Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ban pua SSS

Ban pua SSS

Published by py2pong435, 2018-05-10 03:03:27

Description: โครงการนำส่งราชภัฏลำปาง

Search

Read the Text Version

โครงการพัฒนานวัตกรรมสง่ เสริมความรอบรเู้ ร่ืองสขุ ภาวะ ผ่านการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ โรงเรยี นบ้านปวั

2๑. ชื่อโครงการ การพัฒนานวัตกรรมส่งเสริมความรอบรู้เรื่องสุขภาวะผ่านการพัฒนาทักษะการอ่าน ออกเขยี นได้ โรงเรียนบา้ นปวั๒. องค์กรรบั ทนุ โรงเรยี นบา้ นทุ่งแต โดย นายยศวจั น์ โพธถิ ิระพงศ์ ผอู้ านวยการโรงเรยี น๓. ผ้รู บั ผิดชอบโครงการ นายยศวัจน์ โพธิถิระพงศ์ นางรทิ ร์ลภสั ปัญทวงศ์ นางสาวกรรณิการ์ ภูมภิ ริ มณ์ขวัญ๔. ภาคีร่วมพฒั นา ๔.๑ โรงเรียนประถมศึกษา จานวน ๑๑ แห่ง ในพ้ืนที่ตาบลงิม อาเภอปง จังหวัดพะเยา ได้แก่โรงเรียนบา้ นปัว โรงเรียนบา้ นปางผกั หม โรงเรียนบ้านใหมน่ า้ เงนิ โรงเรียนบ้านแฮะ โรงเรียนบ้านทุ่งแตโรงเรยี นบา้ นเลีย้ ว โรงเรียนบา้ นแบ่ง โรงเรียนบ้านสันกลางนาดอ โรงเรียนชุมชนบ้านดอนไชย โรงเรียนบา้ นควรเกา๊ เงาและโรงเรียนเทศบาลงิม ๔.๒ องค์การปกครองส่วนท้องถ่ินในเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ได้แก่ องค์การบริหารสว่ นตาบลงมิ และเทศบาลงมิ ๔.๓ ท้องท่ี กานนั ผู้ใหญบ่ ้าน เปน็ ตน้ ๔.๔ องคก์ รชมุ ชน อาทเิ ช่น โรงเรยี นผู้สูงอายุ อสม. ศูนย์พฒั นาเด็กเล็ก แหลง่ เรียนรู้ วดัภาคประชาชน คริสตจักร เป็นตน้ ๕.๕ หนว่ ยงานรัฐในพน้ื ท่ี เช่น โรงเรยี นมัธยมศกึ ษา โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตาบล สถานี ตารวจบา้ นดอนไชย เปน็ ตน้๕. คานิยามเชิงปฏิบัตกิ าร เพื่อความเข้าใจร่วมกันและมีความหมายท่ีตรงกันในการดาเนินงานโครงการ จึงได้ให้คานิยามเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารในการอธบิ ายความหมายของคาหรอื ประโยคทีใ่ ช้ ๕.๑ ความสามารถดา้ นภาษา (Literacy) หมายถงึ ความสามารถในการอ่าน เพ่อื รู้ เข้าใจ วิเคราะห์สรปุ สาระสาคญั ประเมินสง่ิ ท่ีอ่านจากส่ือประเภทตา่ งๆ ร้จู ักเลอื กอ่านตามวตั ถปุ ระสงค์ นาไปใชใ้ นชวี ติ ประจาวันและการอยู่รว่ มกันในสังคม ใชก้ ารอ่านเพื่อการศึกษาตลอดชวี ติ และส่อื สารเป็นภาษาเขยี นได้ถกู ต้องตามหลักการใช้ภาษาและอย่างสร้างสรรค์ ๕.๒ ความรอบรู้ด้านสุขภาพ (Health Literacy) 1 หมายถงึ พฤติกรรมของนักเรียนระดบั ชนั้ประถมศึกษาในโรงเรยี น ในการใชความสามารถดานการภาษา การรูหนังสอื และทักษะทางสังคม เพอ่ื เขาถึงเขาใจ ประเมนิ ใชความรูและสอื่ สารเกีย่ วกับสารสนเทศ ดานสขุ ภาวะตามความตองการเพ่ือสงเสริมและรักษาสขุ ภาวะท่ีดีตลอดชีวิต ๕.๓ นโยบายสาธารณะ หมายถึง องค์ความรู้จากปฏิบัติการของ “แหล่งเรียนรู้” ของศูนย์จัดการเครือข่ายสุขภาวะชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ ประมวล1 ความรอบรดู านสขุ ภาพ (Health Literacy) เปนกระบวนการทางปญญา และทกั ษะทางสงั คม ที่กอเกิดแรงจงู ใจและความสามารถของแตละบุคคลทีจ่ ะเขาถึง เขาใจและใชขอมลู ขาวสารเพ่อื สงเสรมิ และบาํ รุงรักษาสุขภาพตนเองใหคงดอี ยูเสมอ (WHO, 1998)

