Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

Description: เทคนิคการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการวัดต้นไม้อย่างมืออาชีพ มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิชาการป่าไม้ที่มีความสนใจในการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการวัดข้อมูลความเจริญเติบโตของต้นไม้ ใช้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงานได้จริงในภาคสนาม ซึ่งการวางแปลงตัวอย่างถาวรและวัดความเจริญเติบโตต้นไม้ให้มีความถูกต้องสูงและมีความคลาดเคลื่อนน้อย ถือเป็นก้าวแรกและก้าวสำคัญต่อการดำเนินงานวิจัย

Keywords: คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการเก็บข้อมูลภาคสนาม

Search

Read the Text Version

กิติกรรมประกาศ จากการที่ผู้เขียนได้ทาการศึกษาวิจัยเรื่องความเจริญเติบโตและผลผลิต (Growth and Yield) ของตน้ ไม้ รวมถงึ การสะสมคารบ์ อน (Carbon Stock) ท้ังในพนื้ ท่ีป่าปลูกและป่าธรรมชาติ อย่างต่อเน่ืองมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 เร่ือยมาจนถึงปัจจุบัน นับเป็นระยะเวลายาวนานกว่า 33 ปี และได้มีโอกาสปฏิบัติงานวิจัยร่วมกับผู้เชี่ยวชาญท้ังชาวไทย ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย อย่างต่อเนื่อง รวมถึงมีโอกาสได้รับการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการท้ังในประเทศญ่ีปุ่นและออสเตรเลียหลายคร้ัง โดยเฉพาะอย่างย่ิงได้รับการปลูกฝัง และถ่ายทอดงานวิจัยทางด้านน้ีจากนักวิจัยอาวุโสหลายท่าน ตง้ั แต่แรกเรม่ิ ในการรับราชการ เช่น คุณบัวเรศ ประไชโย คุณเกียรติก้อง พิตรปรีชา คุณพิณ เกื้อกูล คณุ คงศักด์ิ ภญิ โญภูษาฤกษ์ คณุ พทิ ยา เพชรมาก คุณบญุ ฤทธ์ิ ภูริยากร คณุ สรายทุ ธ บณุ ยะเวชชีวิน คุณทศพร วัชรางกูร คุณธิติ วิสารัตน์ คุณบพิตร เกียรติวุฒินนท์ คุณวิฑูรย์ เหลืองวิริยะแสง คุณรตั นะ ไทยงาม และคุณสมบูรณ์ กีรติประยูร รวมถึงผู้เชี่ยวชาญชาวญ่ีปุ่น Dr. Moriyoshi Ishizuka และ Dr. Koichi Kamo ท่ีถือได้ว่าท่านเหล่านั้นเป็นครูบาอาจารย์ ท่ีผู้เขียนได้เก็บเกี่ยวความรู้ แนวคดิ ประสบการณ์ เพ่ือนามาประยุกตใ์ ช้กับการศกึ ษาวิจัยทางด้านน้ี และถือได้ว่าผู้เขียนโชคดีท่ี ไดร้ บั ทง้ั โอกาส และแบบอยา่ งที่ดใี นการปฏบิ ตั ิงานจากทกุ ท่านดงั กล่าว ขอขอบคณุ หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยระบบนิเวศป่าไม้และส่ิงแวดล้อม (คุณภาณุมาศ ลาดปาละ) และผู้อานวยการสานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธ์ุพืช (คุณธัญนรินทร์ ณ นคร) ท่ีสนับสนุนและ มอบโอกาสให้ผู้เขียนได้จัดทา “คู่มือการวางแปลงตัวอย่างถาวร และการเก็บข้อมูลภาคสนาม” ขอขอบคุณ คุณขวัญชนก ทองจาด ที่ช่วยออกแบบจัดทาภาพต้นไม้ และตรวจทานต้นฉบับ คุณสุวรรณา เข่ือนคา ที่ช่วยในการออกแบบและจัดทารูปเล่ม และขอขอบคุณเจ้าหน้าท่ีและ พนักงานทุกทา่ นท่อี านวยความสะดวกในดา้ นต่างๆ ไว้ ณ โอกาสน้ี ประโยชน์ท่ีได้รับจากคู่มือเล่มน้ี ขอมอบไว้แด่คณะบุคคลท่ีได้กล่าวนามมาแล้วข้างต้น และข้อบกพร่องประการใดจากคูม่ ือเล่มนี้ ผ้เู ขียนขอน้อมรบั ไว้แตเ่ พยี งผ้เู ดยี ว (นายชิงชัย วริ ยิ ะบญั ชา) นักวชิ าการปา่ ไม้ชานาญการพเิ ศษ 18 กนั ยายน 2563



สารบญั หน้า สารบัญ (1) สารบัญตาราง (3) สารบัญภาพ (4) คานา 1 ประเภทของแปลงตวั อย่าง 2 ลักษณะของแปลงตวั อย่าง 3 ขนาดของแปลงตวั อยา่ ง 5 จานวนของแปลงตัวอยา่ ง 7 เทคนคิ การวางแปลงตวั อย่างถาวร 12 ความเป็นมา 12 ทฤษฎีบทพีทาโกรสั 12 อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการวางแปลงตัวอยา่ งถาวร 13 การวางแปลงตวั อย่างถาวรโดยวิธกี ารออกฉาก 14 การทาระดับความสูงของพน้ื ท่ี 20 เครอ่ื งวัดมมุ เอยี ง (Clinometer) อยา่ งง่าย 20 ขนั้ ตอนการทาระดบั ความสงู ของพื้นท่ี 21 ข้ันตอนการคานวณระดับความสูงของพ้ืนที่ 25 เทคนิคการเก็บข้อมลู ต้นไม้ 30 อปุ กรณท์ ี่ใชใ้ นการเก็บขอ้ มูลต้นไมใ้ นแปลงตัวอยา่ งถาวร 30 ตารางบันทึกข้อมลู 33 ชว่ งเวลาทีเ่ หมาะสมในการเก็บข้อมลู ภาคสนาม 36 การเตรียมหมายเลขเรียงของต้นไม้ 37 การคาดสีตน้ ไม้ 39 ตาแหนง่ ในการวัด DBH ของตน้ ไม้ 41 (1)

สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ การทาความสะอาดลาต้นกอ่ นวัด DBH 43 เทคนิคการวัด DBH ในภาคสนาม 45 เทคนิคการวดั เสน้ ผา่ นศนู ย์กลางต้นไมท้ ่มี ีพพู อนสูง 47 เทคนิคการวดั เถาวัลย์ท่ีมลี ักษณะกลม 51 เทคนิคการวดั เถาวัลยท์ ีม่ ีลกั ษณะแบน 53 เทคนคิ การวดั ขนาดเสน้ ผา่ นศูนย์กลางของตน้ ไทร 56 การวัดความสงู ต้นไม้ 58 เครื่องมือทใ่ี ชว้ ัดความสูงตน้ ไม้ 59 การวดั ความสูงไม้ต๋าว 65 D-H Relation 67 การวดั พิกดั ตน้ ไม้ 68 เอกสารอา้ งองิ 70 บทสง่ ท้าย 72 (2)

สารบญั ตาราง ตารางที่ 1 ข้อมูลตัวอย่างที่ใช้ในการคานวณหาจานวนแปลงที่เหมาะสม ของพ้ืนที่ท่ีมี หนา้ ตารางท่ี 2 การแบง่ กลมุ่ หมู่ไม้ออกเปน็ 3 กลุ่ม 10 ตารางที่ 3 13 รายการอุปกรณ์ที่มีความจาเป็นต้องใช้ในการวางแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 22 ตารางท่ี 4 40X40 m2 ตอ่ หน่งึ ชดุ การทางาน 24 ตารางท่ี 5 ตารางบันทึกข้อมูลการวัดระดับความสูงด้วยเคร่ืองวัดมุมเอียงอย่างง่าย แสดงตาแหน่งของหมดุ ทท่ี าการวดั ระดบั ความสงู จะมเี ลขประจาหมุด 2 ค่า 25 ตารางที่ 6 โดยค่าแรกเป็นตาแหนง่ ของ Pole สอ่ ง สว่ นค่าท่ีสองเป็นตาแหน่งของ Pole เป้า 28 ตารางที่ 7 ตัวอยา่ งการบนั ทึกข้อมูล การวดั ระดับความสงู ด้วยเครอ่ื งวดั มุมเอียงอย่างง่าย ตารางที่ 8 ของป่าดิบชื้น ในพ้ืนท่ีเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาบรรทัด อาเภอตะโหมด 31 จังหวัดพัทลงุ 34 แสดงการคานวณระดบั ความสูงจากเครื่องวัดมมุ เอยี งอยา่ งง่าย ทีท่ าการผกู สูตรสมการทีใ่ ช้ในการคานวณ ด้วยโปรแกรม Excel ก่อนการลงข้อมลู การ วัดมุมจากภาคสนาม แสดงการคานวณระดับความสูงจากเครื่องวัดมุมเอียงอย่างง่าย ที่ทาการผูก สูตรสมการท่ีใช้ในการคานวณ ด้วยโปรแกรม Excel หลังการลงข้อมูลการ วัดมมุ จากภาคสนาม รายการอุปกรณ์ท่ีมีความจาเป็นต้องใช้เก็บข้อมูลต้นไม้ในแปลงตัวอย่าง ถาวรขนาด 40X40 m2 ตอ่ หนง่ึ ชดุ การทางานต่อแปลง ตัวอย่างการบันทึกข้อมูลภาคสนาม บริเวณป่าเต็งรัง ป่าชุมชนบ้านนาหว้า ตาบลโพธ์ิไทร จงั หวัดอุบลราชธานี (3)

สารบญั ภาพ ภาพท่ี 1 การเก็บ Increment Core ด้วยเครื่องมือ Increment Borer และ การ หน้า วิเคราะห์ลาต้นเพื่อศึกษาอายุและความเพ่ิมพูนของต้นไม้ 1) การนับอายุไม้ 2 ภาพท่ี 2 สักเพื่อใช้ในการพิสูจน์สิทธิ์ท่ีดินของสวนป่าท่าแยก อาเภอเมือง จังหวัด ภาพท่ี 3 สระแก้ว และ 2) การศึกษาอายุและความเพ่ิมพูนของไม้กระถินเทพา อายุ 9 ปี 3 ภาพที่ 4 อทุ ยานแห่งชาตหิ มูเ่ กาะระนอง อาเภอเมือง จงั หวดั ระนอง 4 7 ภาพท่ี 5 เส้นรอบรูปในแปลงตัวอย่างขนาดพ้ืนท่ี 0.1 เฮกแตร์ ของแปลงตัวอย่าง ภาพท่ี 6 วงกลม และสี่เหลี่ยมจัตุรัส พบว่าวงกลมจะมีเส้นรอบรูปน้อยกว่าส่ีเหล่ียม 12 ภาพท่ี 7 14.39 เมตร 14 17 แผนท่ีแสดงความลาดชันของพ้ืนที่ และตาแหน่งของต้นไม้ในป่าดิบเขา อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ จากแปลงตัวอย่างถาวร ขนาด 1 เฮกแตร์ (1 hectare, 1 ha คอื 100X100 m2) ตาแหน่ง และจานวนของแปลงตัวอย่าง ท่ีใช้เทคนิคการสุ่มแปลงตัวอย่าง แบบต่างๆ ในพ้ืนท่ีป่าดิบแล้งของเขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเขาสอยดาว อาเภอ สอยดาว จังหวัดจันทบุรี ขนาดพื้นท่ี 15.5 km2 หรือ 1,550 ha 1) การวาง แปลงตัวอย่างอย่างเป็นระบบ (Systematic Sampling) ในท่ีนี้จาเป็นต้อง วางแปลงจานวนท้ังส้ิน 15 แปลง และ 2) การวางแปลงแบบช้ันภูมิ (Stratified Sampling) ที่จาแนกขนาดความหนาแน่นของทรงพุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม คือ สูง (High, H) กลาง (Medium, M) และน้อย (Low, L) โดยวางแปลง ตวั อยา่ ง กลุ่มละ 3 แปลง รวมจานวน 9 แปลง รูปแบบสมการของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการประยุกต์ใช้โดยการกาหนด ระยะเพ่อื การออกฉากในการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร แสดงการเลือกแนว Base Line ในบริเวณพื้นที่ที่มีความลาดชันน้อยเพื่อลด ความคลาดเคลอ่ื นจากการวดั ระยะในแนวดิง่ และทาใหง้ ่ายตอ่ การออกฉาก ขนั้ ตอนการวางแปลงตัวอยา่ งถาวรภาคสนามขนาดพื้นที่ 40X40 m2 โดยวิธีการ ออกฉาก (4)

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ 8 แสดงการปฏิบัติงานภาคสนามของการวางแปลงตัวอย่างถาวร 1) ทาการ หนา้ ตอกเหล็กเส้นเพื่อผูกเชือกฟางตามแนว Base Line 2) การผูกยึดโยงชาย 18 ภาพท่ี 9 เชอื กฟางไมใ่ หเ้ หล็กเสน้ เอนไปมา 3) ปรบั แนวเชือกฟางท่ีเป็น Base Line ให้ ภาพที่ 10 เป็นแนวเส้นตรง 4) ใช้เทปวัดระยะ หมายหมุดทุก 10 m 5) การออกฉาก 20 ภาพท่ี 11 แบบ 3 4 5 เมตร 6) Pole อยู่ตาแหน่งที่ 0 m พร้อมจับเทปวัดระยะที่เลข 23 ภาพท่ี 12 8 m 7) หมุดท่ีระยะ 3 m จับเทปวัดระยะที่เลข 5 m 8) เทปวัดระยะท่ีเลข 26 0 m ทับกับเลข 12 m 9) การเล็ง 3 หลัก 10) พื้นท่ีที่มีความลาดชันสูงการ 29 วัดระยะต้องอยู่ในแนวระดับ 11) การจับระดับของเทปวัดระยะ 12) เม่ือได้ ระยะท่ีถูกต้องทาการตอกเหล็กเส้น 13) เมื่อการวางแปลงเสร็จสิ้นควรให้มี เหลก็ เส้นโผลพ่ ้นพ้นื ดิน 30-50 cm และปรับเชือกฟางให้ติดดินเพื่อใช้ในการ ตรวจสอบและทาระดบั 14) กรณีหมุดลงบนก้อนหินจะใช้สีทา และ 15) แนวของ เชอื กฟางติดต้นไม้จะใช้ตะปูตอกเพ่ือทาแนว การทาเคร่ืองวัดมุมเอียงอย่างง่ายโดยอาศัยการเคล่ือนที่ของลากล้องเล็งข้ึน ลงเพ่ืออ่านมุม เมื่อลากล้องเล็งอยู่ในแนวระดับ เส้นตรงแนวดิ่งท่ีโครงจับจะ อ่านค่าได้ 90 องศา เมื่อเป็นมุมเงย ค่าองศาที่จานวงนอกสุดจะมีค่ามากกว่า 90 องศา และเมื่อเป็นมมุ ก้ม คา่ องศาทจี่ านวงนอกสุดจะมคี า่ น้อยกวา่ 90 องศา การทาระดับพ้ืนทใี่ นแปลงตัวอย่างถาวร 1) การวัดทิศทางของแปลงท่ีทามุม กับทิศเหนือโดยเข็มทิศ 2) การเตรียมอุปกรณ์ที่ Pole ส่อง และการหมาย ตาแหน่งท่ี Pole เปา้ 3) Pole สอ่ ง เข้าประจาตาแหน่งหมดุ ท่ี 1 ร่วมกับการ ใช้ระดับน้า และ 4) Pole ส่อง ทาการเล็งตาแหน่งที่หมายไว้ที่ Pole เป้า ของหมุดที่ 2 การใช้เคร่ืองอ่านมุมจาก Pole เล็ง ไปยัง Pole เป้า ที่อยู่สูงกว่าโดยมี ระยะห่างระหว่างหมุดในแนวระนาบ 10 m เมื่อช่องเล็งอยู่ทางด้านซ้ายมือ ของจานองศาครง่ึ วงกลม ค่าทีอ่ า่ นไดจ้ ะตอ้ งมากกว่า 90 องศา สภาพระดับความสูงของพื้นที่ในแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 จาก การใช้คา่ X Y และ Z ของตารางที่ 6 พ้นื ทป่ี า่ ดบิ ชน้ื ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขาบรรทัด จังหวดั พทั ลงุ (5)

