ีสามารถบันทึกข้อมูล ที่ต้องการ และที่สาคัญสามารถปรับแก้ข้อมูล ภาพถ่ายและแผนท่ีลงไปบนเคร่ืองได้ แต่ก็ไม่ การทางานได้ในพ้ืนท่ี โดยไม่ต้องทาการจดบันทึก สามารถทางานได้อยา่ งรวดเร็ว ทาให้ไม่สามารถ ออกมา ซึ่งช่วยลดข้อผดิ พลาดของการทางานลง ปัจจุบันอาจใช้ Tablet คุณภาพสูง ซึ่งค่าท่ีได้จากสัญญาณ GPS อาจมีความ อย่างเช่น IPAD ท่ีมี GPS ในตัว ก็สามารถ คลาดเคล่ือนได้ ในกรณีนี้ ผู้วิจัยอาจจะแก้ไข ทางานแบบ Offline ช่วยให้การทางานได้สะดวก โดยการใช้ความสัมพันธ์ของภาพถ่ายกับพ้ืนที่ และคลอ่ งตัวมากขึ้น แต่ทั้งน้ีผู้ใช้งานระบบต้องให้ จริงที่ปรากฏอยู่เป็น Landmark ในพื้นที่ เช่น ความสาคัญกับค่าตาแหน่งพิกัดที่ได้ เพราะค่าที่ ตาแหน่งของถนน ตาแหน่งของต้นไม้ใหญ่ ได้จะมีความคลาดเคลื่อน ตั้งแต่ 10 - 50 เมตร ตาแหน่งของเถียงนา หรือขอบป่า และ พิจารณา และค่าความคลาดเคล่ือนอาจจะมากกว่านี้ ตาแหน่งของผู้วิจัยว่าใกล้เคียงกับส่ิงใดที่ปรากฏ โดยเฉพาะในพ้ืนท่ีที่ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์และ ในภาพ เพ่ือหาตาแหน่งเช่ือมโยงกัน แล้วทาการ สญั ญาณ internet อย่างเช่นในพ้ืนที่ป่าไม้ หรือ กาหนดพิกัดท่ีชัดเจนอีกครั้งภายหลัง เพ่ือให้ พ้ืนท่ีสวนยาง ท่ีมียอดไม้ปกคลุมค่อนข้างมาก ความถูกต้องทางตาแหน่งมีมากทีส่ ดุ 28
ภาพท่ี 34 การใชง้ านเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ Laptop ในพ้นื ทีป่ ฏบิ ตั ิงาน ในการวางแปลงตัวอย่างถาวรในพื้นที่ที่มีหมู่ไม้ขนาดใหญ่ปกคลุมพื้นท่ี หรือมีต้นไม้ขึ้น หนาแนน่ มาก มีลกั ษณะเปน็ ตน้ ไม้ขนาดใหญ่ เม่อื เปรียบเทียบกับสภาพพ้ืนที่ท้ังหมด หมู่ไม้ท่ีเป็น ทรงพมุ่ ขนาดใหญ่ แสดงถงึ ความหนาแนน่ มาก โดยลักษณะที่เหน็ ไดช้ ดั เจนคือ ลักษณะของต้นไม้ ขนาดใหญ่ ทรงพุ่มที่มองเห็นจากภาพถ่ายดาวเทียมรายละเอียดสูง จะคล้ายกับดอกกะหล่า มองเหน็ เปน็ กอ้ นๆ ขนาดใหญ่ แตกตา่ งจากพื้นท่ีใกล้เคียงหรือในพื้นที่ศึกษาท้ังหมด ในขณะท่ีใน พ้ืนที่ที่มีต้นไม้ขนาดเล็กหรือหนาแน่นน้อย จะพบว่ามีลักษณะภาพค่อนข้างสม่าเสมอ เมื่อ เปรียบเทียบกับสภาพพื้นท่ีทั้งหมด ดังนั้นจึงสามารถจาแนกทรงพุ่มออกเป็น 3 รูปแบบ คือ ทรงพมุ่ ขนาดเล็ก กลาง และใหญ่ แสดงดงั ภาพที่ 35 29