3และวิเคราะห์กิจกรรมที่ส่งผลกระทบท้ังทางตรงและทางอ้อมต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนใ นพ้ืนท่ีโดยชุมชนท้องถิ่น จนเกิดเป็นปฏิญญาเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถ่ินน่าอยู่ของแต่ละภูมิภาคและมีข้อตกลงร่วมของเครือข่ายในภาพรวม ซ่ึงสมาชิกของเครือข่ายร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นน่าอยู่ได้ใช้เป็นแนวทางการขบั เคล่ือนของ แต่ละพนื้ ทท่ี ้ังระดับตาบล เครอื ขา่ ย และจงั หวัดรวมถงึ นโยบายแห่งรัฐดว้ ย ๕.๔ นวัตกรรม หมายถึง กระบวนการนาใชค้ วามคิดใหม่ สิ่งประดิษฐ์ใหม่ แนวทางและวิธีการทางานใหม่ ที่ก่อให้เกิดประโยชน์และผลลัพธ์ที่ดีต่อผู้เกี่ยวข้อง เช่น การเพิ่มคุณค่า การเพิ่มผลผลิต การเพ่ิมผลตอบแทน การเพม่ิ คุณภาพ การลดค่าใช้จ่าย การสร้างความพึงพอใจให้กับผู้ท่ีเก่ียวข้อง การลดปัจจัยเสี่ยงทางสุขภาพและเพมิ่ ปัจจยั ส่งเสริมสุขภาพ เป็นต้นเพ่ือใชใ้ นการเสริมสรา้ งความเข้มแขง็ ของชุมชนท้องถน่ิ ๕.๕ การพัฒนาศักยภาพ หมายถึง การดาเนินกิจกรรมของชุมชนท้องถิ่นที่สนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาแนวคิด ความรู้ ทักษะ วิธีการทางาน และความสามารถในด้านอ่ืน ๆ ภายใต้กระบวนการและกจิ กรรมท่ีหลากหลาย เชน่ การประชมุ การฝึกอบรม การจดั เวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้ การสรุปบทเรียน การถอดบทเรียน การเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง และการเรียนรู้ข้ามพื้นท่ีหรือการศึกษาดูงาน เพ่ือนามายกระดับการทางานในพ้ืนที่และเครือข่าย รวมถึงการเข้ารับการฝึกอบรมตามหลักสูตรท่ีแผนสุขภาวะชุมชนกาหนดและสสส. จดั ให้ ๕.๖ ชดุ ความรู้ หมายถึง ความรู้ท่ีเกิดจากการถอดบทเรียน การวิจัยและพัฒนา กระบวนการทางานของพ้ืนท่ีและเครือข่ายในการเพ่ิมศักยภาพระบบการจัดการตนเองของพื้นท่ีสู่การจัดการตนเองของชุมชนท้องถนิ่ เพ่ือนาใช้ในการถ่ายทอดให้เกดิ การขบั เคล่ือนการพฒั นาพน้ื ทแ่ี ละเครือขา่ ยต่อไป ๕.๗ ภาคีร่วมพัฒนา หมายถึง องค์กรหรือ หน่วยงานและผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถท่ีเข้ามาร่วมทางานกับองค์กรภาคีหลัก ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถ่ิน โดยร่วมปฏิบัติการกับองค์กรในพ้ืนที่ ได้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ท้องที่ องค์กรชุมชน หน่วยงานรัฐในพ้ืนที่ จนสามารถขับเคลื่อนเป็นเครอื ข่าย การเรียนรู้ เพ่ือรว่ มสร้างชุมชนท้องถิน่ น่าอยู่ ๕.๘ ภาคีสนับสนุน หมายถึง องค์กรหรือหน่วยงาน ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ท่ีมีส่วนร่วมในการหนุนเสริมหรือสนับสนุนในกระบวนการใดกระบวนการหน่ึง ให้กับองค์กรภาคีหลัก ในการเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถ่ิน โดยร่วมปฏิบัติการกับองค์กรในพ้ืนที่ได้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ท้องที่องค์กรชุมชน หน่วยงานรัฐในพ้ืนที่ จนสามารถขับเคล่ือนเป็นเครือข่ายการเรียนรู้ เพื่อร่วมสร้างชุมชนท้องถิ่นนา่ อยู่ ๕.๙ วจิ ัยเชิงพืน้ ที่ (Area-based collaborative research: ABC) หมายถงึ การบริหารจัดการงานวิจัยท่ีต้องลงไปทากระบวนการในโรงเรียนประถมศึกษาโรงเรียนในจังหวัดลาปาง ได้แก่ โรงเรียนในเขตตาบลวอแก้ว โรงเรียนในเขตเทศบาลเมืองล้อมแรด โรงเรียนในจังหวัดลาพูน ได้แก่ โรงเรียนในเขตตาบลเวียงยอง โรงเรียนในเขตเทศบาลตาบลแม่แรง โรงเรียนในเขตตาบลทุ่งหัวช้างและโรงเรียนในจังหวัดจังหวัดพะเยา ได้แก่ โรงเรียนในเขตเทศบาลตาบลงิมโดยอาศัยการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน ท้ังภาคประชาชนภาครัฐ ภาควิชาการ และองค์กรพัฒนาภาคเอกชน ให้มาร่วมแก้ไขปัญหาในเร่ืองท่ีทุกคนในพ้ืนท่ีเห็นว่าต้องแก้ไขและจะสาเร็จได้ด้วยความร่วมมือของคนในพ้ืนท่ี ในลักษณะทาไป ปรับไป เรียนรู้ไป เพื่อพัฒนารูปแบบและกลไกการทางานที่เอ้ือต่อการแก้ปัญหาการอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้เร่ื องสุขภาวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษา ๕.๑๐ วิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม หมายถึง การวิจัย ค้นคว้า และหาความรู้ตามหลักการของการวิจัย โดยมีวัตถุประสงค์มุ่งไปท่ีการแก้ปัญหาในการพัฒนา การเรียนรู้จากประการณ์ และเป็นการวิจัยท่ี