สารบัญภาพ (ต่อ) หนา้ ภาพที่ 13 รูปแบบของ Caliper และ Vernier Caliper 1) Caliper อะลูมิเนียม ยี่ห้อ 32 Haglöf มบี าร์ยาวสดุ 127 cm และ 2) Vernier Caliper แสดงองค์ประกอบ ของเคร่ืองมือ ภาพท่ี 14 ความแตกต่างของเทปวัดระยะและเทปวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 33 1) เส้นเทปด้านบน เป็นเทปวัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ย่ีห้อ KINGLON TAPE จะมีการพิมพ์ Diameter Tape บนเส้นเทป ส่วนด้านล่างเป็นเทปวัด ระยะทางด้านทเ่ี ป็นน้ิว และ 2) ลักษณะสเกลบนเส้นเทปเม่ือเทียบกับเส้นบน เป็นเทปวัดระยะมีหน่วยเป็นน้ิว และเส้นล่างเป็น Diameter Tape มหี นว่ ยเปน็ เซนติเมตร ภาพท่ี 15 การทาเลขเรยี งของต้นไมจ้ ากแผ่นอะลูมิเนยี ม 1) แผ่นอะลูมิเนียมขนาดความ 37 กวา้ ง 6 cm ยาว 16 cm ก่อนทาการตีหมายเลข 2) เหล็กตอกตัวเลขขนาด 8 mm 3) การตีเลขเรียงบนแผ่นอะลูมิเนียม และจัดเรียงร้อยเป็นพวงก่อนเข้าแปลง และ 4) การตเี ลขเรียงในแปลงจะไม่สะดวกต่อการทางาน ภาพที่ 16 ก่อนทาการวัด DBH ของต้นไม้ในแปลงตัวอย่างถาวร ต้องทาการหมาย 38 ตาแหน่งที่จะวัดพร้อมกับให้เลขเรยี งกับตน้ ไม้ 1) การหมายตาแหน่ง 1.30 m โดยใช้ไม้ในการทาบระบุตาแหน่ง 2) ทาการตอกแผ่นอะลูมิเนียมด้วยตะปูให้ ชายขอบด้านลา่ งอยเู่ หนอื ตาแหน่งที่วัด 1 cm 3) ภายหลังการวัดข้อมูล DBH จะทาการคาดสรี อบตาแหน่งที่วัด 4) ต้นไม้ที่คล้องด้วยลวดกับเลขเรียงจะทา อันตรายตอ่ ลาต้น และ 5) ไม่ตอกตะปูตรงตาแหน่งท่ีจะทาการวัด DBH เม่ือ ทิ้งไว้นานลาต้นจะบวมโตผดิ ปกติ ภาพที่ 17 การคาดสีต้นไม้หลงั จากวดั ขอ้ มลู มีประโยชน์ในการตรวจวัดข้อมูลซ้า หรือใช้ 39 ในการตรวจสอบข้อมูลว่ามีความถูกต้องหรือไม่ 1) สีท่ีคาดต้นไม้ในการวัด ข้อมูลปีแรก 2) การวัดข้อมูล ณ ตาแหน่งเดิมเม่ือเก็บข้อมูลปีท่ีสอง และ 3) การคาดสีในการวัดข้อมูลคร้ังแรก แสดงถึงตาแหน่งการวัดข้อมูลที่ไม่ถูกต้อง เพราะไมข่ ยบั หลบพูพอนทาให้ไดข้ นาดความโตมากกว่าปกตเิ กือบเท่าตัว ภาพที่ 18 การคาดสีต้นไม้สามารถบอกถึงความเจริญเติบโตของต้นไม้นั้นๆ ได้ 1) ต้นไม้ 40 ท่ีมีความเจริญเติบโตดีจะทาให้สีที่คาดมีการแตกเป็นร้ิวๆ และมีสีท่ีจางลง และ 2) ต้นไมท้ ่ีมีความเจริญเติบโตช้าสที ค่ี าดจะมคี วามเปลย่ี นแปลงน้อยมาก (6)

สารบญั ภาพ (ต่อ) ภาพที่ 19 เทคนิคการคาดสีต้นไม้ในมิติต่างๆ 1) ต้นไม้ท่ีย้ายตาแหน่งการวัด DBH หนา้ เพื่อหลบเลย่ี งพูพอนบริเวณโคนตน้ ให้บนั ทกึ ความสงู จากพนื้ ดนิ ถึงตาแหน่งทว่ี ดั 41 ภาพที่ 20 2) การคาดสีต้นไม้ไม่ควรมีความกว้างเกินไปจะทาให้การเก็บข้อมูลคร้ังต่อไป ภาพที่ 21 สบั สน และ 3) การคาดสคี วรมีความกวา้ งประมาณ 2 cm 42 43 ภาพที่ 22 ตาแหน่งที่ใช้วัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของต้นไม้ท่ีมีลักษณะ และสภาพ ภาพท่ี 23 พื้นทที่ แ่ี ตกตา่ งกัน สามารถจาแนกออกเป็น 9 ประเภท 44 ภาพท่ี 24 44 ภาพท่ี 25 ลกั ษณะของต้นไม้ท่คี วรทาความสะอาดลาต้นก่อนทาการวัด DBH 1) สวนป่า 45 ไม้สกั ท่ีถูกไฟไหม้ 2) ตน้ ไมท้ ี่มีมอสไลเคนเกาะ 3) ต้นยางแดงท่ีมีเปลือกเป็น 46 ภาพที่ 26 แผ่นหลุดลอกง่าย และ 4) ต้นไม้ท่ีมีปลวกมาทารังต้องใช้มีดสับมูลดินออก จนถงึ ลาต้น 47 ลกั ษณะของลาต้นของต้นไม้ที่มีเปลือกหนา แข็ง และแตกเป็นร่องลึก ไม่ควร ทาการสับเปลอื กออกมาจะทาใหก้ ารวัดข้อมลู ผดิ พลาดได้ ต้นไม้บางชนิดท่ีลาต้นมีลักษณะเป็นหนามแหลมคม 1) ไม้งิ้ว 2) ไม้เต็งหนาม และ 3) ไมฝ้ าง การวัดขนาด DBH ของต้นไม้ที่มีรากไม้อิงอาศัย ไทร และเถาวัลย์ขนาดเล็ก เกาะหรือพันกับลาต้น เมื่อทาความสะอาดลาต้นแล้ว การวัดข้อมูลจะสอด เทปให้แนบกบั ลาตน้ ของต้นไม้ แลว้ ดงึ เทปใหต้ ึง พรอ้ มอา่ นค่า ในพ้ืนที่ที่มีความลาดชันน้อยหรือท่ีราบ การกาหนดตาแหน่งเพื่อวัด DBH ของต้นไม้จะขึ้นอยู่กับลักษณะของลาต้น 1) ต้นไม้ท่ีมีลาต้นปกติ 2) ต้นไม้ท่ี มีปุ่มตา 3) ต้นไม้ที่มี 2 นาง วัด DBH ทั้ง 2 นาง 4) ต้นไม้ 3 นาง ที่วัดขนาด ความโตทั้ง 3 นาง 5) ต้นไม้ 2 นาง ที่ DBH อยู่บริเวณที่แตกง่าม ทาการวัด เล่อื นลงต่า และ 6) ตน้ ไม้ทมี่ ีลักษณะเอน ในพ้นื ท่ีทีม่ ีความลาดชันสูง การกาหนดตาแหน่งเพื่อวัด DBH ของต้นไม้จะอยู่ ดา้ นบนของความลาดชัน 1) ป่าดิบเขา และ 2) ป่าสนเขา ของเขตรักษาพันธุ์ สัตวป์ า่ เชียงดาว จังหวดั เชยี งใหม่ (7)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพที่ 27 การวดั ข้อมูล ของต้นไม้ที่มีพูพอนแบบต่างๆ 1) ต้นไม้ท่ีมีพูพอนในระดับต่า หนา้ ภาพท่ี 28 อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน จังหวัดเพชรบุรี 2) ต้นไม้ท่ีมีพูพอนระดับต่า 48 ภาพท่ี 29 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า อุ้มผาง จังหวัดตาก 3) การใช้บันไดในการวัดข้อมูล เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว จังหวัดจันทบุรี 4) การใช้บันไดในการวัด 49 ขอ้ มูล อทุ ยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเขียงใหม่ 5) การตอกทอยเพื่อ ใช้ยืนในการเก็บข้อมูล ถ้าหลีกเลี่ยงได้ไม่ควรทา และ 6) การหมายตาแหน่ง 50 ตน้ ไม้ทีม่ พี ูพอนสงู มากๆ เส้นประคือตาแหน่งที่พ้นพูพอน เส้นทึบคือตาแหน่ง ท่ีทาการเกบ็ ขอ้ มูล การวัดขนาด  ทางออ้ ม โดยการใช้ Pole เหล็กกล่องติดระดับน้า 1) หมาย ตาแหน่งต้นไม้ที่ต้องการวัดด้วยสายตา ยืนห่างจากต้นไม้ไม่น้อยกว่าคร่ึงหน่ึง ของความสูงของต้นไม้ 2) ส่งสัญญาณให้คนแรกนา Pole ขยับเข้าหา ตาแหน่งท่ีหมายไว้ 3) เม่ือคนแรกขยับจน Pole ได้ตาแหน่ง ดูระดับน้าให้ Pole ต้ังตรง 4) ส่งสัญญาณให้คนท่ีสอง นา Pole ขยับเข้าหาตาแหน่งอีกด้าน 5) เมื่อท้ังคู่อยู่ในตาแหน่งท่ีหมายไว้เรียบร้อยแล้ว และ 6) ให้คนที่สามวัด ระยะหา่ งของปลาย Pole ทงั้ สองก็จะได้ขนาดของ อย่างหยาบๆ การวัดขนาด ของต้นไม้ในบางมิติ 1) ต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่การวัดข้อมูลต้องมี คนช่วยปรับเทปวัดให้อยู่ในแนวระดับ 2) ลักษณะลาต้นท่ีมีร่องมีหลืบของไม้ ตะแบก 3) การวัดต้นไม้ที่มีร่องมีหลืบต้องดึงเทปวัดให้ตึงห้ามกดเส้นเทปไป ตามร่องหลืบ 4) การหมายตาแหน่งวัดข้อมูลต้นไม้ท่ีมีลาต้นปกติแต่มีจอม ปลวกขนาดเล็กหุ้มลาต้น 5) การเล่ือนตาแหน่งวัดข้อมูลเนื่องจากท่ีโคนต้นมี ปุ่มปมและมีจอมปลวกขนาดใหญ่หุ้มบางส่วน และ 6) การวัดข้อมูลไผ่ผาก โดยใหเ้ ลขเรยี งประจากอ 1 หมายเลข และให้หมายเลขประจาลาด้วยปากกา เคมหี รือใช้สพี น่ (8)

สารบัญภาพ (ต่อ) ภาพท่ี 30 แสดงการเก็บข้อมูล DBH ของเถาวัลย์ 1) การวัด DBH ของเถาวัลย์ที่เกิดอยู่ หนา้ ใกล้แล้วพันขึ้นตน้ ไมจ้ ะวัดขอ้ มลู DBH ได้ง่าย 2) เถาวัลย์ที่เกิดอยู่ห่างแล้วพัน 53 ภาพท่ี 31 ข้ึนต้นไม้จะวัด DBH ที่ระดับ 1.30 m แรกท่ีพบ 3) เถาวัลย์ที่เล้ือยไปตาม ภาพที่ 32 พน้ื ดนิ บางคร้งั หา่ งจากจุดกาเนิดมากกว่า 4-5 m 4) เถาวลั ย์ท่ีมีหลายนางจะ 54 ภาพท่ี 33 วัด DBH นางที่สูงกว่า 1.30 m แล้วพันขึ้นต้นไม้ 5) เถาวัลย์ท่ีมีลาต้นบางส่วน 54 สูงกว่า 1.30 m แล้วโค้งเล้ือยลงดิน จะทาการวัด DBH และ 6) เถาวัลย์ 55 ภาพที่ 34 ขนาดใหญ่ ไมม่ ีลาต้นสว่ นใดสงู เกนิ 1.30 m ไมต่ อ้ งทาการวดั DBH ภาพท่ี 35 56 เถาวัลย์บางชนิดที่มีลักษณะแบน การใช้เทปวัดเพื่อเก็บข้อมูล DBH 56 จะไมเ่ หมาะสม 1) เครอื เขานา้ 2) กระไดลงิ และ 3) แสลงพันเถา การวัดเถาวัลย์ท่ีมีลักษณะแบนด้วย Diameter Tape เปรียบเทียบกับ Vernier Caliper 1) Diameter Tape มีค่า 3.75 cm 2) Vernier Caliper ด้านกว้าง มคี ่า 5.0 cm และ 3) ด้านหนา มีคา่ 1.4 cm แสดงการพันของเถาวัลย์และวิธีวัด DBH ของต้นไม้และเถาวัลย์ 1) ต้นไม้ท่ี ถูกเถาวัลย์พันแน่น ไม่สามารถสอดเทปวัด DBH ได้ 2) ภาพตัดขวางของ ต้นไม้และเถาวัลย์ท่ีใช้ Vernier Caliper วัด DBH ของต้นไม้ และ 3) ภาพตัดขวางของต้นไม้และเถาวลั ยท์ ใ่ี ช้ Vernier Caliper วัด DBH ของต้นไม้ รวมกับ DBH ของเถาวัลย์ ภาพตัดขวางการวัดเถาวัลย์ที่พันแน่นกับต้นไม้ 1) เถาวัลย์กลม 2) เถาวัลย์วงรี และ 3) เถาวลั ยแ์ บน การคานวณค่า Quadratic จาก DBH ของต้นไม้ท่ีมีหลายนาง 1) ต้นไม้สอง นางซึ่งปกติจะวัด DBH ทั้งสองนางโดยถือว่าเป็นต้นไม้สองต้น และ 2) ตัวอย่าง การคานวณ DBH จานวน 4 นาง แบบ Quadratic พบว่าค่า DBHQ ท่ีได้ เมอื่ นาไปคานวณหา BAQ จะไดค้ า่ เท่ากับผลรวมของ BA ทุกนาง (9)

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ 36 การวดั DBH ของต้นไทร 1) ตน้ ไทรที่ลาตน้ โอบรัดมลี ักษณะกลม 2) ต้นไทรที่ หน้า ลาต้นโอบรัดมีลักษณะแบน 3) การใช้ Vernier Caliper วัดส่วนที่เป็นด้าน 57 ภาพที่ 37 กว้าง 4) การใช้ไม้บรรทัดวัดในส่วนที่เป็นด้านหนา 5) ต้นไทรที่เห็นลาต้นที่ ภาพที่ 38 เด่นชัดและอยู่ไม่สูงจากพ้ืนดิน และ 6) การวัดขนาดความโตของต้นไทรที่อยู่ 58 ภาพที่ 39 สงู จากพ้ืนดนิ ไม่มากนัก ภาพท่ี 40 59 การวัดความสูงของพีระมิดคีออปส์ในประเทศอียิปต์ โดยใช้หลักการวัดระยะ ของเงาที่เกิดจากแสงอาทิตย์ที่ส่องมายังวัตถุในวันและช่วงเวลาเดียวกัน 60 1) พีระมิดคีออปส์ในประเทศอียิปต์ และ 2) การวัดความสูงของพีระมิด 63 (ทีม่ า : https://th.wikipedia.org/wiki/เธลสี ) ตัวอย่างอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้วัดความสูงของต้นไม้ 1) Measuring Pole 2) HAGA Altimeter 3) SPIEGEL Relascope 4) SUUNTO Clinometer 5) เคร่ืองวัดมุมเอียงอย่างง่าย 6) BLUME-LEISS Altimeter 7) VERTEX FORESTOR 8) VERTEX IV และ 9) VERTEX 5 VL การวัดความสูงของต้นไม้โดยใช้ Measuring Pole เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ได้ดีกับ ต้นไม้ท่มี ีความสงู ไม่เกิน 15 m การวดั ความสงู ต้นไม้ดว้ ยเคร่ือง Vertex 1) การเล็งเป้าท่ีระยะห่างจากต้นไม้ น้อยกว่าคร่ึงหน่ึงของความสูงของต้นไม้ 2) ตาแหน่งท่ีวัดความสูงที่มี ระยะห่างจากต้นไม้น้อยจะทาให้การเล็งยอดไม่ชัดเจนทาให้ความสูงมีค่า คลาดเคล่ือนจากความเป็นจริง 3) เมื่อเพิ่มระยะห่างจากต้นไม้มากข้ึนจะทา ใหก้ ารเลง็ ยอดงา่ ยและได้คา่ ความสูงทีถ่ ูกต้องมากกว่า 4) ในกรณีทีไ่ มส่ ามารถ เพม่ิ ระยะหา่ งไดเ้ นื่องจากสภาพของพน้ื ท่ีท่ีเปน็ หุบห้วยไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ จาเป็นต้องเล็งความสงู ต้นไมผ้ ่านทรงพุ่ม ทาใหไ้ ดค้ ่าความสูงคลาดเคลื่อนจาก ความเป็นจริงมากหรือน้อยกว่าปกติ 5) พื้นท่ีที่มีความลาดชันสูงต้นไม้อยู่ ด้านล่างตาแหน่งผู้วัดอยู่ด้านบน และ 6) พื้นท่ีท่ีมีความลาดชันสูงต้นไม้อยู่ ด้านบนตาแหนง่ ผู้วดั อยู่ดา้ นลา่ ง (10)