ภาพท่ี 35 พน้ื ท่ีแปลงสารวจที่มคี วามหนาแนน่ ของหมู่ไม้มาก การวางแปลงในบริเวณท่ี 1 นั้น ใช้พิจารณาประกอบด้วย และในบริเวณที่ 2 ลักษณะแปลง ไม่ได้วางตัวทางทิศทางเหนือใต้ และ 3 น่าจะเป็นพ้ืนท่ีที่เหมาะสมมากที่สุด ซ่ึงอาจทาให้การหาความสัมพันธ์กับข้อมูลภาพ เนื่องจากสภาพพ้ืนท่ีในแปลง มีลักษณะต้นไม้ ถ่ายจากดาวเทียมค่อนข้างยาก เน่ืองจาก ขนาดใหญ่ปกคลุมท้ังแปลง และอยู่ในพ้ืนท่ีท่ีมี ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมน้ัน เป็นข้อมูลที่ หมู่ไม้เหมือนกัน และในบริเวณท่ี 4 ในกรณีท่ี วางตัวในทิศทางเหนือใต้ ซึ่งอาจต้องใช้สมการ ความสูงของต้นไม้มากกว่า 40 เมตร สังเกตได้ เทคนิคหรือโมเดลอื่นๆ เพ่ิมเติมในการหาค่า จากทรงพมุ่ ของต้นไม้ ทม่ี ีขนาดใหญ่ เกือบเท่ากับ ความสัมพันธ์ แต่ท้ังนี้ ควรมีการพิจารณาถึง ขนาดของแปลง ดังน้ันควรมีการวางแปลงท่ีมี ความเหมาะสมในพื้นท่ีด้วยเช่นกัน ว่าสามารถ ขนาดมากกว่าความสูงของต้นไม้ท่ีอยู่ในแปลงน้ัน วางแปลงในแนวเหนือใต้ได้หรือไม่ มีอุปสรรค เช่น บรเิ วณท่ี 4 จะมีขนาดของแปลง 50 x 50 m2 หรือความยากง่ายในการวางแปลงที่นาเข้ามา ขณะทบี่ ริเวณ 1 2 และ 3 จะมีขนาด 40 x 40 m2 30
การวางแปลงในพื้นท่ีที่มีลักษณะของสภาพพื้นท่ีท่ีมีความหนาแน่นปานกลาง มักจะมี ทรงพุ่มขนาดกลาง หรือมีต้นไม้ขึ้นหนาแน่นปานกลาง มีลักษณะเป็นต้นไม้ขนาดกลาง เมื่อ เปรียบเทยี บกับสภาพพ้นื ที่ทั้งหมด แสดงดังภาพท่ี 36 ภาพที่ 36 พ้นื ที่ท่มี ีความหนาแนน่ ของหมู่ไมป้ านกลาง การวางแปลงในบริเวณที่ 1 น้ัน ลักษณะแปลง ไม่ได้วางตัวทางทิศทางเหนือใต้ ซึ่งอาจ ทาใหก้ ารหาความสมั พันธ์กับข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียมค่อนข้างยาก เนื่องจากข้อมูลภาพถ่าย จากดาวเทียมนั้น เป็นข้อมูลท่ีวางตัวในทิศทางเหนือใต้ แต่ต้องพิจารณาถึงความเหมาะสมของ พื้นท่ี ส่วนในบริเวณท่ี 3 ยังมีต้นไม้ขนาดใหญ่เข้ามาในแปลง จึงไม่ควรเลือกพ้ืนที่น้ีเป็นตัวแทน ของพน้ื ทท่ี ี่มีความหนาแน่นปานกลาง บริเวณท่ี 2 และ 4 นา่ จะเป็นพนื้ ทีท่ ่ีเหมาะสมมากที่สดุ 31
การวางแปลงในพ้ืนท่ีท่ีมีลักษณะของความหนาแน่นน้อย มีทรงพุ่มขนาดเล็ก โดยส่วน ใหญ่แล้วจะพบบริเวณชายขอบป่า หรือใกล้ๆ กับพ้ืนที่เกษตร ถ้ามองจากภาพ จะมีลักษณะเป็น ผืนเดียวกนั ไมข่ รุขระ หรอื มีต้นไม้ขึ้นเบาบาง มีลักษณะเป็นต้นไม้ขนาดเล็กหรือไม้หนุ่มบางส่วน ควรเลือกพื้นท่ีที่ไกลจากสภาพข้างเคียงที่อาจมีผลต่อค่าการสะท้อนแสงของภาพถ่ายจาก ดาวเทียมได้ เป็นพน้ื ทที่ ค่ี วรมีการวางแปลงในแนวเหนอื ใต้ มากท่สี ดุ เพราะด้วยสภาพพื้นท่ีท่ีเป็น พนื้ ทีโ่ ล่ง อุปสรรคในการวางแปลงน้อย ควรเลอื กการวางแปลง ในแนวเหนือใตใ้ ห้ได้ แสดงดังในภาพที่ 37 ภาพที่ 37 พืน้ ท่ีทีม่ ีความหนาแนน่ ของหมไู่ ม้นอ้ ย พื้นที่ในบริเวณที่ 1 ไม่ควรเลือก ดาวเทียม อาจรวมผลค่าการสะท้อนท่ีได้จาก เนื่องจากอาจเป็นพ้ืนท่ีที่ความสูงของต้นไม้ เส้นทางเข้าไปด้วย ซึ่งจะไม่ใช่ค่าการสะท้อนจาก แตกต่างกันมากเกินไป เพราะมีทั้งต้นไม้ขนาด พน้ื ที่ปา่ ไม้เพยี งอยา่ งเดยี ว สาหรบั ในภาพที่ 37 นี้ ใหญ่และต้นไม้ขนาดเล็กผสมกัน ซ่งึ เป็นตัวอย่าง บริเวณที่เหมาะสมสาหรับการวางแปลงสารวจ ทไี่ มค่ อ่ ยดีนัก ส่วนในบริเวณที่ 3 ซึ่งเป็นบริเวณ ควรเปน็ บริเวณท่ี 2 และบริเวณท่ี 4 ซ่ึงมีลักษณะ ใกล้กับทางเดิน ในบริเวณน้ี เมื่อนารูปแปลงมา ของภาพ เป็นผืนเดียวกัน ทรงพุ่มของหมู่ไม้ วิเคราะห์ร่วมกับข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม ใกล้เคียงกัน ไม่มีทรงพุ่มของต้นไม้ที่เด่นออกมา แล้ว ข้อมูลที่ได้อาจมีความคลาดเคลื่อนได้ ซึง่ น่าจะเป็นพื้นทที่ ่ีเหมาะสมที่สุด ในการวางแปลง เนื่องจากค่าการสะท้อนของข้อมูลภาพถ่ายจาก สารวจท่มี ีความหนาแน่นน้อย ในพ้ืนท่ีบรเิ วณนี้ 32
เมื่อกาหนดขอบเขตพน้ื ทีไ่ ดแ้ ลว้ ก็จะสามารกาหนดขอบเขตพ้ืนที่ท้ังหมดได้อย่างชัดเจน แสดงดังภาพท่ี 38 แสดงให้เห็นถึงขอบเขตรวมท้ังหมดท่ีจะทาการศึกษา แทนด้วยขอบเขตสี น้าเงิน แสดงพ้ืนท่ีท่ีมีความหนาแน่นน้อย หรือมีทรงพุ่มขนาดเล็กซ่ึงแทนด้วยขอบเขตสีแดง แสดงพ้ืนท่ีท่ีมีความหนาแน่นปานกลาง หรือมีทรงพุ่มขนาดกลาง ซึ่งแทนด้วยขอบเขตสีเหลือง และแสดงพน้ื ท่ีที่มีความหนาแนน่ มาก หรือมีทรงพุ่มขนาดใหญ่ ซง่ึ แทนด้วยขอบเขตสเี ขียว ภาพท่ี 38 การกาหนดขอบเขตพืน้ ทศี่ ึกษา 33
จากขอบเขตทั้ง 3 รูปแบบ รวมเป็น เป็นพ้ืนที่ที่มีความหนาแน่นสูง ทั้งน้ีสามารถ พื้นทีท่ ง้ั หมด กจ็ ะได้ตามภาพที่ 39 ด้านซ้าย จะ คานวณขนาดพ้ืนที่และสัดส่วนของพ้ืนที่ท้ังหมด ส า ม า ร ถ น า ไ ป วิ เ ค ร า ะ ห์ ด้ ว ย โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ห รื อ วิ เ ค ร า ะ ห์ ร่ ว ม กั บ ข้ อ มู ล ภ า พ ถ่ า ย จ า ก วิเคราะห์ทางภูมิศาสตร์อื่นๆ ต่อไปได้ แสดงดัง ดาวเทียม ได้ตามความต้องการของผู้ใช้งาน ภาพที่ 39 ด้านขวา นาข้อมูลมาแสดงผลบน โดยคา่ ความสัมพนั