4ดาเนินไปด้วยการมีส่วนร่วมอย่างแข็งขันจากทุกฝ่ายท่ีเกี่ยวข้องกับกิจกรรมการวิจัย นับต้ังแต่การกาหนดปญั หา การดาเนนิ การ การวิเคราะหข์ ้อมลู ตลอดจนหาแนวทางในการแก้ปญั หาหรือสง่ เสรมิ กิจกรรมชมุ ชน ๕.๑๑ ระบบและกลไกการสนับสนุนเชิงพื้นที่ หมายถึง การจัดการต้นน้า กลางน้า ปลายน้าท่ีมีกลไกเชิงระบบของมหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง คือ คณะครุศาสตร์เป็นกลไกหลัก ทางานร่วมกับกลไกสนับสนุนภายในมหาวิทยาลัย เพ่ือการขับเคล่ือนการจัดการศึกษาเชิงพื้นท่ีประเด็นการอ่านออกเขียนได้ร่วมกับโรงเรียน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) เป็นกลไกหลัก โดยมีกลไกสนับสนุนเชิงนโยบายระดบั จังหวัด ๕.๑๒ สังคม หมายรวมถึง กลุ่มบุคคลที่อาจเช่ือมโยงกับชุมชนท้ังในมิติของพ้ืนที่ ความสนใจร่วมกันอัตลักษณ์ สถานที่ทางาน ชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกันทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรืออยู่ในภาคส่วนเดียวกัน ชุมชนนักปฏิบัติ ชุมชนท่ีมีความสนใจร่วมกัน โดยไม่มีข้อจากัดทั้งในเชิงพ้ืนท่ี ภูมิภาค และประเทศรวมถึงภาคธุรกิจอุตสาหกรรม สมาคมวิชาชีพ โรงเรียน รัฐบาล ศิษย์เก่าและชุมชนพื้นเมืองเป็นต้น ๕.๑๓ พันธกิจสัมพันธม์ หาวิทยาลัยเพื่อรบั ใช้สังคม (University Engagement) หมายถงึการทางานร่วมกนั (engagement) ของมหาวิทยาลยั ราชภัฏลาปางกบั ภาคีในพน้ื ทใ่ี นลักษณะเชงิ สถาบนั ท่ีเป็นหุ้นสว่ นระยะยาว (long-term partnership) และเป็นผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสีย (stakeholders) อย่างแทจ้ ริงของชมุ ชนหรือสงั คมในพ้ืนท่ีในพันธกิจทกุ ดา้ นของมหาวทิ ยาลัย (University Engagement)บนหลักการพืน้ ฐาน 4 ประการ ไดแ้ ก่ 1) รว่ มคิดร่วมทาแบบหุ้นส่วน (Partnership) 2) เกิดประโยชนร์ ว่ มกันแก่ผ้เู ก่ียวข้องทกุ ฝ่าย (Mutual benefits) 3) มกี ารใชค้ วามรู้และเกิดการเรียนรูร้ ว่ มกัน (Scholarship) และ4) เกดิ ผลกระทบต่อสังคมท่ปี ระเมินได้ (Social impact)ซึง่ มีรปู แบบของ Engageกับสังคมได้อย่างน้อย5 แบบ คือ Community engagement, Government engagement, Industry engagement,International engagement และ Alumni engagement ๕.๑๔ การเสริมพลัง (Empowerment) หมายถึง การยอมรับและชื่นชม การส่งเสริม การพัฒนาและเสริมสร้างความสามารถของบุคคล กลุ่ม ให้เกิดความม่ันใจว่ามีความสามารถในการทางานให้สาเร็จได้รวมถึงความสามารถในการใช้ทรัพยากรท่ีจาเป็นในการดารงชีวิต เพื่อให้เกิดความรู้สึกเช่ือม่ันและรู้สึกว่ามีอานาจสามารถควบคมุ ความเป็นอยู่หรือวถิ ชี ีวิตของบคุ คล กลุ่ม ชุมชนได้ ๕.๑๕ นวัตกรรมการอ่านออกเขียนได้ หมายถึง รูปแบบ วิธีการ เครื่องมือ ท่ีนามาใช้ในการพัฒนาทักษะการอา่ นออกเขียนได้ของนักเรียนระดับประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖ ๕.๑๖ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษา หมายถงึ นักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑ – ๖ ในโรงเรยี นบา้ นทุ่งแต๖. หลักการและเหตุผล “หนังสือเป็นเสมือนคลัง ท่ีรวบรวมเร่ืองราวความรู้ ความคิดวิทยาการ ทุกด้านทุกอย่าง ซ่ึงมนุษย์ได้เรียนรู้ ได้คิดอ่านและเพียรพยายามบันทึกรักษาไว้ด้วยลายลักษณ์อักษร หนังสือ แพร่ไปท่ีใด ความคิดก็แพร่ไปถึงที่นั่น หนังสือจึงเป็นสิ่งมีค่าและมีประโยชน์อันประมาณมิได้ ในแง่ที่เป็นบ่อเกิดแห่งการเรียนรู้ของมนษุ ย”์ (พระราชดารัสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ฯ 2515.) จากพระราชดารัส ทรงเห็นความสาคัญของการอ่านหนังสือ เน่ืองจากหนังสือได้รวบรวมเร่ืองราวต่างๆ ท่ีต้องการค้นคว้าไว้มากมาย การอ่านจงึ เป็นปจั จัยสาคญั ในการพัฒนาบคุ คล ช่วยให้เกิดความงอกงามทางความคิดและสติปัญญาการอ่านทาให้คนฉลาด รู้จักคดิ และมีโลกทัศน์กวา้ งไกล เกดิ ความรู้มคี วามร้ใู หม่ๆ ทจ่ี ะชว่ ยให้การดารงชีวิตอยู่รอดปลอดภัยและมีความสุข แต่ในปัจจุบันประเทศไทยเผชิญกับปัญหาเด็กไม่อ่านหนังสือ หรืออ่านหนังสือน้อย มักเป็น