สารบญั ภาพ (ตอ่ ) หนา้ ภาพท่ี 41 การวัดความสูงต้นไม้ท่ีมีลักษณะเอียงบนพ้ืนที่ราบ 1) ต้นไม้เอียงออกไปจาก 64 ผู้ทาการวัดจะได้ความสูงที่น้อยกว่าปกติ 2) ต้นไม้เอียงเข้าหาผู้ทาการวัดจะ ได้ความสูงที่สูงกว่าปกติ 3) ต้นไม้เอนไปด้านซ้าย ความสูงท่ีได้จะมีความ คลาดเคล่ือนน้อย และ 4) ต้นไม้เอนไปด้านขวา ความสูงที่ได้จะมีความ คลาดเคลอื่ นน้อย ภาพที่ 42 ไม้ต๋าว อาเภอบอ่ เกลือ จังหวัดน่าน 1) ลักษณะลาต้นที่มีกาบใบแห้งตายและ 65 ยังหุ้มรอบๆ ลาต้น การทาความสะอาดลาต้นก่อนทาการวัด DBH ทาได้ ค่อนข้างยากและใช้เวลามาก 2) การวัด DBH จะทาได้ยากและเส้นเทปที่วัด จะไมไ่ ด้ระดบั เพราะตดิ กาบและกา้ นใบท่ีปูดบวมออกมา ทาให้ค่า DBH ที่ได้มี ความคลาดเคลอ่ื นสงู ภาพที่ 43 ไม้ต๋าว อาเภอบ่อเกลือ จังหวัดน่าน 1) ลักษณะความสูงและเรือนยอดของ 66 ไม้ต๋าว 2) การวัดความสูงที่ง่ามยอดอ่อนของก้านใบท่ีแยกจากกาบใบของ คบู่ นสดุ และ 3) การวดั ความสงู ถงึ ยอดออ่ น ภาพที่ 44 การวดั ความสงู ของไม้ตา๋ วโดยใช้ Vertex ทรี่ ะดับความสูงในแบบตา่ งๆ กัน 66 ภาพท่ี 45 ความสมั พันธร์ ะหวา่ ง DBH กบั Ht ในรูปแบบ Hyperbolic equation จากการ 67 ใช้โปรแกรม SILVICS จากแปลงตัวอยา่ งถาวรขนาด 100X100 m2 ของปา่ ดบิ เขา ในพนื้ ที่อุทยานแหง่ ชาตดิ อยอินทนนท์ จงั หวดั เชียงใหม่ ภาพท่ี 46 การวัดตาแหน่งพิกัด X-Y ของต้นไม้ ในแปลงตัวอย่างถาวร 1) การวัดต้นไม้ 69 โดยใช้เทปวัดระยะจากขอบแปลงไปหาต้นไม้ที่ถูกวิธี 2) การวัดต้นไม้ โดยใช้ เทปวัดระยะจากขอบแปลงไปหาต้นไม้ท่ีผิดวิธี 3) การวัดต้นไม้ที่ผิดวิธี เม่ือนาข้อมูลไปลงจะทาให้ตาแหน่งกลางต้นคลาดเคล่ือนจากจุดเดิม แสดง ในลาต้นภาพจาง และ 4) การวัดตาแหน่งต้นไม้ โดยใช้เทปวัดระยะตรึงที่ หมดุ ขอบแปลง แล้วเลง็ ไปยงั ตน้ ไม้ (11)



คานา จากการขาดแคลนขา้ ราชการรนุ่ ใหมข่ องสานักวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้และพันธุ์พืช ที่จะมา เรียนรู้และปฏิบัติงานทางด้านความเจริญเติบโตและผลผลิต (Growth and Yield) ของต้นไม้ รวมถึง การสะสมคาร์บอน (Carbon Stock) ทั้งในพื้นที่ป่าปลูกและป่าธรรมชาติ ที่ขาดช่วงมานานกว่า 10 ปี จะมีกแ็ ต่พนักงานราชการและเจ้าหน้าท่ี TOR ไม่ก่ีคน ท่ไี ด้มโี อกาสร่วมปฏิบัติงานในช่วงส้ันๆ และแยกย้ายไปบรรจุตามตาแหน่งที่ได้รับเม่ือสอบบรรจุได้ ซึ่งการศึกษาวิจัยทางด้านนี้เป็นงานท่ี ค่อนข้างยากและต้องอาศัยทักษะ ความรู้ ความมุ่งมั่น และระยะเวลา จึงจะสามารถสร้างสม ประสบการณแ์ ละพฒั นางานทางด้านนี้ไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ต่อไป ในอดีต คู่มือ “เทคนิคการวางแปลงตัวอย่างถาวร และการวัดต้นไม้อย่างมืออาชีพ” ได้ถูกจัดเตรียมขึ้นเพ่ือใช้เป็นเอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การประยุกต์ เทคนิคพ้ืนฐานสาหรับการวางแปลงทดลองตัวอย่าง” ระหว่างวันท่ี 26-31 สิงหาคม 2556 ณ อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักวิชาการป่าไม้ท่ีมี ความสนใจในการวางแปลงตัวอย่างถาวรและการวัดข้อมูลความเจริญเติบโตของต้นไม้ ใช้เป็นคู่มือ ในการปฏิบัติงานได้จริงในภาคสนาม ซ่ึงการวางแปลงตัวอย่างถาวรและวัดความเจริญเติบโตต้นไม้ ให้มีความถูกต้องสูงและมีความคลาดเคล่ือนน้อย ถือเป็นก้าวแรกและก้าวสาคัญต่อการดาเนิน งานวิจัย ท่ีจาเป็นต้องอาศัยทักษะ เทคนิค อุปกรณ์ ทฤษฎี และวิธีการ ท่ีเหมาะสมเพ่ือให้ได้ข้อมูล ภาคสนามท่ีมีคุณภาพสูง มีมาตรฐาน และสามารถตรวจสอบได้ นอกจากนี้การเก็บข้อมูลระดับ ความสูงต่าของพื้นที่ในแปลงตัวอย่างถาวร และตาแหน่งพิกัด X-Y ของต้นไม้ จะสามารถนามา ประมวลผลรวมกันได้ หลังจากการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการดังกล่าว ในปีงบประมาณ 2557 สานักวิจัยการอนุรักษ์ ป่าไม้และพันธุ์พืช โดยส่วนวิจัยนิเวศวิทยาและสิ่งแวดล้อม และส่วนวิจัยการอนุรักษ์ป่าไม้ (ขณะน้ัน) ได้รับการจัดสรรงบประมาณภายใต้ “กิจกรรมสารวจ ศึกษา และประเมินการเปล่ียนแปลงของ ระบบนิเวศและการกักเก็บคาร์บอนในพ้ืนท่ีป่าไม้” ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ปีงบประมาณ 2557-2561 ได้ใช้เป็นคู่มือในการวางแปลงตัวอย่างถาวรเพ่ือเก็บข้อมูล พบว่าได้ผล เป็นที่น่าพอใจ แต่อย่างไรก็ตาม เพื่อเพิ่มองค์ความรู้ในคู่มือดังกล่าว จึงได้ทาการปรับปรุงเอกสาร ขนึ้ มาใหม่ โดยเพ่ิมเติมเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานภาคสนาม ร่วมกับประสบการณ์ท่ีได้รับ จากการศกึ ษาวิจัยโครงการฯ ดงั กลา่ ว เพือ่ ใหค้ มู่ ือน้ีมคี วามสมบรู ณ์เพ่มิ ขึ้น 1

ประเภทของแปลงตวั อย่าง Curtis and Marshall (2005) ได้แยกแปลงตัวอย่างภาคสนามที่ใช้ในการศึกษาวิจัย ทางด้านวนวัฒนวิทยา และผลผลติ ในประเทศสหรฐั อเมริกา ออกเป็น 3 ประเภท คอื 1. แปลงตวั อยา่ งชั่วคราว 2. แปลงตัวอย่างชวั่ คราว เพือ่ ศกึ ษาความเจริญเตบิ โตเพิ่มเตมิ 3. แปลงตวั อย่างถาวร แปลงตัวอย่างช่ัวคราว เป็นแปลงท่ีเก็บข้อมูลในการทาตารางผลผลิต ในลักษณะของ การสารวจแจงนบั ไม้ (Forest Inventory) ข้อมูลที่เก็บ คือ อายุ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง และความสูง เปน็ แปลงทเี่ สียคา่ ใช้จา่ ยน้อย แปลงตวั อยา่ งชั่วคราว เพื่อศึกษาความเจรญิ เตบิ โตเพ่ิมเตมิ เปน็ แปลงที่เก็บข้อมูลเพ่ิมเตมิ จาก อายุ ขนาดเส้นผา่ นศนู ยก์ ลาง และความสูง โดยเกบ็ Increment Core และการวเิ คราะห์ลาต้น (Stem Analysis) เพื่อศกึ ษาอัตราความเจรญิ เตบิ โตของตน้ ไมใ้ นอดตี (ภาพท่ี 1) แปลงตัวอย่างถาวร เป็นแปลงที่ใช้เก็บข้อมูลระยะยาวมีการตรวจวัดซ้า ข้อมูลท่ีได้มี ความถกู ตอ้ งแม่นยาสงู กวา่ แปลงตัวอย่างชว่ั คราว เป็นแปลงทีเ่ สียคา่ ใช้จา่ ยสูงในการดาเนนิ งาน ภาพท่ี 1 การเก็บ Increment Core ด้วยเครื่องมือ Increment Borer และ การวิเคราะห์ ลาต้นเพื่อศึกษาอายุและความเพิ่มพูนของต้นไม้ 1) การนับอายุไม้สักเพ่ือใช้ในการพิสูจน์สิทธ์ิท่ีดิน ของสวนป่าท่าแยก อาเภอเมือง จังหวัดสระแก้ว และ 2) การศึกษาอายุและความเพิ่มพูนของไม้ กระถินเทพา อายุ 9 ปี อทุ ยานแหง่ ชาตหิ มูเ่ กาะระนอง อาเภอเมอื ง จังหวดั ระนอง 2

ลกั ษณะของแปลงตวั อยา่ ง ลักษณะของแปลงตัวอย่างทางด้านป่าไม้ที่นิยมใช้กันอยู่ในปัจจุบันจะมีอยู่ 3 แบบ คือ 1) วงกลม 2) ส่ีเหลี่ยมจัตุรัส และ 3) สเี่ หลี่ยมผืนผ้า ส่วนรูปแบบที่เป็นจุดไม่เป็นท่ีนิยมใช้กัน โดยท่ี รูปแบบทง้ั 3 แบบดังกล่าวจะมีข้อดีและข้อด้อยที่แตกตา่ งกนั แปลงตัวอย่างวงกลม เป็นแปลงตัวอย่างท่ีนิยมใช้กันในการสารวจแจงนับไม้ หรือ Forest Inventory ใช้ได้ดีเมื่อแปลงตัวอย่างมีขนาดเล็ก และพ้ืนท่ีมีความลาดชันไม่มากนัก เน่ืองจากมีความสะดวกรวดเร็วและประหยัดค่าใช้จ่าย โดยการกาหนดระยะห่างระหว่างแปลง ให้เปน็ ระบบ (Systematic) โดยมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้ทราบถึงปริมาณไม้ในป่าโดยภาพรวมทั้งพื้นท่ี แต่จะมีความยุ่งยากมากเม่ือแปลงตัวอย่างมีขนาดใหญ่และในพ้ืนท่ีที่มีความลาดชันสูง รวมถึงถ้ามี ต้นไม้จานวนมากก็อาจเกิดความสับสนต่อการตรวจวัดได้ ส่วนข้อดีอีกข้อของแปลงวงกลมคือ เส้นรอบรูปของแปลงวงกลมจะมีค่าน้อยกว่าแปลงส่ีเหลี่ยมจัตุรัสที่มีขนาดพ้ืนท่ีเท่ากัน ดังแสดงใน ภาพที่ 2 จึงลดปญั หาของตน้ ไม้รมิ ขอบแปลงได้มากกวา่ ข้อด้อยของแปลงวงกลมคือไม่นิยมพัฒนาเป็นแปลงตัวอย่างถาวร เนื่องจากการติดตาม ตรวจวัดข้อมูลในคร้ังต่อไปกระทาได้ค่อนข้างยาก ไม่สามารถทาแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่กับ ขอบเขตของแปลงตวั อย่าง และการลงตาแหน่งพิกัดของต้นไม้เพื่อตรวจสอบการเก็บข้อมูลทาได้ยาก ดังน้ันแปลงวงกลมจึงนิยมทาเป็นแปลงชั่วคราว แต่อาจมีการฝังหมุดไว้ตรงกลางแปลงเพื่อใช้เป็น หมดุ อ้างอิงในอนาคตต่อไป ภาพที่ 2 เสน้ รอบรูปในแปลงตวั อย่างขนาดพืน้ ท่ี 0.1 เฮกแตร์ ของแปลงตัวอย่างวงกลม และสี่เหล่ียมจตั รุ ัส พบวา่ วงกลมจะมีเส้นรอบรปู นอ้ ยกวา่ สี่เหลย่ี ม 14.39 เมตร 3

แปลงตัวอย่างส่ีเหล่ียมจัตุรัส เป็นแปลงตัวอย่างท่ีนิยมใช้กับการศึกษาทางด้าน นิเวศวทิ ยาปา่ ไม้ วนวัฒนวทิ ยา การประเมนิ ผลผลิต และอัตราการเจริญเติบโตของต้นไม้ในป่า เช่น การศึกษาสมการแอลโลเมตริกของ Ogawa et al. (1965) ได้ทาการศึกษาในแปลงส่ีเหล่ียมจัตุรัส ขนาด 40X40 m2 จานวนทั้งหมด 5 แปลง แยกเป็นในพื้นที่ปิงโค้ง อาเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เป็นปา่ เตง็ รงั จานวน 2 แปลง และปา่ ดิบริมห้วย จานวน 1 แปลง ส่วนในพ้ืนท่ีเขาช่อง จังหวัดตรัง เป็นป่าดิบชื้น จานวน 2 แปลง จากน้ันได้ตัดต้นไม้เพื่อหาสมการแอลโลเมตริกของป่าเต็งรังและ ป่าดิบช้ืนของประเทศไทยขึ้น ซงึ่ ยงั คงใชอ้ ้างอิงมาถึงทุกวันนี้ Curtis and Marshall (2005) แนะนาว่าในการศกึ ษาวจิ ยั ด้านปา่ ไม้ควรใช้แปลงตัวอย่าง ในรูปของสี่เหลี่ยมจัตุรัส เน่ืองจากแปลงตัวอย่างสี่เหลี่ยมจัตุรัส สามารถวางแปลงได้ง่าย ใช้ได้ดี ในพื้นท่ีที่มีความลาดชันสูง สามารถทา Mapping ของระดับความสูงของพื้นที่กับแนวขอบเขตของ แปลงตัวอย่าง พร้อมการลงตาแหน่งพิกัดของต้นไม้เพื่อตรวจสอบและเก็บข้อมูลในครั้งต่อไป ดังแสดงในภาพที่ 3 จากข้อไดเ้ ปรยี บของแปลงส่ีเหลี่ยมจัตุรัสดังกล่าว จึงนิยมทาเป็นแปลงตัวอย่าง ถาวรเพอ่ื ติดตามการเปล่ียนแปลงของต้นไม้และหมู่ไมไ้ ดเ้ ป็นอย่างดี แปลงตัวอย่างสี่เหล่ียมผืนผ้า เป็นแปลงตัวอย่างท่ีรวมถึงลักษณะที่เป็นแถบยาว (Transect) คือมีดา้ นกว้างน้อยแตม่ คี วามยาวมาก เช่น 10X200 m2 เป็นต้น ลักษณะของแปลงแบบนี้ เหมาะสาหรับการศึกษาเก่ียวกับความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งจะครอบคลุมชนิดพันธ์ุไม้ในพื้นท่ี ได้มากกว่าเมื่อสภาพพ้ืนท่ีมีความลาดชันสูงและทาการวางแปลงที่เป็นด้านยาวขึ้นไปบนเขา (ด้านยาว ต้ังฉากกับเส้น Contour) แต่ไม่เหมาะสาหรับการศึกษาความเจริญเติบโตและผลผลิตของหมู่ไม้ เนื่องจากความคลาดเคล่อื นจากด้านกว้างของแปลงทีส่ ้นั เกนิ ไป ถา้ ต้องการศึกษาความเจริญเติบโต และผลผลิตของหมไู่ มค้ วบคู่ไปกับความหลากหลายทางชีวภาพ จาเป็นต้องปรับเปล่ียนรูปแบบของ แปลงเป็น 40X50 m2 โดยให้ด้านยาว 50 m ตั้งฉากกับแนวเส้น Contour ซึ่งแปลงแบบน้ีอาจได้ ข้อมูลความหลากหลายของชนิดต้นไม้ท่ีน้อยกว่า ดังนั้นลักษณะแปลงตัวอย่างประเภทนี้ จาเปน็ ต้องกาหนดวตั ถปุ ระสงคข์ องงานวิจัยพร้อมทั้งอธิบายดา้ นกว้าง-ยาว ของแปลงใหช้ ัดเจน ภาพท่ี 3 แผนท่ีแสดงความ ลาดชันของพ้ืนท่ี และตาแหน่งของ ต้นไม้ในป่าดิบเขา อุทยานแห่งชาติ ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ จาก แปลงตัวอย่างถาวรขนาด 1 เฮกแตร์ (1 hectare, 1 ha คือ 100X100 m2) 4