ธท์ ีไ่ ดจ้ ากคา่ ปรมิ าณคาร์บอน โปรแกรม QGIS : โดยได้กาหนดให้พื้นที่สีชมพู สะสมเหนือพื้นดิน ในบริเวณพ้ืนที่ท่ีแปลง เป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความหนาแน่นน้อย พื้นท่ีสีเหลือง ส า ร ว จ เ ป็ น พื้ น ที่ ท่ี ค า ด ว่ า น่ า จ ะ มี ป ริ ม า ณ เป็นพ้ืนท่ีท่ีมีความหนาแน่นปานกลาง และสีเขียว คาร์บอนตา่ ปานกลาง และสูง ภาพท่ี 39 การวงขอบเขตและการแสดงผลพนื้ ทีท่ ง้ั หมดบนโปรแกรม QGIS 34
2. การหาความสมั พันธ์ของแปลงสารวจมวลชวี ภาพกับภาพถ่ายจากดาวเทียม ค ว า ม ส า ม า ร ถ ข อ ง ภ า พ ถ่ า ย จ า ก (นรินทร์, 2560) นามาอธิบายความสัมพันธ์ของ ดาวเทียมนั้น ถูกออกแบบมาเพ่ือหาค่าการ ภาพถ่ายจากดาวเทียมสารวจทรัพยากรกับ สะท้อนของวัตถุชนิดต่างๆ ในแต่ละช่วงคล่ืน ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนเหนือพ้ืนดิน ซ่ึงจะ ซึ่งการนาผลที่ได้จากค่าการสะท้อนมาแปล เป็นต้นแบบสาหรับการประยุกต์ใช้สมการ ตีความเป็นอย่างอื่น หรือเพื่อหาความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ดังกล่าวต่อไปในภาคป่าไม้ของ ในรูปแบบต่างๆ น้ัน อาจมีตัวแปรหรือปัจจัย ประเทศไทย นอกจากนย้ี ังเป็นการนาข้อมูลจาก ต่างๆ มากมายท่ีไม่สามารถกาหนดได้เข้ามา การทางานของเจ้าหน้าท่ีจากหลายพ้ืนที่ทั่ว เก่ียวข้อง ผู้ท่ีทาการศึกษาวิจัย ควรให้ความสาคัญ ประเทศ แต่ในที่น้ีได้นาเสนอข้อมูลเพียง 2 กับประเด็นน้ีด้วย ซึ่งแต่เดิมโดยท่ัวไปมักใช้ พ้ืนท่ีเท่าน้ัน จากน้ันนาข้อมูลท่ีได้มาวิเคราะห์ ข้อมูลภาพถ่ายจากดาวเทียม ช่วงเวลาเดียวใน ต่อยอด และเป็นการศึกษาวิจัยบนพ้ืนฐานของ พื้นที่เดียว หาความสัมพันธ์กันซึ่งทาให้มองไม่ ข้อมูลท่ีมีอยู่ ท้ังน้ีในการทางาน ยังมีข้อจากัด เห็นปัญหา และความเข้าใจในลักษณะชีพลักษณ์ เรื่องเวลา งบประมาณ และบุคลากร แต่เป็น ของพืชพรรณ (Vegetation Phenology) โดย งานการศึกษาวิจัยช้ินแรก ๆ ของประเทศไทย ท่ี ดัชนีพืชพรรณ ในการศึกษาครั้งน้ีได้เลือกมาคือ พยายามนาข้อมูลจากการสารวจภาคสนามมา ดัชนีพืชพรรณความแตกต่างของความชุ่มชื้น วิเคราะห์เป็นภาพรวมของพ้ืนท่ีป่าของประเทศ (Normalized Difference Moisture Index, NDMI) ทั้งหมด เพราะท่ีผ่านมาอาจพบการศึกษาเพียง มีคา่ ความสัมพนั ธ์ของสมการดีกว่าดชั นีพืชพรรณ บางบริเวณหรือในพ้ืนที่ที่มีขนาดเล็กเท่านั้น (Normalized Difference Vegetation Index, NDVI) (นรินทร์ และคณะ, 2560) 35