5คาถามท่ีคาใจผู้ใหญ่หลายคน โดยเฉพาะผู้ที่อยู่ในแวดวงการศึกษา คาตอบน้ันมีมากมายหลายเหตุผล และแทบจะทุกเหตุผลได้ผ่านความคิดแสวงหาแนวทางแก้ไขพร้อมทั้งทดลองปฏิบัติมาแล้ว แต่กระน้ันสถานการณ์การอ่านของเด็กและเยาวชนก็ยังไม่ดีข้ึน จากงานวิจัยของ Cook, Gina A : (2010). Williams, Rebeccaและ Berry : (2006). พบว่าปัญหาของการอ่านขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย ปัจจัยสาคัญคือ ฐานะความเป็นอยู่โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ครอบครัวที่มีรายได้น้อย ผู้ปกครองมีภาระไม่ได้ดูแลเอาใจใส่ในเร่ืองการอ่านอ่าน ปัญหาจากครูผู้สอน ไม่กาหนดเร่ืองให้อ่านไม่ปลูกฝังให้รักการอ่าน หนังสือมีราคาแพง ห้องสมุดไม่มี หนังสือที่ต้องการ ทาให้เด็กเกิดปัญหาด้านการอ่าน นอกจากน้ีก็ยังมีปัญหาท่ีเกิดจากตัวเด็กเอง เช่น ความรู้ อารมณ์การเขา้ สังคม การจับประเด็นสาคัญจากการอ่านไม่ได้และไม่มีเวลาอ่าน เนื่องจากมีภารกิจส่วนตัวมากต้องหารายได้พิเศษช่วยเหลือตนเอง และแบ่งเวลาไม่เป็น โรงเรียนจึงพยายามที่จะช่วยเด็กๆ แก้ปัญหาเร่ืองการอ่านทงั้ ตวั เดก็ เองและปจั จัยภายนอก จากปัญหาดังกล่าวทาให้เด็กไทยไม่ใส่ใจกับการอ่าน ไม่มีนิสัยรักการอ่านส่งผลให้นักเรียนไม่มีความรู้ ขาดทักษะในการอ่าน ขาดทักษะในการคิด ไม่สามารถคิดวิเคราะห์ และคิดอย่างสรา้ งสรรค์ได้ ข้อมลู จากงานวจิ ยั ของไทยกร็ ะบุว่า เด็กไทยมีปัญหาด้านการอ่าน อ่านหนังสือไม่ออก อ่านติด ๆขัด ๆ เด็กช้ันประถมศึกษาปีที่ 3 ส่วนใหญ่ของประเทศไทยอ่านหนังสือพิมพ์ไม่คล่อง (อุษณีย์ อนุรุทธิ์วงศ์.2556) ข้อมูลของสานักงานสถิติแห่งชาติ ท่ีจัดทาตั้งแต่เดือนกันยายน ปี 2548 จะพบว่า ประเทศไทยมีผู้ท่ีไมอ่ า่ นหนงั สือถงึ 22.4 ล้านคนหรอื เกือบ 40% ของประชากรท้ังประเทศ ด้วยเหตุผลว่าชอบดูโทรทัศน์ หรือฟังวิทยุมากกว่า ขณะท่ีเด็กที่มีอายุ 10-14 ปี กว่า 60% ให้เหตุผลในการไม่อ่านหนังสือว่าเพราะไม่ชอบ จากงานวิจัยของ Stevenson, Kara. (2011) และ พัฒน์นรี อัฐวงศ์ และคณะ. (2556)พบว่าการพัฒนาการอ่านของเด็ก ควรเริ่มทาต้ังแต่เด็กอายุน้อยๆ เพราะการอ่านและทาความเข้าใจให้ได้นั้นเป็นเรื่องยาก ควรดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด การส่งเสริมของครอบครัว การทากิจกรรมที่เก่ียวข้องกับการอ่านการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่มีภาพและเสียงประกอบ และอุปกรณ์ช่วยในการอ่าน ทาให้เกิดความพร้อมในการอ่าน และมีทัศนคติท่ีดีต่อการอ่าน นอกจากน้ีการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพนั้น ขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายๆ ด้านเช่นกัน การอ่านออกเสียงที่ถูกต้อง จดจาช่ือสิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็ว มีทักษะในการมองตัวอักษร การทากจิ กรรมเป็นกลมุ่ รว่ มคดิ ร่วมอา่ น ทาใหเ้ ด็กมกี ารพัฒนาในหลายด้านการส่งเสริมการอ่านแบบกว้างขวาง เช่นการพัฒนาทักษะอ่าน การมีทัศนคติต่อการอ่านในทางบวก มีความกระตือรือร้นในการอ่าน มีแรงจูงใจในการอา่ น และไดร้ ับความเพลิดเพลินการอ่านช่วยให้เด็กมีทักษะทางภาษาหลายอย่างดีขึ้น ช่วยพัฒนาทักษะการอ่านให้สูงขึ้นและมีผลต่อพัฒนาการทางความคิดอีกด้วย (Kim, Hoyeon: 20) จากการสอบ NT ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ของนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งแต 2558 – 2560 ผลปรากฏว่าคะแนนด้านภาษาของนักเรียน ได้คะแนนดังนี้ ปีการศึกษา 2558 ได้ 46.59 ปีการศึกษา 2559 ได้ 51.00และ ปีการศึกษา2560 ได้ 40.19 ตามลาดับ ขณะท่ีค่าเฉลี่ยของประเทศคือ การศึกษา 2558 เท่ากับ 46.59 ปีการศึกษา 2559 เท่ากับ 51.00 และ ปีการศึกษา 2560 เท่ากับ 52.67 และผลการสอบ O-net ของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2558 – 2560 ผลปรากฎว่าด้านภาษาของนักเรียนโรงเรียนบ้านทุ่งแต ได้คะแนนดังนี้ ปีการศึกษา 2558 ได้ 46.67 ปีการศึกษา 2559 ได้ 48.28 และ ปีการศึกษา2560 ได้ 46.78 จะเหน็ ได้วา่ คะแนนสอบสูงกวา่ ค่าเฉลีย่ ระดับประเทศเล็กน้อย แต่คะแนนยังต่าและไม่น่าพอใจ จะเห็นว่าปัญหาด้านภาษาและปัญหาด้านภาษาไทยของนักเรียนช้ันประถมศึกษายังวิกฤตอยู่และจาเป็นต้องได้รับการแก้ไขโดยด่วน จากปัญหาข้างต้น โรงเรียนบ้านปัว ได้เห็นความสาคัญของการอ่านออกเขียนได้ซ่ึงเป็นปัญหาสาคัญระดับชาติ อีกทั้งมีความสาคัญและความจาเป็นอย่างย่ิงสาหรับนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 1-6 ที่เป็นระดับชั้นที่ต้องมีพื้นฐานการอ่านและการเขียนทางภาษาไทยตามเป้าหมายของหลกั สตู ร อันจะส่งผลให้การเรยี นรูป้ ระสบผลสาเร็จในอนาคต