ขนาดของแปลงตัวอย่าง ขนาดของแปลงตัวอย่างที่เหมาะสม ข้ึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัยนั้นๆ เช่น แปลงท่ีใช้ศึกษาทางด้านนิเวศวิทยาป่าไม้ นิยมทาเป็นแปลงขนาดใหญ่ ซึ่งอาจารย์ สรายุทธ บุณยะเวชชีวิน ได้วางแปลงขนาด 16 เฮกแตร์ (400X400 m2) เพื่อศึกษาโครงสร้าง แ ล ะ พ ล วั ต ข อ ง ป่ า ดิ บ แ ล้ ง ร ะ ดั บ สู ง ใ น พ้ื น ท่ี เขตรักษาพันธ์ุสัตว์ป่าเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ และป่าสน-ป่าดิบเขา ในพื้นท่ีอุทยานแห่งชาติ น้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ นอกจากน้ียังมี แปลงขนาด 1 เฮกแตร์ (100X100 m2) กระจาย อยู่ท่ัวประเทศ ส่วนแปลงที่มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เช่น ต้นไม้สูงมากกว่า 50 m ขนาดของแปลง ความเจริญเติบโตและผลผลิตหรือการสะสม ควรไมน่ ้อยกวา่ 50X50 m2 เนอ่ื งจากการบงั รม่ เงา คาร์บอนของหมู่ไม้ ส่วนใหญ่มักใช้ขนาดของ ของตน้ ไมใ้ หญ่ และตน้ ไมท้ ่ีมคี วามสงู มากจะส่งผล ความสูงของต้นไม้ท่ีสูงท่ีสุดเป็นเกณฑ์ ซึ่ง กระทบตอ่ ต้นไมท้ อี่ ยู่ข้างเคยี งท่ีมีความสูงน้อยกว่า นั ก วิ จั ย ช า ว ญี่ ปุ่ น มั ก นิ ย ม ใ ช้ รู ป แ ป ล ง เ ป็ น หรือเล็กกว่าที่จะตายลงในที่สุด การกาหนดให้ สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่มีความยาวของด้านไม่น้อยกว่า แปลงมีขนาดใหญ่จะช่วยลดความคลาดเคล่ือน ความสูงของต้นไม้ที่สูงท่ีสุดในแปลงเป็นเกณฑ์ และความลาเอยี งจากการวางแปลงลงได้ เนือ่ งจาก ไมว่ า่ ขยับแนวของแปลงไปดา้ นใดก็ตาม ในแปลง จะมีต้นไม้ใหญ่ด้วยและมีบริเวณที่เป็นช่องว่าง ด้วยเสมอไป เป็นที่น่าสังเกตว่า จากการศึกษา ของ Ogawa et al. (1965) ท่ีใช้แปลงตัวอย่าง 40X40 m2 เม่ือศึกษาจากเอกสารวิจัยพบว่า ในแปลงป่าดิบริมห้วยมีต้นไม้สูงสุด 35.5 m ในป่าเต็งรังมีต้นไม้สูงสุด 29 m และในป่าดิบช้ืน มีตน้ ไม้สงู สดุ 36 m การใช้แปลงตัวอยา่ งขนาด 5

40X40 m2 หรือ 0.16 ha หรือ 1 ไร่ น้ันสอดคล้อง ต้นไม้ไม่น้อยกว่า 100 ต้น/แปลง และไม่รวม กับหลักเกณฑ์ดังกล่าวข้างต้น อีกท้ังขนาด ไมพ้ นื้ ล่างอ่นื ๆ (USDA Forest Service, 1935) 40X40 m2 หรือ 1 ไร่ เป็นหน่วยวัดพ้ืนท่ีของ ไทยทาใหเ้ ขา้ ใจงา่ ยขน้ึ ในขณะท่ีการศึกษาของ ดั ง น้ั น ข น า ด ข อ ง แ ป ล ง ตั ว อ ย่ า ง ท่ี Vuokila (1965) ในการศึกษาเปรียบเทียบค่า เหมาะสม ที่ใชใ้ นการศึกษาความเจริญเติบโตและ coefficient of variation ของไมส้ นในประเทศ ผลผลิต หรือการสะสมคาร์บอนในป่าธรรมชาติ ฟนิ แลนด์ พบวา่ ขนาดของแปลงตัวอยา่ งควรใช้คา่ ควรใช้ขนาดแปลงไม่น้อยกว่า 40X40 m2 หรือ 0.01 ha คูณกับความสูงของต้นไม้ น่ันคือถ้า 50X50 m2 เป็นเกณฑ์ และจะสอดคล้องกับ ต้นไม้มคี วามสูง 40 m ขนาดของแปลงตัวอย่าง การใช้สมการแอลโลเมตริกในการคานวณหา ควรมีขนาด 0.4 ha ซ่ึงวิธีการน้ีขนาดของแปลง มวลชวี ภาพของนกั วจิ ยั ชาวญีป่ ่นุ ทไ่ี ด้ดาเนินการ จะใหญก่ วา่ ของญี่ปุ่นมากกว่า 2 เท่าตัว ขณะที่ ไปแล้ว ท้ังน้ีคู่มือเล่มน้ีจะบรรยายถึงเทคนิค Fabricius et al. (1936) แนะนาว่าในหมู่ไม้ การวางแปลงตัวอย่างถาวร ท่ีมีลักษณะเป็น ที่ไม่สม่าเสมอ ขนาดของแปลงตัวอย่างไม่ควร สี่เหล่ียมจัตุรัสขนาด 40X40 m2 เพื่อให้ทราบ น้อยกว่า 0.25 ha และนักวิจัยรุ่นแรกๆ ของ ถึงเทคนิค ปัญหา อุปสรรค และความยากง่าย สหรัฐอเมริกาแนะนาให้ใช้จานวนของต้นไม้ ของการวางแปลงตัวอย่าง การวัดข้อมูลต้นไม้ เพอื่ กาหนดขนาดของแปลงตวั อยา่ ง โดยมจี านวน ใหม้ ีความถูกต้อง และมีความแม่นยาสูง เพ่ือนา ข้อมูลไปใช้วิเคราะห์สังคมพชื ในมิติต่างๆ ตอ่ ไป 6

จานวนของแปลงตัวอย่าง ในการประเมินปริมาณการสะสม คาร์บอนในพ้ืนที่ป่าไม้ มักจะพบกับคาถามท่ีว่า “ต้องใช้จานวนแปลงตัวอย่างเท่าไรเพ่ือใช้เป็น ตัวแทนในแต่ละพื้นที่” ซ่ึงจานวนของแปลง ตัวอยา่ งน้นั ยอ่ มขน้ึ อยู่กับขนาดของพ้ืนท่ีที่ศึกษา งบประมาณทีไ่ ด้รับการจัดสรร ระยะเวลา อุปกรณ์ บคุ ลากรในการดาเนนิ การ และรวมถึงเทคนิคของ การสุ่มแปลงตัวอย่าง โดยเทคนิคการสุ่มแปลง ตวั อย่างในพืน้ ท่ีปา่ ไม้แบง่ ออกเป็น 2 ประเภท คือ แบบเป็นระบบ (Systematic Sampling) และ แบบช้ันภูมิ (Stratified Sampling) ดังแสดงใน ภาพท่ี 4 ภาพที่ 4 ตาแหน่ง และจานวนของ แปลงตัวอย่าง ท่ีใช้เทคนิคการสุ่มแปลงตัวอย่าง แบบต่างๆ ในพื้นท่ีป่าดิบแล้งของเขตรักษาพันธุ์ สัตวป์ า่ เขาสอยดาว อาเภอสอยดาว จังหวัดจนั ทบุรี ขนาดพ้ืนท่ี 15.5 km2 หรือ 1,550 ha 1) การวางแปลงตัวอย่างอย่างเป็นระบบ (Systematic Sampling) ในท่ีน้ีจาเป็นต้องวางแปลงจานวนทั้งส้ิน 15 แปลง และ 2) การวางแปลงแบบช้ันภูมิ (Stratified Sampling) ที่จาแนกขนาดความหนาแน่นของทรงพุ่มออกเป็น 3 กลุ่ม คือ สูง (High, H) กลาง (Medium, M) และนอ้ ย (Low, L) โดยวางแปลงตวั อยา่ ง กลุ่มละ 3 แปลง รวมจานวน 9 แปลง การวางแปลงแบบ Systematic Sampling เป็นการวางแปลงตัวอย่างท่ีเป็นระบบโดยมีระยะห่าง ระหว่างแปลงเท่าๆ กัน ใช้มากในงานสารวจแจงนับไม้ โดยใช้กับรูปแบบแปลงท่ีเป็นวงกลม มีข้อดีคือสามารถ วางแผนในการเกบ็ ข้อมลู ได้ง่าย ต้นทนุ ในการดาเนนิ งานน้อย สามารถวางแปลงกระจายได้ทั่วท้ังพ้ืนท่ี แต่มีข้อด้อยคือ ไม่สามารถทาได้ทกุ แปลงตามทอ่ี อกแบบไว้ เนื่องจากจุดที่ กาหนดอาจอยู่บนยอดเขา หุบเหว หรือแม่น้าลาธาร รวมถึงการเขา้ ถงึ ลาบาก ไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่เป้าหมายได้ และใช้จานวนแปลงทม่ี ากกวา่ Stratified Sampling 7

การวางแปลงแบบ Stratified Sampling เปน็ การวางแปลงตวั อยา่ งแบบจัดกลุ่ม โดยจาแนกพ้ืนที่ออกเป็นกลุ่มๆ โดยภายในกลุ่มเดียวกันให้มีความสม่าเสมอเหมือนกัน ในพ้ืนที่ป่า ธรรมชาติจะใช้แผนที่ภาพถ่ายทางอากาศจาแนกช้ันเรือนยอดออกเป็น 3 กลุ่ม ตามความหนาแน่น คือ สงู กลาง และน้อย แลว้ ทาการวางแปลงกลุ่มละ 3 แปลง เป็นต้น วิธีการแบบน้ี มักนิยมใช้รวม กับรูปแปลงสี่เหลี่ยมจัตุรัส ซ่ึงมีข้อดีคือสามารถคัดเลือกแปลงตัวอย่างครอบคลุมท้ังพื้นที่ได้ เข้าถึง สะดวก ประหยัดเวลาในการเดินทาง สามารถตรวจสอบข้อมูลได้ ใช้จานวนแปลงตัวอย่างน้อยกว่า แบบ Systematic Sampling แต่มีข้อด้อยคือ จะต้องมีความรู้และประสบการณ์ในการจัดกลุ่ม ตัวแทนดงั กล่าว จานวนแปลงตัวอย่างโดยใช้หลักการทางสถิติ Pearson et al. (2005) ได้ใช้หลักการ ทางสถติ เิ พ่อื กาหนดจานวนของแปลงตวั อย่างของแบบ Systematic และ Stratified Sampling ดังนี้ 1. ทาการกาหนดค่าความคลาดเคล่ือน และระดับความเช่ือม่ันที่เรายอมรับได้ใน การศึกษาปริมาณสะสมคาร์บอนในพ้ืนที่ป่า ในที่น้ีกาหนดให้มีค่าความคลาดเคล่ือนไม่เกินร้อยละ 10 ทร่ี ะดบั ความเชอื่ มน่ั 95 % 2. ตอ้ งมีขอ้ มลู ทศ่ี ึกษาเบอื้ งต้นในพื้นที่บริเวณดังกล่าวก่อน จานวน 6-10 แปลง เพ่ือหา ค่าเบย่ี งเบนของข้อมลู ในพน้ื ที่ และนาขอ้ มลู นี้ไปคานวณหาจานวนแปลงทเ่ี หมาะสม 3. นาข้อมูลศึกษาเบ้ืองต้น ในข้อ 2 คานวณหาค่าเฉล่ียปริมาณการสะสมคาร์บอน และสว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน สมมุติให้มีค่าเฉล่ีย 101.6 ตันคาร์บอน/เฮกแตร์ (tC/ha) และมีส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน 27.1 tC/ha 4. คานวณหาจานวนแปลงทเ่ี หมาะสม ดังสมการ ----------------------(1) Where : E = allowable error or the desired half-width of the confidence interval. Calculated by multiplying the mean carbon stock by the desired precision (that is, mean carbon stock x 0.1, for 10 percent precision, or 0.2 for 20 percent precision), t = the sample statistic from the t-distribution for the 95 percent confidence level. t is usually set at 2 as sample size is unknown at this stage, Nh = number of sampling units for stratum h (= area of stratum in hectares or area of the plot in hectares), n = number of sampling units in the population (n = Nh ) Sh = standard deviation of stratum h. 8

5. จากสมการตามข้อ 4. จัดรูปสมการใหเ้ ข้าใจง่ายขึน้ ดังน้ี - แบบกลมุ่ เดยี วทใ่ี ชก้ บั Systematic Sampling n = (N x s)2 ----------------------(2) N2 x E2 + N x s2 t2 - แบบแบ่งเปน็ กลุม่ 3 กลมุ่ ท่ีใชก้ ับ Stratified Sampling n = ((N1 x s1) + (N2 x s2) + (N3 x s3))2 ----------------------(3) N2 x E2 + N1 x s12 + N2 x s22+ N3 x s32 t2 6. เมื่อกาหนดข้อมูลท่ีจะใช้ในการคานวณดังนี้ (a.) มีพื้นที่ท้ังหมด 5,000 ha (b.) ขนาด ของแปลงตัวอย่าง 0.08 ha (c.) มีปริมาณคาร์บอนเฉลี่ย 101.6 tC/ha (d.) มีส่วนเบ่ียงเบน มาตรฐาน 27.1 tC/ha (e.) หาคา่ N โดยคานวณจาก พ้นื ท่ที ้ังหมดหารดว้ ยขนาดของแปลงตัวอย่าง (f.) กาหนดให้มีค่าคลาดเคลื่อนได้ 10 % คือมีค่าเป็น 0.1 (g.) คานวณหาค่า E จากข้อมูลปริมาณ คาร์บอนเฉล่ียคูณกบั 0.1 และ (h.) ค่า t-distribution ความเชือ่ มั่นท่ี 95 % ให้มีคา่ เปน็ 2 แลว้ นาขอ้ มลู ที่ได้เหลา่ นน้ี ามาคานวณกบั สมการ (2) พบว่าจะมจี านวนแปลงที่เหมาะสม จานวน 29 แปลง ดังน้ี Area = 5,000 ha ---------(a.) ---------(b.) Plot size = 0.08 ha ---------(c.) ---------(d.) Mean stock = 101.6 tC/ha ---------(e.) ---------(f.) Standard deviation = 27.1 tC/ha ---------(g.) ---------(h.) N = 5,000/0.08 = 62,500 Desired precision = 10 % E = 101.6 x 0.1 = 10.16 t =2 n = (62,500 x 27.1)2 = 28.35 = 29 Plots -----------(2) 62,5002 x 10.162 + 62,500 x 27.12 22 7. จากข้อมูลในข้อ 6. เม่ือมีการแบ่งพื้นท่ีออกเป็น 3 กลุ่ม (3 Strata) โดยกาหนดให้ กลุ่มที่ 1 2 และ 3 มีพ้ืนที่ 3,400 900 และ 700 ha ตามลาดับ มีปริมาณคาร์บอนเฉล่ีย 126.6 76.0 และ 102.2 tC/ha ตามลาดับ และมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 26.2 14.0 และ 8.2 tC/ha ตามลาดับ เม่ือนามาคานวณหาจานวนของแปลงตัวอย่าง ตามสมการ (3) พบว่ามีจานวนแปลง ตวั อยา่ ง 18 แปลง ข้อมลู แสดงในตารางที่ 1 9

ตารางที่ 1 ข้อมูลตัวอย่างที่ใช้ในการคานวณหาจานวนแปลงท่ีเหมาะสม ของพ้ืนท่ีท่ีมีการ แบ่งกลุม่ หมไู่ ม้ออกเป็น 3 กลุ่ม List Stratum 1 Stratum 2 Stratum 3 Total Area (ha) 3,400 900 700 5,000 Plot size (ha) 0.08 0.08 0.08 0.08 Mean carbon density (tC/ha) 126.6 76.0 102.2 101.6 Standard deviation (tC/ha) 26.2 14.0 8.2 27.1 N 3,400/0.08 900/0.08 700/0.08 5000/0.08 =42,500 =11,250 =8,8750 =62,500 Desired precision (%) 10 E 101.6 x 0.1 =10.16 ทมี่ า : Pearson et al. (2005) นาคา่ จากตารางท่ี 1 มาคานวณในสมการท่ี 3 n = ((42,500 x 26.2) + (11,250 x 14.0) + (8,750 x 8.2))2 62,5002 x 10.162 + (42,500 x 26.22) + (11,250 x 14.02) + (8,750 x 8.22) 22 = 18 Plots 8. สามารถหาจานวนแปลงของแต่ละกลมุ่ ตามสมการดงั นี้ ----------------------(4) Where : n = the total number of plots, nNh = the number of plots in stratum h, = the number of sampling units in the population, NS h = the number of sampling units in stratum h, = the standard deviation, Sh = the standard deviation in stratum h. 10