การประเมินการสะสมคาร์บอนใน ความสูงของต้นไม้ที่ถูกต้อง และสุดท้ายคือการ ระบบนิเวศป่าไม้ประเภทต่างๆ ในประเทศไทย เลือกใชส้ มการแอลโลเมตรกิ ให้มีความเหมาะสม ให้มีความถูกต้องแม่นยาจาเป็นต้องอาศัยความ ในการประเมินมวลชีวภาพของต้นไม้ในแต่ละ รอบรู้ด้านป่าไม้หลายด้าน เช่น การกาหนดพ้ืนที่ ชนิดป่า ซึ่งการดาเนินงานภาคสนามด้านต่างๆ ในการวางแปลงตัวอย่าง การเลือกรูปแบบ ดังกลา่ วเม่ือมีความถูกตอ้ งเหมาะสมและแม่นยา ขนาด และจานวนของแปลงตวั อย่างทเี่ หมาะสม จะสามารถสนับสนุนงานด้านการแปลภาพถ่าย การจับตาแหน่งพิกัดแปลงตัวอย่าง ท่ีแม่นยา จากดาวเทียมเพือ่ ประเมินการสะสมคาร์บอนใน การเก็บข้อมูลภาคสนามทางด้านความโตและ แตล่ ะชนิดปา่ ระดบั ประเทศต่อไป (ชงิ ชัย, 2560) จากลักษณะของการวางแปลงเพื่อ ออกไปในมุมมองที่กว้างข้ึน และครอบคลุม สารวจระบบนิเวศนน้ั เปน็ การศึกษาแบบเฉพาะ ม า ก ขึ้ น จ า เ ป็ น ต้ อ ง ใ ช้ ข้ อ มู ล ภ า พ ถ่ า ย จ า ก เจาะจงในพื้นท่ีใดพื้นที่หนึ่ง ด้วยการสารวจ ดาวเทียมสารวจทรัพยากรธรรมชาติเข้ามา ประมาณค่าโดยมีเป้าหมายเฉพาะเรื่อง เช่น ประกอบ เพื่อความสะดวกในการทางานโดย การประเมินประมาณคาร์บอนสะสมเหนือ ต้องนามาใช้ร่วมกันคล้ายกับการมองภาพท่ีมี พ้ืนดิน การติดตามความเจริญเติบโตของต้นไม้ ความละเอียดมาก ๆ ทาให้ไม่สามารถมองภาพรวม หรือการศึกษาโรคและแมลงคุกคามพื้นที่ป่าไม้ ได้ท้ังหมด จึงต้องมีการถอยระยะการมองออกมา เป็นต้น แต่เมื่อต้องการขยายผลการศึกษา เพือ่ ใหเ้ หน็ ภาพรวมทง้ั หมด แสดงดงั ภาพท่ี 40 ภาพท่ี 40 ลกั ษณะการมองภาพมุมกว้างและการมองภาพเฉพาะเจาะจง 36
เมื่อพิจารณาจากข้อมูลภาพถ่ายจาก กับการใช้งาน เม่ือนาลักษณะเด่นของข้อมูล ดาวเทียมแล้ว ผู้วิจัยจะมองเห็นพื้นที่เป็นมุม ดังกล่าว มาหาความสัมพันธ์กับข้อมูลที่ได้จาก กว้างกว่า ครอบคลุมพ้ืนท่ีมากกว่าและได้ข้อมูล แปลงตัวอย่างถาวร ท่ีมีพื้นท่ีขนาดประมาณ ที่มีความถ่ีมากกว่า แต่ข้อมูลท่ีได้จากแปลง 1,600 ตารางเมตร คือ 40 x 40 m2 เพื่อเป็นการ ตัวอย่างถาวรนั้น ลักษณะของข้อมูลเป็นชุด มี ข ย า ย ก า ร เ ชื่ อ ม โ ย ง ข้ อ มู ล ท า ง พื้ น ท่ี อ อ ก ไ ป การเก็บข้อมูลตามช่วงเวลา ซ่ึงในระยะเวลา 1 ปี โดยการใช้ข้อมูลท่ีได้จากแปลงตัวอย่างถาวร อาจมีการเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพียงครั้งเดียว