6๗. วัตถุประสงค์ 7.๑ เพื่อพัฒนาเคร่ืองมือประเมินความสามารถด้านภาษาสาหรับนักเรียนระดับประถมศึกษาโรงเรยี นบา้ นทุ่งแต 7.๒ เพื่อพัฒนาสื่อ นวัตการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะโดยผ่านการพัฒนาความสามารถด้านภาษาสาหรับนักเรียนระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นบา้ นทงุ่ แต 7.๓ เพอื่ ใหเ้ ดก็ นักเรยี นกล่มุ เปา้ หมายได้รบั การพฒั นาให้อ่านออกเขียนได้ และนักเรยี นทกุ คนได้รบัการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นภาษาไทยสูงข้ึน๘. กลุ่มเปา้ หมายและพนื้ ที่ดาเนินการ โรงเรียนบ้านปัว ร่วมกับ องค์การบริหารส่วนตาบลงิม ได้กาหนดพ้ืนท่ีดาเนินการให้เป็นโรงเรียนในพ้นื ทใ่ี นเขตรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถนิ่ ในเครือข่ายร่วมสรา้ งชมุ ชนท้องถ่นิ๙. ระยะเวลาของโครงการ ต้ังแตว่ ันท่ี ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑ ถงึ ๑๐ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๒๑๐. แนวทางการดาเนินงาน และรายละเอียดกิจกรรมย่อยกิจกรรม วัตถปุ ระสงค์ กจิ กรรมย่อย ผลผลิต/ผลลัพธ์โครงการย่อยท่ี (๑.๑) เพื่อเพิม่ ขีด ๑. แต่งต้ังคณะกรรมการดาเนินงาน ผลผลติ ๑. คู่มือการดาเนนิ งาน๑ การพฒั นา ความสามารถในการ ภายใน โครงการพฒั นาระบบ กลไก ทางานร่วมของ ๒. จดั ประชมุ คณะกรรมการการ ทักษะการอ่านออก เขียนได้และคู่มือการการขับเคลื่อน โรงเรียนกับชมุ ชน ดาเนนิ งาน ดาเนนิ งานพัฒนาสุข ภาวะผ่านการอ่านการดาเนินงาน (๑.๒) เพอื่ จัดทา - ผูอ้ านวยการ ออกเขียนได้ ๒. ฐานขอ้ มลู การอา่ นโครงการ ฐานขอ้ มลู และ - ฝา่ ยวิชาการ ออกเขยี นได้ ผลลพั ธ์ เชือ่ มโยงสกู่ ารนาใช้ - คณะครู ป.๑ – ๖ เกดิ ระบบกลไกการ ขับเคลอ่ื นโครงการ (๑.๓ เพอ่ื เผยแพร่ - กรรมการสถานศึกษา พฒั นาทกั ษะการอ่าน ออกเขียนได้และสขุ เครอื่ งมอื และ - สมาคมผปู้ กครองและศิษย์เก่า ภาวะในโรงเรยี นและ ชมุ ชน นวัตกรรมการ - สานักปลดั องค์การบรหิ ารตาบลงมิ จัดการเรียนรู้ - ประธาน อสม. - เจา้ หน้าท่สี ถานบรกิ ารสาธารณสุข ชุมชน ๓. บันทกึ ขอ้ มูลในฐานข้อมูล ๔. เผยแพร่เครือ่ งมือและนวตั กรรม (ทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ การส่งเสริมสขุ ภาวะ การเปดิ บา้ น วิชาการ)