Stratum 1 nh = (42,500 x 26.2) x 18 (42,500 x 26.2) + (11,250 x 14) + (8,750 x 8.2) = 15 plots Stratum 2 nh = (11,250 x 14) x 18 (42,500 x 26.2) + (11,250 x 14) + (8,750 x 8.2) = 2 Plots Stratum 3 nh = (8,750 x 8.2) x 18 (42,500 x 26.2) + (11,250 x 14) + (8,750 x 8.2) = 1 Plots จากวิธีการคานวณจานวนแปลงที่เหมาะสมดังกล่าวข้างต้น จาเป็นต้องทราบข้อมูล ปริมาณคารบ์ อนเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานจากบริเวณพ้ืนที่เป้าหมายเสียก่อน ดังนั้นในทาง ปฏิบตั อิ าจตอ้ งมีการวางแปลงเม่ือเกบ็ ขอ้ มลู แล้วนาข้อมูลนั้นมาคานวณเป็นระยะๆ ว่ามีจานวนของ แปลงตัวอย่างเพียงพอและเหมาะสมหรือไม่ แต่อย่างไรก็ตามการเก็บข้อมูลต้นไม้ในแปลง ถ้ามีข้อผิดพลาดมากทาให้ได้ข้อมูลท่ีมีความคลาดเคลื่อนสูงถึงจะมีแปลงตัวอย่างจานวนมากก็ไม่มี ประโยชนแ์ ละไม่น่าเชือ่ ถอื อยูด่ ี การวางแปลงแบบ Stratified Sampling ร่วมกับแปลงสี่เหล่ียมจัตุรัสนี้สามารถพัฒนา เข้าสู่ระบบ Remote Sensing เพ่ือคานวณหาปริมาณ Carbon Stock แบบ Regression Analysis รูปแบบต่างๆ เพ่ือนาไปใช้ประเมิน Carbon Stock ในพ้ืนท่ีป่าไม้ที่มีพื้นท่ีขนาดใหญ่อย่างได้ผลดี และมีความนา่ เชอ่ื ถืออกี ด้วย 11

เทคนิคการวางแปลงตัวอย่างถาวร ความเป็นมา ในอดีตการวางแปลงตัวอย่างถาวรที่มีขนาดใหญ่มักนิยมใช้กล้องรังวัดในการทาแปลง แต่ก็ติดปัญหาทางด้านอุปกรณ์ท่ีมีราคาค่อนข้างแพง และคนใช้กล้องไม่ค่อยมีทักษะมากนัก ส่งผลให้แปลงตัวอย่างถาวรท่ีได้มีความคลาดเคล่ือนค่อนข้างสูง ไม่สามารถทาระยะของแปลงย่อย หรอื แนวขอบแปลงได้ถูกต้องตามระยะจริง อันสืบเน่ืองมาจากการย้ายจุดท่ีต้ังกล้องบ่อยคร้ังเกินไป หรือมีต้นไม้บังแนว รวมถึงการวัดระยะ การทาระดับ การกาหนดแนว ท่ีขาดความชานาญและ ประสบการณ์ เป็นต้น ทาให้ต้องเสียเวลามากในการซ่อมแซมแนวแปลงภายหลังจากการใช้กล้อง ดังกล่าว พบว่านักวิจัยหลายท่านจะประสบปัญหาเช่นว่าน้ี ส่วนการใช้เข็มทิศในการวางแปลง ก็สามารถทาได้แต่ไม่ขอแนะนา เน่ืองจากมีโอกาสที่แปลงตัวอย่างจะเป็นรูปส่ีเหล่ียมขนมเปียกปูน มากกว่าจะเป็นสี่เหล่ียมจัตุรัส ดังน้ันการวางแปลงตัวอย่างโดยใช้หลักการ “การออกฉาก” โดยใช้ ระยะ 3 4 และ 5 m เป็นตัวกาหนด สามารถวางแปลงตัวอย่างได้เป็นอย่างดีทั้งประหยัด งบประมาณและมีความแม่นยาสูงเม่ือคนวางแปลงมีความเข้าใจเก่ียวกับหลักเกณฑ์พื้นฐานของ 1) เสน้ ฐาน (Base line) 2) แนว 3) ระยะ และ 4) ระดบั ทฤษฎีบทพีทาโกรัส พีทาโกรัส (Pythagoras) เป็นชาวกรีก มีชีวิตอยู่ในช่วง 570 – 495 ปี ก่อน ค.ศ. หรือ ประมาณ 2,500 กว่าปีมาแล้ว ได้ช่ือว่าเป็น “บิดาแห่งตัวเลข” เป็นนักคณิตศาสตร์และนักปราชญ์ เป็นท่ีรู้จักในนามเจ้าของทฤษฎีบทพีทาโกรัส ท่ีกล่าวว่า “ในรูปสามเหล่ียมมุมฉากใดๆ กาลังสอง ของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบ มุมฉาก” (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2563 ก.) ทฤษฎีบทดังกล่าวสามารถเขียนเป็นสมการดังแสดง ในภาพที่ 5 เมื่อนามาประยุกต์ใช้สาหรับการวางแปลงตัวอย่างเพื่อการออกฉากโดยกาหนดให้ แต่ละดา้ นมคี วามยาวเปน็ 3 4 และ 5 m ซึ่งมักเรียกส้ันๆ วา่ “ออกฉาก 3 4 5” b2 a2 + b2 = c2 4m a2 3 m ภาพที่ 5 รูปแบบสมการของทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการประยุกต์ใช้โดยการกาหนด ระยะเพ่อื การออกฉากในการวางแปลงตวั อยา่ งถาวร 12

อุปกรณ์ท่ใี ชใ้ นการวางแปลงตวั อย่างถาวร ในการวางแปลงตัวอย่างถาวร จาเป็นต้องเตรียมอุปกรณ์ให้ครบถ้วน ก่อนเข้าไป ปฏบิ ัตงิ านในพน้ื ท่ีเพือ่ ใหก้ ารทางานเป็นไปอยา่ งรวดเร็วและประหยัดเวลา อุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้ และมีวตั ถปุ ระสงคข์ องการนาไปใช้ได้ระบุไว้ในตารางท่ี 2 อุปกรณ์ดังกล่าวสามารถปรับเปล่ียนเพิ่ม จานวนหรอื ประเภทได้ตามความเหมาะสมในแตล่ ะพ้นื ท่ี แต่ไม่ควรมนี ้อยกว่าในตารางทกี่ าหนด ตารางท่ี 2 รายการอปุ กรณท์ ีม่ คี วามจาเปน็ ตอ้ งใช้ในการวางแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 ตอ่ หน่งึ ชุดการทางาน อนั ดับ รายการ จานวน วัตถปุ ระสงค์ 1 เทปวดั ระยะ 50 หรือ 60 m 2 เสน้ ใชส้ าหรบั การวดั ระยะทาง 2 เหล็กเส้น 3 หุน เต็ม ยาว 1 m 25 เสน้ ใช้สาหรับตอกหมุดทาแนวแปลง แบ่งแปลงย่อย ขนาด 10X10 m2 จานวน 16 แปลงยอ่ ย 3 ค้อนปอนด์ 1 อนั ใช้สาหรบั ตอกเหลก็ เส้น 4 เชือกฟางม้วนใหญ่ แบบ 1 kg/ม้วน 2 เส้น ใช้ขึงแนวแปลงใหญ่และแปลงย่อยมีระยะความยาว เสน้ เชอื กเม่อื คลีแ่ ผ่ออกกว้าง 3 น้วิ รวมกันประมาณ 500 m ใช้ตอกกับต้นไม้เพ่ือผูกเชือกฟางและใช้เล็งแนวเม่ือ 5 ตะปูขนาด 3-4 นิว้ 20 ตัว ถูกต้นไม้บัง (ในกรณีเป็นลานหินให้ใช้ตะปูตอก คอนกรตี 3 - 4 นว้ิ แทน) 6 เหล็กกล่องขนาด 2X2 cm ยาว 6 m 1 เส้น ใช้ทาเป็น Pole สาหรับวางแนวในการเล็ง 3 หลัก (ตดั ขนาด 2 m ได้ 3 เสน้ ) ใช้ทาระดับความสูงของพ้ืนที่ และทอยระยะเมื่อ พน้ื ทม่ี คี วามลาดชันสูง 7 ระดับน้าช่างไม้ (แบบมีแม่เหล็ก) ขนาด 3 อัน ใช้ตดิ กบั เหลก็ กล่องเพื่อวัดระดับน้าในการเล็ง 3 หลัก ยาว 62 cm กว้าง 5 cm และหนา 2 cm ช่วยในการทอยระยะทาง 8 Clinometer 1 อนั เพอ่ื ทาระดบั ความสูงของพ้นื ที่ 9 เข็มทศิ 1 เครือ่ ง เพ่ือกาหนดทศิ ทางของแปลง 10 GPS 1 เคร่ือง เพอื่ จับตาแหน่งพิกัดของแปลง และระดับความสงู 11 มีดใช้ถางปา่ ส่วนใหญจ่ ะใช้มีดขอ 4 เลม่ ใช้สาหรับถางแนวในการวางแปลง 12 มดี Cutter 1 อัน ใช้ตดั เชอื กฟางในการขึงแนวแปลงย่อย 13 กรรไกรตัดกิ่งไม้ 1 อัน ใช้สาหรับตดั ก่ิงไม้ขนาดเลก็ ท่คี ้าเชือกฟางขณะขึงแนว 14 ลงั หรือกลอ่ งพลาสตกิ ขนาดใหญ่ 1 อนั สาหรบั ใส่เคร่อื งมือตา่ งๆ 15 ผา้ ปพู ลาสติก ขนาด 6X6 m2 2 ผนื ใช้สาหรับหลบแดด-ฝน 16 ถุงพลาสติกขนาดใหญ่ 2 ใบ ใช้สาหรับใสอ่ ุปกรณต์ ่างๆ เมอื่ เกดิ ฝนตก 13

การวางแปลงตวั อย่างถาวรโดยวิธีการออกฉาก ในการวางแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 ท่ีมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาความเจริญเติบโต และผลผลิต หรือปริมาณการสะสมคาร์บอนของหมู่ไม้ ด้วยวิธีการออกฉากโดยใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัส สามารถดาเนนิ การเป็นขั้นตอนได้ ดังนี้ 1. ทาการตัดเชือกฟางยาวประมาณ 45 m ซ่ึงวัดง่ายๆ โดยใช้มือกาเชือกฟางดึงเชือกฟาง กางสุดแขนสองข้าง นับจานวน 30 คร้ังแล้วตัด (ปกติกางสุดแขน 2 ข้าง จะมีความยาวประมาณ 1.5 m) ทาการเตรียมเชือกฝางจานวน 10 เสน้ เพ่ือใชแ้ ทนเทปวดั ระยะทาง 2. ทาการคัดเลือกพ้ืนที่ตัวแทนโดยสังเกตจากลักษณะการปกคลุมของเรือนยอดของ ต้นไม้ให้หลีกเลี่ยงพื้นท่ีที่เป็นช่องว่างขนาดใหญ่ที่เกิดจากต้นไม้ใหญ่เพ่ิงล้มมาไม่นานและต้นไม้ขึ้น ทดแทนไม่ทัน เนอื่ งจากสภาพแปลงถูกรบกวนและการพัฒนาของหมู่ไม้ยังไม่สมบูรณ์ จึงไม่เหมาะสม กบั การศกึ ษาทางดา้ นนี้ (ยกเว้นมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือศึกษาการพฒั นาของกล้าไม้ภายใต้ช่องว่างเรือนยอด ขนาดใหญ่ก็เลือกวางแปลงแบบน้ีได้) แต่ในกรณี หลังจากวางแปลงและเก็บข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ภายหลังมีตน้ ไมใ้ หญ่เกดิ ล้มตายขึ้นภายในแปลง ก็ควรทาการเก็บข้อมูลอย่างต่อเนื่องต่อไป และจะ สามารถคานวณหาอัตราการตายของหมู่ไม้ได้ (Mortality Rate) ในการคัดเลือกพื้นท่ีเพ่ือใช้เป็น ตัวแทนควรให้มี Buffer Zone รอบๆ แปลง และไม่ควรอยู่ติดริมถนนใหญ่เพราะต้นไม้จะมีขนาด ใหญม่ ากกว่าปกติ ในกรณตี ้องการตัวแทนของพื้นที่เพื่อศึกษาการสะสมคาร์บอน สามารถใช้แผนท่ี จาก Google Earth Pro ประกอบการคดั เลอื กพ้ืนที่ในการวางแปลงจะได้ผลค่อนขา้ งดี 3. ทาการกาหนดแนว Base Line ขึ้นก่อน โดยแนว Base Line น้ี ควรกาหนดให้ขนานกับ แนวเส้น Contour ท่ีมีความลาดชันน้อย ไม่ควรวางแนว Base Line ในพื้นที่ท่ีมีความลาดชันสูงมากๆ จะทาให้การออกฉากทาได้ยากและมีความคลาดเคล่ือนสูง ดังแสดงในภาพท่ี 6 ถ้าพ้ืนที่ศึกษามี ลักษณะนูนเป็นหลังเต่าหรือมีความลาดชันมาก ไม่สามารถหลีกเล่ียงได้ ต้องวางแนว Base Line ดว้ ยความระมดั ระวังให้มแี นวทตี่ รง และการวดั ระยะในแนวระดับทถ่ี กู ต้อง Base Line ท่ดี ไี มค่ วรมี ภาพที่ 6 แสดงการเลือกแนว Base Line ในบริเวณพ้ืนท่ีท่ีมีความ ลาดชันน้อยเพ่ือลดความคลาดเคลื่อน จากการวัดระยะในแนวด่ิง และทาให้ ง่ายต่อการออกฉาก 14

ต้นไม้บังแนวหรืออยู่ชิดกับต้นไม้ใหญ่เกินไป เพราะจะทาให้แนวไม่ตรงเมื่อมีการปรับเปล่ียน แนว และถ้าเป็นไปได้ในการวางแนว Base Line ควรให้อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ หรือ ตะวันออก- ตะวันตก เพราะแปลงท่ีได้จะสามารถใช้ ประโยชน์ร่วมกับแผนที่ภาพถ่ายทางอากาศ หรือดาวเทียมในอนาคต 4. กาหนดจุดของหมุดแรกว่า แนวของ Base Line ควรอย่แู นวใด (ภาพท่ี 7) เมอื่ ได้แนว ของ Base Line แล้ว จึงทาการตอกเหล็กเส้นลง ดินให้ลึกประมาณ 50-70 cm ตามแนวของ Base Line ท่ีกาหนดไว้ นาเชือกฟาง 1 เส้น ผกู กับหมุดเหล็กให้เหลือชายของเชือกประมาณ 1-2 m เพื่อใช้ผูกโยงกับต้นไม้นอกแปลงไม่ให้ หมุดเหล็กเอนไปมาขณะท่ีทาการดึงเชือกฟาง (ภาพที่ 8-1 และ 8-2) ทาการถางแนวของ Base Line ให้เป็นแนวเส้นตรง และทาการตัดต้นไม้ท่ี ออกฉากจากเส้น Base Line ดังกล่าว ปกติจะ กีดขวางทางให้น้อยที่สุด โดยมีความกว้างของ ใช้หลักหมุดเริ่มต้นหรือหมุดส้ินสุดของเส้น แนวประมาณ 50 cm และมีความยาวจนสุด Base Line เป็นหมุดแปลงที่ 0 m (ภาพท่ี 7-2) เชือกฟางท่ีนาไป จากน้ันให้ทาการตอกหมุด เม่ือได้หมุดแปลงที่ 0 m ปลายเหล็กเส้นท่ีโผล่ เหล็กยึดปลายเชือกฟางนั้น ให้เชือกฟางมี พ้นดินประมาณ 30-50 cm จะใช้สวม Pole ลักษณะตึง และเป็นเส้นตรง ปรับเชือกฟางให้ เหลก็ กล่องยาว 2 m ที่ติดระดับน้าเพื่อช่วยในการ ลงพืน้ ดนิ พร้อมกับตรวจสอบและปรับแนวของ วัดระยะและเล็งแนว หลังจากนั้นทาการลาก เชือกฟางที่เป็น Base Line ไม่ให้มี กิ่งไม้ หรือ เทปวัดระยะไปตามแนวเชือกฟาง (ภาพท่ี 8-4) ต้นไม้ท่ีจะค้าเชือกฟางตลอดแนว (ภาพท่ี 8-3) ในกรณีพ้ืนที่มีความลาดชันน้อย ให้ใช้เทปวัด แนวเชือกฟางของเส้น Base Line นี้จะมีความยาว ระยะจาก 0 m ถึง 40 m แล้วแบ่งคนประจา ประมาณ 41-42 m เพ่ือรองรับกรณีท่ีต้องทา จุดทุก 10 m เม่ือดึงเทปวัดระยะให้ตึง จากนั้น การขยับแนวออกฉากไปทางด้านซ้าย-ขวา ตอกหมุดเหล็กพร้อมกัน ถ้าจานวนคนมีน้อยให้ ของแนว Base Line (ภาพท่ี 7-1) ห้ามถอน คนดึงเทปวัดระยะท่ีหมุดแปลงท่ี 0 m คนที่ทา เหล็กเส้นท่ีจุดเร่ิมต้นและจุดสิ้นสุดจนกว่าจะ หน้าท่ีตอกหมุดจะดึงเทปวัดระยะไปตามแนว วางแปลงเสร็จส้ิน เพราะจะทาให้แนวเส้นตรง เชือกฟางแล้วทาการตอกหมุดเหล็กทุก 10 m นนั้ ผดิ พลาดได้ หลังจากได้เสน้ Base Line แล้ว ข้อควรระมัดระวัง ไม่ควรทาการลากเทปวัด ให้เลือกตาแหน่งท่ีเหมาะสมเพื่อกาหนดเป็น ระยะขณะท่ีกาลังถางแนวเพราะจะทาให้เทป หมุดแปลงที่ 0 m เพ่ือใช้เป็นตาแหน่งในการ วัดระยะขาดได้ 15