และ มาอธิบายค่าการสะท้อนแสงที่ได้จากข้อมูล จากความสามารถท่ีมีอยู่ในลักษณะข้อมูลท่ี ภาพถ่ายจากดาวเทียม ในแต่ละช่วงเวลาซึ่งมี เฉพาะตัวของข้อมูลที่ได้จากภาพถ่ายจาก เป้าหมายสูงสุด คือการอธิบายได้ว่าค่าการ ดาวเทียมคือ ค่าการสะท้อนท่ีได้จากช่วงคลื่นที่ สะทอ้ นแต่ละค่าที่ได้จากภาพถ่ายจากดาวเทียม มีอยู่ในดาวเทียมแต่ละดวง ซ่ึงสามารถนามา นั้นมีปริมาณคาร์บอนสะสมอยู่เท่าไร ในค่าการ แปลตีความ ความหมายได้หลายรูปแบบ ขึ้นอยู่ สะทอ้ นนนั้ แสดงดงั ภาพท่ี 41 ภาพที่ 41 ขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากภาพถา่ ยจากดาวเทยี ม การมองพ้ืนที่ตา่ งๆ จากบนท้องฟา้ หรือมุมมองของนก แสดงดงั ภาพที่ 42 บริเวณที่มีต้นไม้ หรือหมู่ไม้ขึ้นหนาแน่นน้อย ก็จะมองเห็นเป็นพ้ืนที่โล่ง ส่วนบริเวณที่มีต้นไม้ข้ึนหนาแน่นมากขึ้น ก็จะมองเห็นลักษณะของทรงพุ่มท่ีคล้ายกับดอกกะหล่า ท้ังน้ีภาพถ่ายจากดาวเทียมหรือภาพถ่าย ทางอากาศ ก็จะมีลักษณะที่ถ่ายทาจากมุมมองจากด้านบน เช่นเดียวกัน ทาให้ลักษณะของข้อมูลที่ ถา่ ยไดจ้ งึ ส่ือถึงขอ้ มูลบนพ้นื ราบดว้ ย 37
ภาพท่ี 42 ความหนาแนน่ ของเรอื นยอดจากมุมมองบนฟา้ 38
ภาพที่ 43 ได้แสดงให้เห็นถึงการ มีรายละเอียดจุดภาพ เท่ากับ 0.5 เมตร และภาพ เปรียบเทียบ ขอ้ มลู จากภาพถ่ายดาวเทียมท่ีมี ถ่ายดาวเทียม Worldview – 4 ซ่ึงมีรายละเอียด รายละเอียดของจุดภาพต่างกันข้ึนอยู่กับชนิด จุดภาพเท่ากับ 0.3 เมตร จะเห็นได้ว่าบริเวณ ของภาพดาวเทียม เช่น ภาพถ่ายดาวเทียม พ้ืนที่เดียวกัน รายละเอียดของพื้นที่จะมากกว่า Modis มคี วามละเอยี ดจุดภาพ เทา่ กบั 250 เมตร ภาพจะชดั เจนมากกว่าหรือใกล้เคียง กับภาพถ่าย ภาพถา่ ยดาวเทียม Landsat – 8 ซ่ึงมีรายละเอียด ทางอากาศ ซ่ึงเม่ือเปรียบเทียบราคาของภาพถ่าย จดุ ภาพ เท่ากับ 30 เมตร ดาวเทยี ม Sentinel - 2 จากดาวเทียมแล้วภาพถ่ายรายละเอียดสูงมี มีรายละเอียดจุดภาพ เท่ากับ 10 เมตร ภาพ แนวโน้มที่จะมีราคาสูงตาม ส่วนภาพท่ีมี ถ่ายดาวเทียม PlanetScope (Dove) มีรายละเอียด รายละเอียด ปานกลาง ถึงต่า นั้นจะมีราคาถูก จุดภาพ เท่ากับ 3 เมตร ดาวเทียม Pleiades หรือไมเ่ สียค่าใช้จา่ ยในการใชง้ าน ภาพที่ 43 ความละเอียดของจุดภาพในดาวเทียมแตล่ ะดวง ทม่ี า : https://www.geospatialworld.net/blogs/observing-the-earth- fueling-global-development-solutions/ 39