7โครงการย่อยที่ (๒.๑) เพ่อื พัฒนาส่ือ กิจกรรมที่ ๑ การพฒั นาเคร่ืองมือการจัด ผลผลติ๒ การพัฒนา และแหลง่ เรยี นร้กู าร กิจกรรมการเรียนรู้และประเมินทักษะ 1. ได้สื่อและแหล่งส่อื กจิ กรรม สง่ เสริมความรอบรู้ การอา่ นออกเขียนไดท้ ่ีเหมาะสมกับพ้นื ท่ี เรียนรกู้ ารสง่ เสริมการเรียนรู้ และ เรอ่ื งสุขภาวะผา่ น ๑. สร้างเครื่องมือสื่อนวัตกรรมการ ความรอบรู้เรื่องสุขเครอ่ื งมือ การพฒั นา เรยี นรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียน ภาวะผ่านการประเมินเพอ่ื ความสามารถด้าน ได้โดยแบ่งส่ือนวัตกรรมการฯ เป็นอย่าง พัฒนาความสามารถส่งเสรมิ การ ภาษาสาํ หรบั เด็ก นอ้ ย ๕ ชนดิ ดงั นี้ ด้านภาษาสําหรับอา่ นออกเขียน นกั เรียนชัน้ ๑.๑ สอ่ื นวตั กรรมการอ่านออก เด็กนกั เรียนชน้ัไดร้ ว่ มกบั ภาคี ประถมศกึ ษาใน เขยี นได้สาหรบั นักเรียนทุก ประถมศึกษาในเครือขา่ ย พื้นที่ ระดบั ชน้ั พื้นที่ อยา่ งน้อย 5(โรงเรียน- (๒.๒) เพ่อื พัฒนา ๑.๒ สือ่ นวตั กรรมการอา่ นออก ชนิดองค์กร นวัตกรรมการจัดการ เขียนไดส้ าหรบั นักเรยี นที่มี 2. ได้เครื่องมือและปกครองส่วน เรียนร้ทู ี่สง่ เสรมิ ความ ความพกพร่องหรอื พิเศษ คมู่ อื การประเมินทอ้ งถน่ิ - รอบรดู้ า้ นสขุ ภาวะ ๑.๓ คู่มอื เครอ่ื งมอื การจดั การ ความสามารถด้านชมุ ชน-กลุ่ม ผา่ น เรยี นรู้เรอ่ื งการอ่านออก ภาษาสําหรับทางสังคม) การพัฒนา เขียนได้สาหรับครูท่ไี มจ่ บเอก นกั เรียนชนั้ ความสามารถด้าน ภาษาไทย ประถมศึกษาใน ภาษาสําหรบั ๑.๔ คมู่ อื เครือ่ งมือการจดั การ พ้นื ที่ อยา่ งน้อย 5 นักเรียนช้นั เรียนรู้เรื่องการอา่ นออก เล่ม ประถมศกึ ษาใน เขียนได้สาหรับครูที่จบเอก 3. ได้นวัตกรรมการ พ้นื ที่ ภาษาไทย จัดการเรียนรู้ท่ี (๒.๓) เพือ่ พฒั นา ๑.๕ คู่มือ เครอื่ งมอื การจัดการ ส่งเสริมความรอบรู้ เคร่ืองมอื และคู่มอื เรยี นรู้เรื่องการอา่ นออก ด้านสุขภาวะผ่าน การประเมิน เขยี นได้สาหรบั ผู้ปกครอง การพฒั นา ความสามารถด้าน และชมุ ชนท้องถิ่น ความสามารถด้าน ภาษาสาํ หรบั ๒. สร้างเครอื่ งมือ ค่มู ือ ประเมนิ ทักษะ ภาษาสําหรับ นกั เรียนช้นั การอา่ นออกเขยี นได้ นักเรยี นชั้น ประถมศึกษาใน ๓. ทดลองใช้นวัตกรรมเพ่ือพัฒนา ประถมศึกษา อย่าง พนื้ ท่ี ทักษะการอ่านออกเขียนได้ในโรงเรียน ๒ นอ้ ย (๒.๔) เพ่ือ ภาคเรียน โดยมีการประเมินทักษะการ 5 นวตั กรรม ประเมินผลการ อ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนใน ๓ ระยะ เรียนรแู้ ละถอด ไดแ้ ก่ ก่อน ระหว่างและสิ้นสุดการทดลอง ผลลพั ธ์ บทเรยี นการทาํ งาน ใช้นวัตกรรมและบันทึกผลการประเมินใน มรี ะบบการพัฒนา ภายในโรงเรียน ฐานขอ้ มลู ออนไลน์ เคร่อื งมอื คู่มือและนวตั ๓.๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ ปกี ารศึกษา กรมการจดั การเรยี นรู้ ๒๕๖๑ ทดลองใช้ เพ่ือพัฒนาทักษะการ นวตั กรรมเพ่ือพฒั นาความ อา่ นออกเขียนได้ เพื่อ รอบรู้สขุ ภาวะตามชว่ งเวลา สง่ เสริมความรอบรแู้ ละ ทโ่ี รงเรียนกาหนด ภมู ปิ ญั ญาดา้ นสุขภาวะ ๓.๒ ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศึกษา อย่างต่อเนอ่ื งและขยาย ๒๕๖๑ ทดลองใช้ ผลสโู่ รงเรยี นใกล้เคยี งได้ นวตั กรรมเพื่อพฒั นาความ