5. การออกฉาก 3 4 5 แสดงในภาพที่ ให้ Pole ชุดท่ี 2 อยู่กับท่ีห้ามเคลื่อนย้ายหรือ 7-3 และ ภาพที่ 8-5 โดยเริ่มจากเส้น Base line ขยับออกจากแนวจนกวา่ จะเลง็ 3 หลัก เสร็จส้ิน ที่ตาแหน่งหมุดท่ี 0 m วัดระยะ 3 m ไปตามเส้น ส่วน จุดทีส่ อง และ สาม จะหมดหนา้ ที่ ให้เปล่ียน Base line ทาการปักหมุดเหล็กเส้นให้ตั้งตรง ไปถือ Pole ชุดที่ 3 และนาเชือกฟางจากหมุดที่ พรอ้ มกับนาเชือกฟางทีเ่ ตรียมไว้ผูกติดกับหมุดที่ 0 m เดินไปตามแนวของ Pole ชุดที่ 2 ผ่านไปยัง 0 m ให้ติดพื้นดิน แล้วนา Pole ชุดท่ี 1 ติด จุดท่ีห้า ให้สุดเชือกฟางที่นาไป จากนั้นให้หัน ระดับน้าสวมลงบนหมุดที่ 0 m จากนั้นนาเทป หน้ากลับมายัง Pole ชุดท่ี 1 และ 2 เพ่ือทาการ วดั ระยะมาทามุมฉากโดยดึงเทปออกมาความยาว เล็ง 3 หลัก ให้เป็นแนวเส้นตรง โดยดูสัญญาณ 12 m ให้ จุดท่ีหนึ่ง ถือ Pole อยู่หมุดที่ 0 m ขยับ ซ้าย-ขวา จาก Pole ชุดท่ี 1 (ภาพท่ี 8-9) พร้อมจับเทปวัดระยะท่ีเลข 8 m จุดที่สอง อยู่ หรือถ้า Pole ชุดที่ 3 มีความสามารถในการเล็ง ที่หมุดระยะ 3 m จับเทปวัดระยะท่ีเลข 5 m 3 หลัก ก็ให้ทาการขยับซ้าย-ขวา เพ่ือให้เป็นแนว จุดท่ีสาม จับเทปวัดระยะที่เลข 0 m ทับกับเลข เส้นตรงได้เลย เมื่อได้แนวแล้ว ให้ทาการตอก 12 m โดยฉากที่ทานี้จะอยู่สูงจากพ้ืนดิน เหล็กเส้นให้ลึกและดึงเชือกฟางขึงแนวให้ตรง ประมาณ 60-90 cm (ภาพที่ 8-6, 8-7 และ 8-8) แล้วทาการวัดระยะปักเหล็กเส้นทุกระยะ 10 m จุดท่ีส่ี ถือ Pole ชุดที่ 2 พร้อมลากปลายเทป ในกรณีพื้นท่ีมีความลาดชันสูงจาเป็นต้องวัด วัดระยะไปให้ไกลที่สุด หรือไม่น้อยกว่า 12 m ระยะในแนวระดับ โดยใช้ 2 คน ดึงเทปวัดระยะ (หรือเมื่ออ่านจากเทปวัดจะอยู่ที่ 20 m) โดยให้ หัวท้ายตามแนวเชือกฟาง ให้คนที่อยู่ในที่สูงกด หันหน้ามาทาง Pole ชุดท่ี 1 จากน้ันส่งสัญญาณ เทปวัดระยะติดดิน ส่วนคนท่ีอยู่ในท่ีต่าให้ยกเทป ใหท้ ุกด้านดึงเทปวัดระยะให้ตึงพร้อมกัน จุดที่หน่ึง วัดระยะขึ้นโดยใช้ Pole ติดระดับน้าช่วยในการ จะเป็นคนเล็งแนวผ่าน Pole ชุดที่ 1 และเป็นผู้ วัดระยะ (ภาพที่ 8-10) ให้คนท่ี 3 ใช้ระดับน้า บอกแนวให้ จุดท่สี ่ี ขยบั Pole ที่ถอื ไปซ้าย-ขวา วดั ระดบั ของแนวเทปวัดระยะ (ภาพท่ี 8-11) เม่ือ โดยประสานกับ จดุ ท่ีสาม จน จุดที่สี่ ได้แนวฉาก ไดร้ ะยะที่ถกู ต้องทาการตอกเหล็กเส้น (ภาพท่ี 8-12) 16

ภาพท่ี 7 ขั้นตอนการวางแปลงตัวอย่างถาวรภาคสนามขนาดพื้นที่ 40X40 m2 โดยวิธกี ารออกฉาก 17

ภาพท่ี 8 แสดงการปฏบิ ัตงิ านภาคสนามของการวางแปลงตัวอยา่ งถาวร 1) ทาการตอก เหลก็ เสน้ เพื่อผูกเชือกฟางตามแนว Base Line 2) การผูกยึดโยงชายเชือกฟางไม่ให้เหล็กเส้นเอนไปมา 3) ปรับแนวเชือกฟางที่เป็น Base Line ให้เป็นแนวเส้นตรง 4) ใช้เทปวัดระยะ หมายหมุดทุก 10 m 5) การออกฉากแบบ 3 4 5 เมตร 6) Pole อยู่ตาแหน่งที่ 0 m พร้อมจับเทปวัดระยะท่ีเลข 8 m 7) หมุดที่ระยะ 3 m จับเทปวัดระยะที่เลข 5 m 8) เทปวัดระยะที่เลข 0 m ทับกับเลข 12 m 9) การเล็ง 3 หลัก 10) พ้ืนทีท่ ม่ี คี วามลาดชนั สูงการวัดระยะต้องอยู่ในแนวระดับ 11) การจับระดับ ของเทปวัดระยะ 12) เมือ่ ได้ระยะท่ีถกู ต้องทาการตอกเหล็กเส้น 13) เมื่อการวางแปลงเสร็จสิ้นควร ใหม้ ีเหลก็ เส้นโผล่พ้นพ้นื ดนิ 30-50 cm และปรบั เชอื กฟางใหต้ ิดดนิ เพ่ือใช้ในการตรวจสอบและทาระดบั 14) กรณหี มุดลงบนก้อนหนิ จะใช้สที า และ 15) แนวของเชือกฟางตดิ ต้นไม้จะใช้ตะปตู อกเพ่ือทาแนว 18

6. ทาการออกฉากคร้ังที่ 2 ท่ีตาแหน่ง 40 m ของเส้น Base Line โดยใช้วิธีเดียวกันกับ ขอ้ 5. ไมค่ วรออกฉากต่อจากปลายจุดท่ีออกฉากคร้ังแรก เพราะมีความคลาดเคลื่อนค่อนข้างสูง (ภาพท่ี 7-4) ในกรณีพ้นื ท่มี สี ภาพโล่งและเป็นที่ราบ เชน่ สนามฟตุ บอล การออกฉากสามารถเล็งไป ไกลถงึ จุดท่ีหา้ ได้เลย ไม่ต้องมี จดุ ท่ีสี่ 7. หลังจากทาการออกฉากจาก Base Line เสร็จส้ินแล้วท้ัง 2 แนว ให้ทาการปิดฉาก ทัง้ สอง ทีต่ าแหน่ง 40 m ตามภาพท่ี 7-5 พร้อมกบั วดั ระยะและทาการปรบั แกห้ มุดเหล็กเสน้ ให้ถูกตอ้ ง ระยะของการปิดฉากดังกล่าวควรได้ 40 m ถ้ามีระยะคลาดเคล่ือนประมาณ ± 70 cm สามารถปรับ แนวออกฉากจากด้านใดด้านหนึ่งเข้าหาแนวปิดฉากได้เลย แต่ถ้ามีระยะมากหรือน้อยกว่าน้ีจาเป็นต้อง ทาการปรับแก้แนวที่ออกฉากใหม่ซึ่งอาจจะแคบหรือบานออกจากแนวฉากเดิมได้ ภายหลังจากดึง เชือกฟางครบท้ัง 4 ดา้ น จะเหน็ ด้วยสายตาวา่ มมุ ของเชอื กฟางเปน็ รูปสเ่ี หลยี่ มจตั ุรัส (ภาพที่ 8-13) 8. หลังจากได้กรอบของขอบแปลงทั้งส่ีด้าน ให้ทาการแบ่งเป็นแปลงย่อย โดยขั้นตอน แรกต้องแบง่ ก่ึงกลางแปลงตรงตาแหนง่ ระยะ 20 m ท้ังแนวตั้งและแนวนอน ดังแสดงในภาพที่ 7-6 ทาการปรับแกร้ ะยะทางและแนวของเส้นแบ่งนี้ให้ถูกต้องโดยสามารถปรับหมุดและระยะของเส้นที่ ออกฉากทั้ง 2 เส้น และเส้นที่ทาการปิดฉาก 1 เส้น แต่ห้ามทากับเส้น Base Line อย่างเด็ดขาด เพราะจะทาให้การปรับแก้ผิดต่อเน่ืองกันไปเรื่อยๆ งานจะไม่เสร็จ เมื่อทาเสร็จแล้วสามารถถอน เหลก็ เสน้ ท่ใี ชเ้ ปน็ เส้น Base Line ท่อี ย่นู อกแปลงนาไปใช้เป็นหมดุ ภายในแปลงต่อไป 9. ใช้เชือกฟางผูกหมุดเหล็กเส้น จากขอบแปลงด้านหน่ึงไปสู่ขอบแปลงอีกด้านหน่ึง เพื่อแบ่งเปน็ แปลงย่อย ขนาด 10X10 m2 ทาการตอกเหล็กเส้นในบริเวณจดุ ตดั ของเชือกฟางทกุ 10 m ซ่ึงขั้นตอนน้ีสามารถทาได้รวดเร็วขึ้นมาก ถ้าทาในข้อ 4. ถึง ข้อ 7. ได้ถูกต้อง (ภาพที่ 7-7) บางกรณี แนวเชอื กฟางทแี่ บ่งแปลงย่อยไม่สามารถใช้หมุดเหล็กได้ เนื่องจากติดก้อนหินหรือต้นไม้ขนาดใหญ่ จาเปน็ ต้องใช้สหี รอื ตะปูชว่ ยในการหมายจดุ (ภาพท่ี 8-14 และ 8-15) 10. หลังจากแบ่งแปลงย่อยสาเร็จ ให้ทาการกาหนดจุดมุมแปลงที่จะทาการเก็บข้อมูล ตน้ ไมเ้ ป็นแถว (Row, R) และสดมภ์ (Column, C) จดุ มุมแปลงน้ีควรเป็นตาแหน่งต้นแปลงที่เข้าถึง ไดง้ ่ายโดยไม่ต้องเดินผ่านกลางแปลงตัวอย่างเข้าไป ไม่จาเป็นต้องเป็นจุดที่ทาการออกฉากจากเส้น Base Line จะเลือกมุมแปลงใดก็ได้ตามความสะดวก โดยกาหนดจุดมุมแปลงให้อยู่ด้านซ้ายมือ นับเปน็ สดมภ์ท่ี 1 ส่วนสดมภ์ท่ี 2 จะอยู่ถัดไปทางด้านขวามือ เมื่อหันหน้าเข้าหาแปลง ดังแสดงใน ภาพที่ 7-8 การเก็บข้อมลู ตน้ ไมจ้ ะเก็บขึน้ ตามแนวสดมภ์โดยเดนิ ไปข้างหน้าจากต้นท่ี 1 ที่อยู่ใน C1 R1 ต่อไปเป็น C1 R2, C1 R3 และ C1 R4 ตามลาดับ เม่ือสุดแปลง ให้เก็บข้อมูลต่อเน่ืองในสดมภ์ที่ 2 โดยหันหน้าไล่ลงมาที่ C2 R4, C2 R3, C2 R2 และ C2 R1 ตามลาดับ ในสดมภ์ท่ี 3 ไล่ข้ึน และ สดมภ์ท่ี 4 ไล่ลง โดยต้นไม้ต้นสุดท้ายจะอยู่ในแปลง C4 R1 การเก็บข้อมูลแบบนี้ไม่ต้องเสียเวลา เดนิ กลบั ลงมาเพ่ือวัดสดมภ์ต่อไป และใช้เป็นจุดสังเกตทิศทางและสดมภ์ของแปลง โดยเบอร์ต้นไม้ ทอ่ี ยูใ่ นสดมภเ์ ดียวกนั จะหันหน้าไปทางเดยี วกัน 19

การทาระดับความสูงของพ้นื ท่ี หลังจากการวางแปลงตัวอย่างถาวรและแบ่งแปลงย่อยสาเร็จครบถ้วนแล้ว เมื่อจะทา ระดับความสูงของพื้นท่ี จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์ดังน้ี 1) เคร่ืองวัดมุมเอียง (Clinometer) จานวน 1 อัน 2) Pole เหล็กกล่อง 2 อัน 3) ระดับน้า 2 อัน 4) เข็มทิศ 1 เคร่ือง 5) GPS 1 เครื่อง และ 6) กระดาษจดขอ้ มลู ภาคสนาม 1 ชุด เคร่ืองวดั มุมเอียง (Clinometer) อย่างง่าย สามารถทาเองได้และมีคุณภาพค่อนข้างดี โดยใช้จานองศาแบบครึ่งวงกลม ติดต้ังบน โครงจับที่เปน็ ไม้หรือแผ่นโลหะก็ได้ โดยให้มีส่วนโค้งรองรับกับจานองศา มีด้ามจับกว้าง 2 cm ยาว 12 cm พร้อมติดตั้งลากล้องเล็งท่ีทาด้วยท่อพลาสติกบนรางไม้เซาะร่อง ทาการติดตั้งช่องเล็ง ตาแหนง่ ด้านซา้ ยมือ และทีห่ มายตาแหน่งดา้ นขวามือของจานองศา จากนั้นทาการเจาะรูบนรางไม้ จานองศา และโครงจับ ให้อยู่ในตาแหน่งเดียวกัน โดยใช้แนวก่ึงกลางของจานองศาเป็นจุดอ้างอิง ทาการขีดเส้นตรงแนวด่ิงต้ังฉากกับจานองศาที่โครงจับ พร้อมขันน็อตยึดรางไม้กับจานองศาและ โครงจับที่เตรียมไว้ ดงั แสดงในภาพท่ี 9 ภาพท่ี 9 การทาเครือ่ งวัดมุมเอยี งอยา่ งง่ายโดยอาศัยการเคล่ือนที่ของลากล้องเล็งข้ึนลง เพื่ออ่านมุม เมื่อลากล้องเล็งอยู่ในแนวระดับ เส้นตรงแนวดิ่งท่ีโครงจับจะอ่านค่าได้ 90 องศา เมื่อ เป็นมมุ เงย ค่าองศาที่จานวงนอกสุดจะมีค่ามากกว่า 90 องศา และเม่ือเป็นมุมก้ม ค่าองศาท่ีจานวง นอกสุดจะมีค่าน้อยกว่า 90 องศา 20