จากการประชุมเชิงปฏิบัติการของ หลังจากการถูกรบกวนจะมีลักษณะเพ่ิมข้ึน แต่ องค์กรนาซ่า เม่ือปี พ.ศ. 2551 (ค.ศ.2008) จะไม่ใช่การเพ่ิมแบบสมการเส้นตรง พอถึง เรื่อง NASA Carbon Cycle & Ecosystems Joint จุดสูงสุดของการเจริญเติบโต เส้นกราฟ จะมี Science Workshop ซ่ึงในช่วงของการสนทนา ลกั ษณะคงท่ี และพื้นที่ป่าไม้ที่เจริญเติบโตเต็มที่ เร่ือง Science Enabled by New Measurements จะมีลักษณะเป็นโมเสก กล่าวคือ มีการเจริญเติบ of Vegetation Structure (ICESat-II, DESDynI, etc.) และปะปนกันของต้นไม้หลายชนิดพันธ์ุ ไม่ใช่ มีการนาแนวคิดว่า การฟ้ืนตัวของพื้นที่ป่าไม้ ต้นไม้ชนดิ เดยี ว แสดงดังภาพที่ 44 ภาพที่ 44 การฟ้ืนตัวของป่า ทมี่ า : ดัดแปลงจาก https://cce.nasa.gov/mtg2008_ab_presentations/NASA_Breakout_Session.ppt 40
ทัง้ นยี้ ังไมม่ กี ารศึกษาถึงวิธีการประเมิน ด้วยค่าดัชนีพืชพรรณ จากภาพถ่ายดาวเทียม ค่าดัชนีพืชพรรณจากภาพถ่ายจากดาวเทียมที่ ค่อนข้างทาไดย้ าก แสดงดังภาพท่ี 45 (1) แสดง เหมาะสมกับแปลงสารวจภาคสนาม เนื่องจาก การซ้อนทับกัน โดยที่พ้ืนฉากหลังเป็นข้อมูล การใช้ภาพถ่ายดาวเทยี มท่ีมรี ายละเอียด ค่อนข้าง ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูง กับแปลง หยาบกว่าข้อมูลสารวจภาคสนาม ซ่ึงโดยทั่วไป สารวจขนาด 40 x 40 m2 แสดงเป็นกรอบสีแดง แปลงสารวจมักจะมีพืน้ ท่ีขนาดเล็กกว่าภาพถ่าย ภาพที่ 42 (2 และ 3) เมอ่ื ซ้อนด้วยขอ้ มลู ภาพถ่าย จากดาวเทียม ทาให้ลักษณะของการกาหนด จากดาวเทียมท่ีมีรายละเอียดจุดภาพขนาด ขนาดแปลงเพ่ืองานสารวจและแปลตีความภาพ 30 x 30 m2 ทง้ั แบบภาพสี และภาพขาวดา ภาพท่ี 45 แปลงสารวจขนาด บนภาพถ่ายจากดาวเทยี มรายละเอยี ดสงู การหาความสัมพันธ์ของแปลงสารวจ อาจจะไม่สัมพันธ์กับภาพถ่ายดาวเทียม เพราะ มวลชีวภาพกับภาพถ่ายจากดาวเทียม เพ่ือการ เนื่องจากข้อมูลแปลงครอบคลุมพ้ืนที่บริเวณ ประเมินคาร์บอนสะสมเหนือพ้ืนดิน ต้องพิจารณา กว้างไม่สามารถเฉพาะเจาะจง ในระดับจุดภาพ ขนาด รูปร่าง และการวางตัวของแปลง ซ่ึงโดยท่ัวไป ดาวเทียมได้ เพราะเป้าหมายของการทางานคือ การวางแปลงสารวจจะมีท้ังแบบ แปลงวงกลม ต้องอธิบายให้ได้ว่า 1 จุดภาพดาวเทียมมี และแปลงส่ีเหลี่ยม มีทั้งขนาดเล็กประมาณ 0.1 ปริมาณคาร์บอนเท่าไร ทาให้การวางแปลง เฮกแตร์ และแปลงขนาดใหญ่ ประมาณ 1 เฮกแตร์ โดยเฉพาะแปลงท่ีมีรูปร่างส่ีเหลี่ยม อาจจะต้อง หรือใหญ่กว่า การวางแปลง ให้มีขนาดท่ีเหมาะสม วางตัวในทิศทางเหนือใต้ เพ่ือให้สัมพันธ์กับ กบั ภาพดาวเทียมอาจเป็นแปลงขนาด 90 x 90 m2 จุดภาพดาวเทียม ท่มี ที ศิ ทางวางตัวแนวเหนือใต้ เพ่ือลดการขยับของจุดภาพถ่ายจากดาวเทียม เช่นเดียวกัน แต่ทั้งนี้ควรคานึงถึงพื้นท่ีศึกษา จากจุดศูนย์กลางของตาแหน่งภาพ หรือแปลง ด้วยว่า สามารถดาเนินการได้หรือไม่ และควร สารวจขนาด 30 x 30 m2 เพื่อให้มีขนาดใกล้เคียง ให้ความสาคัญกับการทางานในสนามมากท่ีสุด กับจุดภาพดาวเทียม แต่ถ้าใช้แปลงที่มีขนาดใหญ่ เพื่อให้การดาเนินการในพ้ืนที่สะดวกมากท่ีสุด 41
ลักษณะของการวางแปลงเพ่ือการเก็บข้อมูล ทเี่ ป็นทีน่ ิยม อย่างเช่นดาวเทียม Landsat – 8 ที่ เพ่ือการศึกษาลักษณะของต้นไม้ หมู่ไม้ หรือ มีขนาดจุดภาพ 30 x 30 m2 จะเห็นได้ว่าการวางตัว เพื่อการศึกษาระบบนิเวศวิทยาของป่า โดยท่ัวไป เปรียบเทียบขนาดของแปลง 30 x 30 m2 และ แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1) รูปแบบของ Plot 40 x 40 m2 ส่วนการวางแปลงแบบวงกลมนั้น study หรือการวางแปลงเป็นจุด ขนาดเล็ก ก็มีหลายขนาดเช่นเดียวกัน เช่น การวางแปลง มีทั้งแปลงแบบวงกลมและแปลงแบบส่ีเหลี่ยม วงกลมขนาดเล็ก ขนาดใหญ่ การวางแปลง 2) รูปแบบการวางแปลงแบบ Area study การวาง วงกลม หลายวง ในพ้ืนท่ีเดียวกัน แสดงดังใน แปลงเป็นพื้นที่ศึกษาขนาดใหญ่ ซึ่งแปลงขนาด ภาพที่ 46 เป็นการวางแปลงวงกลมที่มีจุดศูนย์กลาง ใหญ่ในประเทศไทย ท่ีพบมีขนาด 16 เฮกแตร์ ท่ีมีรัศมี 17.84 เมตร และมีการวางแปลงขยาย หรือมีขนาด 400 x 400 m2 โดยท่ีวิธีการท่ีนิยม ออกไปในทิศทางทั้ง 4 ทิศทาง ใน 1 พ้ืนท่ีศึกษา มีอยู่ 2 ประเภท คือเป็นรูปเหล่ียม และเป็นรูป โดยจุดศูนย์กลางของวงกลมท่ีอยู่กลาง กับจุด วงกลม ซ่ึงรูปเหลี่ยมนั้นก็อาจจะมีหลายประเภท ศูนยก์ ลางของวงกลมที่อยู่ 4 ทิศทางห่างกัน 50 เมตร อีกเช่นเดียวกัน แต่เม่ือนามาทางานร่วมกับ ซึ่งเป็นการศึกษารายงานใน Brief on National ภาพถา่ ยดาวเทียมแลว้ แปลงรปู เหลีย่ มทีเ่ หมาะสม Forest Inventory ของประเทศไทยท่ีนาเสนอ ควรเปน็ รูปส่เี หล่ียม แต่มีขนาดเท่าไรน้ัน ยังไม่มี โดยองค์การอาหารและการเกษตร แห่ง การศึกษาเม่ือนามาเทียบข้อมูลกับภาพดาวเทียม สหประชาชาติ ในปีพ.ศ. 2550 (FAO, 2007) ภาพที่ 46 ลกั ษณะการวางแปลง สารวจ 42
Search