8๑๑. กจิ กรรมที่ ๑ การพัฒนาระบบ กลไก การขับเคลื่อนการดาเนนิ งานโครงการ 1) หลกั การ พฒั นารูปแบบและแนวทางการทาํ งานรว่ มของโรงเรยี นบา้ นปัวกับชมุ ชนท้องถิ่น เพ่ือให้เกิดทักษะและเพ่มิ ศักยภาพของผู้ทเี่ ก่ียวข้องภาคีเครือข่ายชมุ ชนท้องถิ่นในการส่งเสริมความรอบรู้เรื่องสุขภาวะของนักเรยี นระดับประถมศึกษา ผ่านการพัฒนาความสามารถดา้ นภาษาซึ่งเปน็ ความเชี่ยวชาญของนักวิชาการในมหาวิทยาลัยราชภฎั ลําปางรวมถึงบุคลากรในโรงเรียนกบั บุคลากรของชมุ ชนท้องถ่นิ ทีส่ ามารถสร้างการเรยี นรู้และนําใช้ข้อมูลร่วมกนั ระหวา่ งมหาวทิ ยาลยั และโรงเรียนในชุมชนท้องถน่ิ เพ่ือสนับสนุนใหเ้ กิดความรอบรู้เรอื่ งสุขภาวะ และสนับสนนุ การเรยี นรูต้ ลอดชวี ิตในการดูแลสุขภาวะนําไปสู่การพฒั นาชมุ ชนท้องถ่นิ ใหเ้ กิดความเข้มแขง็ และย่ังยืนตอ่ ไป 2) วตั ถุประสงค์๒.๑ เพอื่ เพ่ิมขดี ความสามารถในการทางานรว่ มของโรงเรียนกับชุมชน๒.๒ เพือ่ จดั ทาฐานข้อมลู และเชอ่ื มโยงสกู่ ารนาใช้๒.๓ เพอ่ื เผยแพรเ่ คร่ืองมือ และนวตั กรรมการจัดการเรยี นรู้ ผลผลติ๓.๑ คู่มอื การดาเนินงานโครงการพฒั นาทักษะการอ่านออกเขยี นไดแ้ ละคมู่ ือการดาเนินงานพฒั นาสขุ ภาวะผ่านการอา่ นออกเขียนได้๓.๒ ฐานข้อมลู การอา่ นออกเขยี นได้ ผลลัพธ์เกดิ ระบบกลไกการขบั เคลื่อนโครงการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขยี นได้และสขุ ภาวะในโรงเรยี นและชุมชน ๓) แนวทางการดาเนินงาน ประกอบด้วยกิจกรรม ดงั น้ี ๑. แตง่ ต้งั คณะกรรมการดาเนินงานภายใน ๒. จดั ประชมุ คณะกรรมการการดาเนินงาน - ผู้อานวยการ - ฝ่ายวิชาการ - คณะครู ป.๑ – ๖ - กรรมการสถานศกึ ษา - สมาคมผปู้ กครองและศิษยเ์ ก่า - สานกั ปลดั องค์การบรหิ ารตาบลงิม - ประธาน อสม. - เจ้าหน้าทส่ี ถานบริการสาธารณสุขชุมชน

9 ๓. บันทกึ ข้อมูลในฐานขอ้ มูล ๔. เผยแพรเ่ คร่ืองมือและนวตั กรรม (ทักษะการอ่านออกเขยี นได้ การสง่ เสริมสุขภาวะ การเปิดบ้านวิชาการ)๑๒. กจิ กรรมที่ ๒ การพฒั นาสอื่ กจิ กรรมการเรียนรู้ และเครอ่ื งมือประเมนิ เพ่ือสง่ เสริมการอ่านออกเขียนได้ร่วมกับภาคเี ครอื ขา่ ย (โรงเรยี น-องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน-ชมุ ชน-กลุ่มทางสังคม) ๑.) หลักการ เป็นการพัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้เครื่องมือการประเมินการเรยี นรู้ และความสามารถดา้ นการอ่านออกเขียนไดเ้ ปน็ ส่งิ ท่ีจาํ เปน็ ที่จะต้องสรา้ งข้นึ ใหส้ อดคล้องกับกระบวนการนวตั กรรมและวิธีการในการพฒั นาการอ่านออกเขียนไดข้ องนักเรยี น ท่ีส่งเสรมิ ความรอบรู้ด้านสขุ ภาวะผา่ นการพัฒนาความสามารถด้านภาษาสาํ หรบั นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาในพืน้ ทีใ่ หเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งต่อเน่อื งของนักเรียนโรงเรยี นบา้ นปัว เหมาะกบั สภาพจรงิ ของผเู้ รยี น รวมถงึ เป็นแหล่งเรยี นรู้ ด้วยกระบวนการมีสว่ นร่วมระหว่างโรงเรยี นองค์กรปกครองสว่ นท้องถิน่ ชุมชน กล่มุ ทางสังคม และกลุ่มองค์กรท่ีเก่ียวข้องในพน้ื ท่ีดําเนนิ การ รวมถงึ การปรับปรงุ นวตั กรรมและเครือ่ งมือเพ่ือสรา้ งคู่มือการใชน้ วัตกรรมและคู่มอื เพื่อการขยายผลให้กบั โรงเรยี นที่เป็นเครือข่ายตอ่ ไป ๒.) วตั ถุประสงค์๒.๑ เพือ่ พฒั นาส่ือและแหล่งเรยี นร้กู ารส่งเสริมความรอบรเู้ ร่ืองสขุ ภาวะผ่านการพัฒนาความสามารถดา้ นภาษาสาํ หรบั เด็กนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาในพ้นื ท่ี๒.๒ เพ่อื พัฒนานวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ทีส่ ่งเสรมิ ความรอบร้ดู ้านสุขภาวะผ่านการพัฒนาความสามารถดา้ นภาษาสําหรบั นักเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาในพ้ืนท่ี๒.๓ เพ่ือพฒั นาเคร่ืองมือและคู่มือการประเมินความสามารถด้านภาษาสําหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาในพืน้ ที่๒.๔ เพือ่ ประเมินผลการเรยี นรู้และถอดบทเรยี นการทํางานภายในโรงเรียน ผลผลติ๑. ไดส้ อ่ื และแหลง่ เรยี นรูก้ ารสง่ เสริมความรอบร้เู รื่องสขุ ภาวะผ่านการพฒั นาความสามารถด้านภาษาสาหรบัเดก็ นักเรียนช้นั ประถมศึกษาในพน้ื ท่ี อย่างน้อย 5 ชนดิ๒. ไดเ้ คร่อื งมือและคูม่ ือการประเมนิ ความสามารถด้านภาษาสาหรบั นกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาในพื้นท่ี อยา่ งน้อย 5 เลม่๓. ได้นวัตกรรมการจัดการเรียนรทู้ ี่ส่งเสรมิ ความรอบร้ดู า้ นสขุ ภาวะผ่านการพัฒนาความสามารถด้านภาษาสาหรับนักเรยี นชน้ั ประถมศกึ ษา อยา่ งน้อย 5 นวัตกรรม ผลลัพธ์ มรี ะบบการพฒั นาเครอ่ื งมอื คมู่ อื และนวัตกรมการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาทกั ษะการอ่านออกเขียนได้ เพอ่ื ส่งเสรมิ ความรอบรูแ้ ละภมู ปิ ัญญาดา้ นสุขภาวะอย่างตอ่ เนื่องและขยายผลสโู่ รงเรยี นใกล้เคียงได้