ขั้นตอนการทาระดบั ความสงู ของพน้ื ที่ 1. จากแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 เม่ือแบ่งเป็นแปลงย่อยขนาด 10X10 m2 จะมหี มุดเหล็กที่ปักลงมุมแปลงย่อยจานวนท้ังหมด 25 จุด เพ่ือกันความสับสนและให้การทาระดับ มีความรวดเร็ว มีความคลาดเคล่ือนน้อย จึงกาหนดหมายเลขประจาหมุดขึ้นในตารางบันทึกข้อมูล การวัดระดบั ความสูงดว้ ยเครือ่ งวดั มุมเอยี งอยา่ งงา่ ย ดงั แสดงในตารางท่ี 3 2. เม่อื ยืนท่หี มุดเหลก็ ท่ี 1 หันหนา้ เขา้ แปลงจะเห็นแนวหมดุ เหลก็ ของขอบแปลงเป็นแนว เส้นตรง ต้นไม้ทางซ้ายมือจะอยู่นอกแปลง ส่วนต้นไม้ท่ีอยู่ทางขวามือจะเป็นต้นไม้ท่ีอยู่ในแปลง ทาการวัดทิศทางของแปลงว่าทามุมกับทิศเหนือกี่องศาให้ดูจากเข็มทิศ โดยหันส่วนบนด้านฝาปิด ของเข็มทิศชี้ไปตามแนวเชือกขอบแปลง ดังแสดงในภาพที่ 10-1 พร้อมกับลงตาแหน่งทิศเหนือของ แปลง ในตารางบันทึกขอ้ มลู (ตารางที่ 3) 3. ใช้ Pole จานวน 2 อัน ในการทาระดับ ให้นาด้ามจับของเคร่ืองวัดมุมเอียงไปทาบกับ Pole โดยกาหนดความสูงของลากล้องเล็งให้เหมาะสมตามความสูงของผู้เล็ง ไม่ควรต่าหรือสูง เกินไปจะทาให้ใช้งานลาบากในสภาพพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง เม่ือได้ตาแหน่งท่ีเหมาะสมให้ใช้เทป กาวพันด้ามจับติดกับ Pole ให้ลากล้องเล็งอยู่ในแนวระดับ นา Pole อีก 1 อัน มาวัดเทียบเพื่อ หมายตาแหน่งความสูงให้เท่ากับลากล้องเล็งด้วยปากกาเคมี แล้วติดเทปกาวสี หรือใช้ระดับน้าติด กับ Pole ตรงตาแหน่งท่ีหมาย เพ่ือจะได้เห็นชดั ในระยะไกล ดังแสดงในภาพท่ี 10-2 โดย Pole ท่ี ติดเคร่ืองวัดมุมเอียงเรียกวา่ Pole สอ่ ง สว่ น Pole ท่ีหมายตาแหนง่ ไว้เรยี กว่า Pole เป้า 21

22 ตารางท่ี 3 ตารางบันทึกข้อมูลการวัดระดับความสูงด้วยเครื่องวัดมุมเอียงอย่างง่าย แสดงตาแหน่งของหมุดที่ทาการวัด ระดับความสูง จะมีเลขประจาหมุด 2 ค่า โดยค่าแรกเป็นตาแหน่งของ Pole ส่อง ส่วนค่าท่ีสองเป็นตาแหน่ง ของ Pole เปา้

4. ในการทาระดับพ้ืนท่ีจะนา Pole คือ 1) กลุ่มวัดหมุดในแปลง และ 2) กลุ่มวัด ส่อง สวมลงตรงหมุดเหล็กที่ 1 พร้อมจับระดับ หมุดดา้ นฐานของแปลง จะทากลุ่มไหนก่อนก็ได้ น้าให้ Pole ต้ังตรง ดังแสดงในภาพท่ี 10-3 โดยกลุ่มวัดหมุดในแปลงจะเร่ิมจาก หมุดที่ 1 ส่วน Pole เป้า จะไปสวมลงตรงหมุดเหล็กที่ 2 ไปหมุดท่ี 2 (1-2) แล้วย้ายตาแหน่งไป 2-3 พร้อมจับระดับน้าให้ Pole ตั้งตรง จากน้ัน ต่อไป 3-4 และ 4-5 เสร็จแล้ว ให้เดินย้อนกลับ Pole ส่อง จะเล็งไปที่ Pole เป้า (ภาพท่ี 10-4) มายังตาแหน่ง 6-7 ต่อไป 7-8 จนสุดแปลง ทา ทาการบันทึกค่าองศาท่ีได้ เม่ือเสร็จคร้ังท่ี 1 แบบน้ีจนครบหมด หา้ มทาระดบั แบบย้อนกลับ ให้ปัดเคร่ืองวัดมุมข้ึนลงแล้วเล็งอ่านค่าใหม่เป็น มาต้นแปลงเหมือนการวัดต้นไม้เพราะจะทา คร้งั ที่ 2 และครั้งท่ี 3 (ไม่ควรอ่านค่าต่อเนื่องกัน ให้ระดับผิดพลาดได้ ในกลุ่มวัดหมุดด้านฐาน 3 ครั้ง โดยไม่มีการปัดจานองศา เพราะจะมี ของแปลง จะเร่มิ จากหมุดที่ 1-6 6-11 11-16 ความคลาดเคลื่อนสูง) ในตารางบันทึกข้อมูล และ 16-21 ตามลาดับ เม่ือเก็บข้อมูลระดับ หมดุ ท่ีทาระดับ จะมีตวั เลข 2 ตัว โดยตัวแรกจะ ความสูงครบทุกจุดเป็นที่เรียบร้อยแล้ว ให้ทา เป็นตาแหน่งของ Pole ส่อง ตัวที่สองเป็น การบันทึกตาแหน่งพิกัด UTM และระดับความ ตาแหน่งของ Pole เป้า โดยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม สูงท่ี หมุด 1 5 21 และ 25 ตามลาดบั ภาพที่ 10 การทาระดับพื้นที่ในแปลงตัวอย่างถาวร 1) การวัดทิศทางของแปลงท่ีทามุมกับทิศเหนือโดยเข็มทิศ 2) การเตรียมอุปกรณ์ท่ี Pole ส่อง และการหมายตาแหน่งที่ Pole เป้า 3) Pole ส่อง เข้าประจาตาแหน่งหมุดท่ี 1 ร่วมกับ การใช้ระดับน้า และ 4) Pole ส่อง ทาการเล็งตาแหน่งท่ี หมายไว้ที่ Pole เป้า ของหมุดที่ 2 5. ตัวอย่างของการบันทกึ ข้อมลู การวดั ระดับความสูงด้วยเคร่ืองวดั มมุ อย่างง่าย การกาหนด ทิศเหนือของแปลง การบันทึกข้อมูลพิกัดและระดับความสูงของแปลงตัวอย่างถาวร ในพ้ืนที่ เขตรักษาพันธส์ุ ตั ว์ป่าเขาบรรทัด อาเภอตะโหมด จังหวัดพทั ลงุ ดังแสดงตารางที่ 4 23

24 ตารางท่ี 4 ตัวอยา่ งการบนั ทึกข้อมลู การวดั ระดบั ความสูงด้วยเครื่องวัดมุมเอียงอย่างง่าย ของป่าดิบช้ืน ในพื้นท่ีเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ปา่ เขาบรรทัด อาเภอตะโหมด จังหวัดพทั ลงุ

ขั้นตอนการคานวณระดับความสงู ของพนื้ ที่ ในการคานวณระดับความสูงของพ้ืนที่จากเครื่องวัดมุมเอียงอย่างง่าย จะทาการผูกสูตร สมการในการคานวณ โดยใชโ้ ปรแกรม Excel ดงั แสดงในตารางท่ี 5 โดยมขี ้นั ตอนในการคานวณ ดังนี้ ตารางท่ี 5 แสดงการคานวณระดบั ความสูงจากเครื่องวดั มมุ เอียงอย่างงา่ ย ท่ีทาการผูกสูตรสมการที่ใช้ ในการคานวณ ด้วยโปรแกรม Excel กอ่ นการลงข้อมลู การวัดมุมจากภาคสนาม 1. “มุมเฉล่ีย” เป็นการคานวณค่าเฉล่ียของมุมท่ีเก็บจากภาคสนามจานวน 3 ครั้ง โดยใช้ Function Average ในบรรทัดท่ี 1-4 ของตารางเป็นส่วนของข้อมูล “วัดหมุดด้านฐานของแปลง” และบรรทดั ท่ี 5-20 ของตารางเป็นส่วนของข้อมูล “วัดหมุดในแปลง” ท่ีแสดงตารางที่ 4 โดยสามารถ คดั ลอกขอ้ มูลจากตารางนี้ ลงในตารางท่ี 5 ไดเ้ ลย 25

2. “มุมจริง” เป็นการคานวณโดยนาค่า “มุมเฉลี่ย” ลบด้วย 90 เนื่องจากเคร่ืองวัดมุม เอียงอย่างงา่ ย คร่งึ วงกลมท่ีใช้จะมีความสัมพันธ์กับช่องส่องเล็งตาแหน่ง ตามภาพท่ี 9 เม่ือช่องส่อง อย่ทู างดา้ นซ้ายมือของครึ่งวงกลม ในพ้ืนท่ีเป็นท่ีราบลากล้องเล็งจะอยู่ในแนวระดับและอ่านค่าได้ 90 องศา แต่เมอ่ื Pole เล็งอยใู่ นพน้ื ที่ต่า และ Pole เป้า อยู่ในพน้ื ที่สูง ลากล้องเล็งจะมีสภาพเอียง ข้ึนจานองศาด้านนอกก็จะอ่านค่าได้มากกว่า 90 องศา (ภาพท่ี 11) เมื่ออ่านค่าได้ 113 องศา จะ เปน็ มุมจริง = 113 - 90 = 23 องศา เป็นต้น ทานองเดียวกันเม่ือ Pole เป้า ไปอยู่ในพื้นท่ีท่ีต่ากว่า Pole เล็ง ลากล้องเล็งจะมีสภาพเอียงลงจานองศาด้านนอกก็จะอ่านค่าได้น้อยกว่า 90 องศา เม่ือ อ่านค่าได้ 87 องศาจะเป็นมุมจริง = 87 - 90 = -3 องศา เป็นต้น ในการคานวณใน Excel จะใช้ ชุดคาส่ัง ดังนี้ “= มุมเฉล่ีย - 90” ข้อควรระวัง แต่ถ้าช่องเล็งตาแหน่งอยู่ทางขวามือของครึ่งวงกลม ค่ามุมท่ีอ่านจะตรงข้ามกัน คือ Pole เป้า อยู่บนท่ีสูงจะอ่านค่าได้น้อยกว่า 90 องศา และ Pole เป้า อยู่ในท่ีต่าจะอ่านค่าได้มากกว่ากว่า 90 องศา ชุดคาส่ังต้องเป็น “= 90 - มุมเฉลี่ย” จึง จาเปน็ ต้องระมดั ระวงั ในการอ่านค่ามมุ เสมอ ภาพที่ 11 การใช้เครื่องอ่าน มุมจาก Pole เล็ง ไปยัง Pole เป้า ท่ี อยู่สูงกว่าโดยมีระยะห่างระหว่างหมุด ในแนวระนาบ 10 m เมื่อช่องเล็งอยู่ ทางดา้ นซ้ายมือของจานองศาครงึ่ วงกลม ค่าทีอ่ ่านได้จะตอ้ งมากกว่า 90 องศา 3. “มุมเรเดียน” คือหน่วยวัดมุมทางคณิตศาสตร์ เป็นหน่วยวัดมุมชนิดหนึ่งบนระนาบ สองมิติ ใชส้ ัญลักษณ์ \"rad\" หรืออักษร c ตัวเล็กที่ยกสูงข้ึน (มาจาก circular measure) ซ่ึงไม่เป็น ที่นิยมนกั ตวั อยา่ งเชน่ มุมขนาด 1.2 เรเดียน สามารถเขียนไดเ้ ป็น “1.2 rad” หรือ “1.2 c” และมี คานิยามว่า “หนึ่งเรเดียน คือ ขนาดของมุมที่วัดจากจุดศูนย์กลางของวงกลม ที่กางออกตามส่วน โค้งของวงกลม ซ่ึงส่วนโค้งนั้นมีความยาวเท่ากับรัศมีของวงกลมพอดี” (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2563 ข.) ในทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันตรีโกณมิติมุมท่ีใช้จะเป็นหน่วยของ เรเดียน เพ่ือให้สามารถ แสดงผลลัพธ์ถกู ตอ้ งมากท่ีสุด ในวงกลมหน่ึงหนว่ ย จะมีมุมรอบจดุ ศนู ยก์ ลางเทา่ กบั 2  เรเดียน ดงั น้นั 2  rad = 360O 1 rad = 360O/ 2  = 180O/   57.29577951O 26

ดงั นน้ั คา่ มุม 1 เรเดยี น จะมีค่าประมาณ 57.29577951 องศา หรอื 360O = 2  rad 1O = 2  / 360 rad =  / 180 rad  0.01745329 rad ดังนั้นค่ามุม 1 องศา จะมีค่าประมาณ 0.01745329 เรเดียน เม่ือต้องการคานวณค่ามุม เรเดียนจากคา่ ของมุมจริง สามารถใชส้ มการในการคานวณใน Excel ดังน้ี มมุ เรเดยี น = มมุ จริง *  / 180 4.“ระดับพื้นที่” เป็นการคานวณความสูงของระดับพื้นท่ี โดยใช้หลักการของตรีโกณมิติ ในการคานวณเพ่ือหาคา่ tan ดงั นี้ tan θ = ด้านตรงขา้ มมุม θ / ด้านประชดิ มมุ θ ดา้ นตรงข้ามมุม θ = tan θ * ดา้ นประชดิ มมุ θ โดยท่ี ดา้ นตรงข้ามมุม θ = ระดบั พน้ื ที่ (m) tan θ = tan (มมุ เรเดียน) ด้านประชดิ มุม θ = ระยะหา่ งระหวา่ งหมดุ ในทนี่ ้ีมคี ่า 10 m เมอื่ จดั รูปแบบของสูตรดงั กลา่ วเพอ่ื ใชค้ านวณใน Excel จะมีรูปแบบ ดังนี้ ระดบั พ้ืนท่ี = TAN (มมุ เรเดยี น) * 10 ค่า “ระดับพนื้ ท”ี่ ในแต่ละหมุด เป็นค่าการถ่ายระดับในพื้นที่จากหมุดเริ่มต้นต่อเน่ืองกันไป เมือ่ ระดับพ้นื ทม่ี คี ่าเป็นบวกแสดงวา่ หมุดต่อไปจะอยู่สูงข้ึนจากตาแหน่งหมุดเดิม และถ้าระดับพ้ืนที่ เปน็ ลบ แสดงว่าหมุดตอ่ ไปจะอยูต่ า่ กวา่ ตาแหนง่ หมุดเดมิ 5. “X Y Z” เปน็ คา่ ทจ่ี ะนาไปใชท้ าแผนที่ความลาดชันของพื้นท่ี โดยค่าตาแหน่งพิกัด แนวระนาบ คือค่า X และ Y คือตาแหน่งของหมุดเหล็กของแปลงย่อย 10X10 m2 จากการวาง แปลงตวั อยา่ งถาวร (ตารางที่ 3) เมื่อแปลงทวี่ างถูกตอ้ งและได้มาตรฐาน ทุกหมุดจะมีระยะห่างของ แกน X และ แกน Y เท่ากัน คือ 10 m ส่วนระดับของพื้นที่คือค่า Z ได้จากการถ่ายระดับจากหมุด อ้างอิงคือหมุดที่ 1 ตาแหน่ง X = 0 m และ Y = 0 m ไปยังหมุดด้านฐานของแปลง หมุดที่ 6 ตาแหนง่ 10, 0 m หมุดท่ี 11 ตาแหน่ง 20, 0 m หมุดที่ 16 ตาแหน่ง 30, 0 m และ หมุดท่ี 21 ตาแหน่งท่ี 40, 0 m ตามลาดับ จากน้ันใช้ค่าระดับพื้นท่ีของฐานแปลงดังกล่าวเป็นค่าเริ่มต้นของ การถา่ ยระดับ โดยรวมกบั ค่า“ระดบั พนื้ ที่” ของกลมุ่ วดั หมดุ ในแปลง โดยใช้ Excel ในการคานวณ 27

6. “ระดับความสูง หมุดที่ 1 (m)” เน่ืองจากหมุดอ้างอิง 0 0 0 น่ันคือจุดอ้างอิงภายใน แปลงตัวอย่างของหมุดท่ี 1 เม่ือใช้ GPS จับพิกัด UTM ของหมุดที่ 1 5 21 และ 25 พร้อมกับ บันทึกระดับความสูงเหนือระดับน้าทะเล ดังแสดงในตารางท่ี 4 เมื่อนาข้อมูลของมุมท่ีได้ มาลงใน ตารางที่ 5 และ ใช้ระดับความสูงท่ีหมุดท่ี 1 ซึ่งมีค่า 90 m ระดับความสูงของพ้ืนท่ีจะถูกคานวณ ดังแสดงในตารางท่ี 6 ตารางท่ี 6 แสดงการคานวณระดับความสูงจากเคร่ืองวัดมุมเอียงอย่างง่าย ที่ทาการผูกสูตรสมการ ทใ่ี ช้ในการคานวณ ด้วยโปรแกรม Excel หลังการลงข้อมูลการวดั มุมจากภาคสนาม 28

หลังจากได้ค่า X Y Z แล้ว สามารถนาข้อมูลที่ได้ไปทาภาพ 3 มิติ แสดงระดับความสูง ของพื้นท่ีด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ชนิดต่างๆ เช่น Arc Scene, Q GIS, IDRISI และ Surfer เป็นต้น จากข้อมูลในตารางที่ 6 เมื่อนาค่า X Y Z มาคานวณด้วยโปรแกรม Surfer เพ่ือแสดงสภาพความ ลาดชันของพ้ืนที่ แสดงในภาพท่ี 12 เป็นท่ีน่าสังเกตว่าค่าความสูงที่มุมแปลงของหมุดท่ี 5 21 และ 25 ทีไ่ ด้จาก GPS (ตารางที่ 4) อาจมคี ่าไมส่ อดคลอ้ งกับการถ่ายระดับในแปลง เนื่องมาจากค่า ความคลาดเคล่ือนด้านระดับความสูงของ GPS ท่ัวๆ ไป มีค่าค่อนข้างสูง จึงใช้อ้างอิงท้ัง 4 หมุด พร้อมกันไมไ่ ด้ ในทางปฏบิ ตั ิจงึ ใช้อา้ งองิ ความสงู ของหมดุ ที่ 1 เพยี งหมดุ เดยี วเทา่ น้นั ภาพที่ 12 สภาพระดับความ สูงของพ้ืนท่ีในแปลงตัวอย่างถาวร ขนาด 40X40 m2 จากการใช้ค่า X Y และ Z ของตารางท่ี 6 พ้ืนท่ีป่าดิบช้ืน ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาบรรทัด จงั หวัดพัทลงุ 29

เทคนคิ การเกบ็ ข้อมูลตน้ ไม้ อุปกรณท์ ใ่ี ช้ในการเก็บขอ้ มูลตน้ ไม้ในแปลงตวั อยา่ งถาวร หลังจากการวางแปลงตัวอย่างถาวร คาลิเปอร์ (Caliper) ในการวัดต้นไม้ ที่ระดับสูง และแบ่งแปลงย่อยสาเร็จครบถ้วนแล้ว จึงเร่ิม จากพ้ืนดิน 1.30 เมตร ซึ่งเป็นตาแหน่งที่ ทาการเก็บข้อมูลต้นไม้ ไม่ควรเก็บข้อมูลต้นไม้ สามารถยืนอ่านค่าท่ีวัดได้สะดวกท่ีสุด จึงเป็น ควบคู่ไปกับการวางแปลงเพราะจะมีความ ท่ีมาของ “ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางท่ีความสูง คลาดเคล่ือนของต้นไม้มาก ต้นไม้บางต้นท่ีวัด ระดับอก (Diameter at Brest Hight, DBH)” อาจอยู่นอกแปลง และต้นท่ีไม่ได้วัดกลับมาอยู่ คาลิเปอร์ หรือก้ามปูเป็นเคร่ืองมือวัด สาหรับ ในแปลงได้ เมื่อมีการปรับแนวของขอบแปลงใหม่ ใช้วัดความกว้างระหว่างสองด้านของวัตถุ ทาใหเ้ กดิ ความสับสนในการเก็บข้อมูลครั้งต่อไป คาลิเปอร์สมัยแรกๆ ถูกค้นพบในซากเรือ อุปกรณ์ที่ใช้ในการเก็บข้อมูลต้นไม้บางประเภท กรีกโบราณ ใกล้เกาะจิลิโอ (Giglio) นอกฝ่ัง จ ะ ใ ช้ ร่ ว ม กั บ อุ ป ก ร ณ์ ที่ ใ ช้ ใ น ก า ร ว า ง แ ป ล ง ประเทศอิตาลี ซึ่งมีอายุราว 1 ศตวรรษก่อน ซึ่งอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องใช้และวัตถุประสงค์ของ พุทธศักราช และคาลิเปอร์ท่ีใช้กันอยู่ในปัจจุบัน การนาไปใช้ได้ระบุไว้ในตารางที่ 7 อุปกรณ์ ยังคงใช้หลักการเดิมดังแสดงในภาพท่ี 13-1 ดังกล่าวสามารถปรับเปลี่ยนเพ่ิมจานวนหรือ ต่อมาใน พ.ศ. 2174 นายปีแยร์ แวร์นีเย ประเภทได้ตามความเหมาะสมในแต่ละพื้นท่ี นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศส ได้มีการพัฒนา แตไ่ มค่ วรมีนอ้ ยกว่าในตารางที่กาหนดเพ่ือความ เครอ่ื งมอื วัดความกว้างของวัตถุทเี่ รียกวา่ “เวอร์ สะดวกรวดเร็วในการเก็บขอ้ มลู เนียร์ คาลิเปอร์ (Vernier Caliper)” (วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี, 2563 ค.) เพื่อวัดความกว้าง โดยปกติมิติขนาดความโตของต้นไม้ ของวัตถุท่ีมีขนาดไม่ใหญ่นัก หลักการดังกล่าว จะใชเ้ ปน็ ขนาดเสน้ ผา่ นศนู ย์กลาง () เปน็ หลัก ยงั ใช้กันมาถงึ ทกุ วนั นี้ (ภาพที่ 13-2) โดยในอดีตต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่ มักนิยมใช้ 30

ตารางท่ี 7 รายการอุปกรณ์ท่ีมีความจาเป็นต้องใช้เก็บข้อมูลต้นไม้ในแปลงตัวอย่างถาวรขนาด 40X40 m2 ตอ่ หนงึ่ ชดุ การทางานตอ่ แปลง อันดบั รายการ จานวน วตั ถปุ ระสงค์ 1 แผ่นอะลมู ิเนยี มขนาด 4X8 ฟุต หนา 1 แผ่น ใชส้ าหรับทาเบอร์เลขเรียงต้นไม้ ขนาด 2X6 cm2 จานวนประมาณ 0.3 mm 300 หมายเลข/ไร่ 2 อนั ใชส้ าหรับวดั ตดั ขนาดเบอร์อะลูมเิ นยี ม 2 ไม้บรรทดั เหล็กยาว 1 ฟุต และ ยาว 1 m 1 อัน 1 ชดุ ใชส้ าหรับกรีดตดั แผน่ อะลมู เิ นียม 3 มีด Cutter ขนาดใหญ่ 1 ช้ิน ใช้สาหรบั ตอกเบอรเ์ ลขเรียง 1 อนั สาหรบั รองตอกตัวเลข 4 เหล็กตอกตัวเลข ขนาด 8 mm 1/2 กก. ใช้สาหรบั ตอกเบอรเ์ ลขเรยี ง และตอกตะปตู ิดเบอร์ 1 อัน ใช้สาหรบั ตอกเบอร์เลขเรียงติดกบั ต้นไม้ 5 ไม้หนา้ 3 ยาว 1 คบื 1 เส้น ใช้สาหรับตดั ลวด ตัดอะลมู ิเนียมทต่ี อกเบอรเ์ ลขเรยี ง 1 อัน ใชส้ าหรับร้อยเบอรอ์ ะลูมิเนยี มให้สะดวกในการนาไปใช้ 6 คอ้ นขนาดเลก็ มีหงอนถอนตะปไู ด้ 2 เสน้ ใช้สาหรบั ตดั กง่ิ ไมแ้ ห้งทก่ี ีดขวางการวดั ต้นไมแ้ ละทาไม้ 1.30 m 1 อัน ใชส้ าหรบั วัดตาแหนง่ พิกัดของต้นไม้ 7 ตะปูขนาด 2 หรอื 3 นิว้ ใชส้ าหรบั วดั ตน้ ไมห้ รือเถาวัลยท์ ีพ่ ันแน่นกบั ตน้ ไม้ 8 กรรไกรเหลก็ 9 ลวดทองแดงยาว 2 m 10 กรรไกรตดั ก่งิ ไม้ 11 เทปวดั ระยะ 50 หรอื 60 m 12 Vernier Caliper ขนาดเลก็ 13 Caliper ขนาดใหญ่ 1 อนั ใชส้ าหรบั วดั ตน้ ไม้ทมี่ ขี นาดใหญ่มากและถูกเถาวลั ยพ์ ันแนน่ 14 Diameter Tape 1 อนั ใช้สาหรบั วัดขนาด DBH ของตน้ ไม้ 15 บนั ไดปนี ตน้ ไม้ 1 อนั ใชส้ าหรบั ปีนวัดขนาดเส้นผา่ นศูนยก์ ลางเพื่อหลบพพู อน 16 Vertex 1 ชดุ ใชว้ ัดความสูงของตน้ ไม้ หรอื วัดระยะห่างระหวา่ งหมดุ แปลง 17 ไขควงปากแบนขนาดใหญ่ 1 อัน ใช้งดั เถาวัลย์ทพ่ี นั ติดแน่นกบั ตน้ ไม้เพ่อื สอดเทปวัดขนาด DBH 18 มดี ขอใช้ถางป่า 2 เลม่ ใช้ขดู เปลือก ทาความสะอาดลาตน้ ของต้นไม้ กอ่ นวัดขนาด DBH 19 ปากกาเมจกิ 2 หวั สีแดงหรอื นา้ เงนิ 4 แท่ง ใชส้ าหรับหมายตาแหน่งวดั DBH และใชเ้ ป็นแนวคาดสีต้นไม้ 20 สนี า้ มนั สีแดง 1 กระปอ๋ ง ใชค้ าดสตี น้ ไมภ้ ายหลังการวดั DBH แล้ว 21 ทินเนอร์ 1 ขวด ใช้ผสมสีน้ามัน 22 แปรงทาสขี นาด 1/2 นิ้ว 1 อนั ใชเ้ ปน็ แปรงคาดสตี น้ ไม้ 23 ลังหรอื กล่องพลาสตกิ ขนาดใหญ่ 1 อัน สาหรับใสเ่ ครือ่ งมือต่างๆ 24 ผ้าปูพลาสตกิ ขนาด 6X6 m2 2 ผนื ใชส้ าหรบั หลบแดด-ฝน 25 ถุงพลาสตกิ ขนาด 60 cm 2 ใบ ใช้สาหรับใส่อุปกรณ์ต่างๆ เมอ่ื เกิดฝนตก 26 กระดานรองจดขอ้ มลู 2 อนั ใช้สาหรบั บันทกึ ขอ้ มลู ตน้ ไม้ 27 กระดาษจดขอ้ มลู 1 ปึก ใช้สาหรบั บันทึกข้อมลู ต้นไม้ 28 คลิปดาหนบี กระดาษ 4 ตวั ใช้สาหรบั บันทึกข้อมลู ต้นไม้ 29 ดินสอ-ปากกา 1 อัน ใชส้ าหรับบนั ทกึ ข้อมลู ตน้ ไม้ 31

ภาพที่ 13 รูปแบบของ Caliper และ Vernier Caliper 1) Caliper อะลูมิเนียม ยี่ห้อ Haglöf มบี าร์ยาวสดุ 127 เซนตเิ มตร และ 2) Vernier Caliper แสดงองคป์ ระกอบของเคร่ืองมือ ต้นไม้ที่มีขนาดใหญ่จะใช้ Caliper ท่ี ท่ีมขี นาด DBH มากถึง 160 cm สามารถใช้วัด มีขนาดของบาร์วัดยาว 127 cm ส่วนต้นไม้ท่ีมี ต้ น ไ ม้ ที่ มี ล า ต้ น ค่ อ น ข้ า ง เ ป็ น ว ง รี ไ ด้ ดี ก ว่ า ขนาดเล็กจะใช้ Vernier Caliper ขนาดของ Caliper สามารถทาการวดั ตาแหน่งเดมิ ในคร้ังท่ี บาร์ยาวประมาณ 20 หรือ 30 cm เป็นต้น 2 ได้ง่าย จึงเป็นท่ีนิยมใช้กันอย่างแพร่หลายใน ข้อดีของการใช้ Caliper วัดต้นไม้ คือ ใช้คน วงการป่าไม้ แต่ก็มีข้อด้อย คือ ถ้าวัดต้นไม้ เพยี ง 1 คน วัดต้นไม้ท่ีมี DBH น้อยกว่า 70 cm ขนาดใหญ่ต้องมีคนช่วยจับและขยับเทปวัด ได้ผลดี สะดวกรวดเร็ว และเป็นเครื่องมือท่ีไม่ ด้านตรงข้ามไม่ให้หย่อนหรือเอียง ตอนต้นของ ยงุ่ ยากสามารถทาไดง้ ่าย แต่มีข้อดอ้ ย คือ ต้นไม้มี เทปวัดเม่ือใช้งานไปนานๆ ตัวเลขจะเลือน DBH มากกว่า 70 cm ขึ้นไป จะทาการวัดลาบาก จาเป็นต้องทดเทป ไปเร่ิมอ่านค่าที่ 10.0 cm ในกรณีที่ต้นไม้มีลาต้นเป็นวงรีไม่กลมต้องทา แลว้ ลืมลบคา่ ทที่ ดออกทาให้ไดค้ า่ DBH ผิดได้ การวัด 2 ครั้งต้ังฉากกันแล้วทาการเฉล่ียค่า และในการติดตามความเจริญเติบโตของต้นไม้ การวัด ณ ตาแหน่งเดิมในปีที่ 2 จะทาได้ยาก ต่อมาได้มีการพัฒนาเป็น Diameter Tape เน่อื งจากต้นไม้ส่วนมากมีลาต้นกลม จึงใช้สมการ วงกลมในการกาหนดสเกล เพอ่ื ใชอ้ ่านค่าที่ทาไว้ บนเทปวัด ส่วนอีกด้านของเทปจะเป็นเทปวัด ระยะมีหน่วยเป็นเมตร เทปน้ีมีข้อดี คือมีความ สะดวกในการพกพา มว้ นเก็บง่าย สามารถวดั ตน้ ไม้ 32

มีขอ้ ควรระวังในการใช้เทปสาหรับวัด คือ เป็น เมตร (m) และเซนติเมตร (cm) และอีก ขนาดความโตของต้นไม้ เนื่องจากมีเทปอยู่ 2 ด้านหน่ึงมีหน่วยเป็นอังกฤษ คือ นิ้ว (inch, in) ประเภท คือ 1) เทปวัดระยะทาง เรียกว่า และ ฟุต (foot, ft) เม่ือมองแบบไม่สังเกต จะเกิด Measuring Tape และ 2) เทปวัดขนาดเส้น ความสบั สนคิดว่าเปน็ ดา้ นของ Diameter Tape ได้ ผ่านศูนย์กลาง เรียกว่า Diameter Tape ดังแสดงในภาพที่ 14 การใช้เทปเพื่อวัดขนาด ถ้าเป็นเทปวัดระยะเมื่อใช้วัดต้นไม้ค่าที่อ่านได้ ความโตของต้นไม้ดังกล่าว ต้องมีความระมัดระวัง จะเป็นเส้นรอบวง (Girth) ที่เรียกว่า “เส้นรอบวง โดยดูรายละเอียดของเทปน้ันๆ อย่างรอบคอบ ที่ความสูงระดับอก (Girth at Brest Hight, GBH)” เนื่องจาก Diameter Tape เป็นเครื่องมือเฉพาะ เมื่อต้องการเป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง จาเป็นต้อง ราคาแพง ไม่มีขายตามร้านก่อสร้างทั่วไป การใช้ เทปวัดระยะท่ีมีราคาถูก หาซื้อง่าย ก็มีความ นาค่าที่อ่านได้หารด้วยค่า  (มีค่าประมาณ เหมาะสมและใช้แทนกันได้ แต่ต้องบันทึกข้อมูล 3.1416) ก่อนจึงนาค่าไปใช้ได้ แต่เน่ืองจากเทป การวัดใหถ้ กู ต้อง วัดระยะบางแบบจะมีดา้ นหนึ่งมีหน่วยเปน็ เมตรกิ ภาพที่ 14 ความแตกต่างของเทปวัดระยะและเทปวัดขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 1) เสน้ เทปดา้ นบน เป็นเทปวัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ยี่ห้อ KINGLON TAPE จะมีการพิมพ์ Diameter Tape บนเส้นเทป ส่วนด้านล่างเป็นเทปวัดระยะทางด้านท่ีเป็นนิ้ว และ 2) ลักษณะสเกลบนเส้น เทปเมื่อเทียบกับเส้นบนเป็นเทปวัดระยะมีหน่วยเป็นนิ้ว และเส้นล่างเป็น Diameter Tape มหี น่วยเป็นเซนตเิ มตร ตารางบันทึกขอ้ มลู การกาหนดรูปแบบของตารางบันทึก จะช่วยประหยัดเวลาในการจัดการข้อมูล หรือ ข้อมูลให้ครอบคลุมข้อมูลที่ต้องการตรวจวัด การเตรียมข้อมูลเพ่ือนาไปวิเคราะห์ทางมิติ นบั ว่ามีความสาคัญ การออกแบบตารางบันทึก ต่างๆ ตัวอย่างของการบันทึกข้อมูลต้นไม้ ข้อมูลเพื่อให้สอดคล้องกับการบันทึกข้อมูลท้ัง ภาคสนาม แสดงในตารางท่ี 8 ในภาคสนาม และการนาเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ 33

ตารางท่ี 8 ตวั อยา่ งการบันทกึ ข้อมลู ภาคสนาม บริเวณปา่ เตง็ รัง ปา่ ชุมชนบา้ นนาหวา้ ตาบลโพธิ์ไทร จังหวดั อุบลราชธานี 34