10 ๓) แนวทางการดาเนินงาน ประกอบดว้ ย ๓ ชดุ กิจกรรม ชุดกิจกรรมท่ี ๑ การพัฒนาเคร่ืองมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ท่ีเหมาะสมกบั พื้นที่ ๑. สร้างเคร่ืองมือส่ือนวัตกรรมการเรียนรู้เพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้โดยแบ่งส่ือนวัตกรรมการฯ เปน็ อยา่ งนอ้ ย ๕ ชนิดดังนี้ ๑.๑ สอ่ื นวัตกรรมการอา่ นออกเขียนไดส้ าหรับนักเรยี นทุกระดบั ช้นั ๑.๒ สื่อนวตั กรรมการอ่านออกเขียนได้สาหรบั นกั เรียนที่มคี วามพกพร่องหรอื พิเศษ ๑.๓ คู่มอื เครอื่ งมอื การจดั การเรยี นรู้เรอ่ื งการอ่านออกเขียนได้สาหรับครูที่ไม่จบเอก ภาษาไทย ๑.๔ คูม่ อื เคร่ืองมอื การจดั การเรียนรู้เรือ่ งการอา่ นออกเขียนได้สาหรบั ครทู ่จี บเอกภาษาไทย ๑.๕ ค่มู อื เคร่ืองมอื การจดั การเรยี นรู้เรอ่ื งการอ่านออกเขยี นได้สาหรับผปู้ กครองและชุมชน ทอ้ งถิน่ ๒. สร้างเครอ่ื งมือ คมู่ ือ ประเมินทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้ ๓. ทดลองใชน้ วัตกรรมเพ่ือพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ในโรงเรียน ๒ ภาคเรียน โดยมีการประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนใน ๓ ระยะ ได้แก่ ก่อน ระหว่างและสิ้นสุดการทดลองใช้นวัตกรรมและบันทกึ ผลการประเมินในฐานข้อมลู ออนไลน์ ๓.๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ทดลองใชน้ วัตกรรมเพื่อพัฒนาความรอบรู้สุขภาวะตามช่วงเวลาทโี่ รงเรยี นกาหนด ๓.๒ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๑ ทดลองใชน้ วัตกรรมเพื่อพฒั นาความรอบรู้ภูมปิ ัญญาสขุ ภาวะตามช่วงเวลาท่โี รงเรียนกาหนด และให้นักเรียนสร้างผลงานหนงั สือตานานชอ่ื หมูบ่ ้าน ตาบลและอาเภอ ภมู ิปญั ญา การดูแลสุขภาพและสุขภาวะ ตลอดจนการนาความรอบรู้ภมู ิปัญญาสุขภาวะมาจดั ทาเปน็ เพลงค่าวซอ ๔. พัฒนาเคร่อื งมือ คู่มือ นวัตกรรมและแบบประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้และความรอบรู้ สขุ ภาวะ ๕. พฒั นาเครื่องมอื คู่มอื นวตั กรรมความรอบรู้ภมู ิปญั ญาดา้ นสขุ ภาวะ

11 ชุดกจิ กรรมท่ี ๒ การประเมนิ และติดตามผลการจดั การเรยี นรูเ้ รอ่ื งการอ่านออกเขยี นได้ ๑. ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจดั การเรยี นรู้เรื่องการอ่านออกเขียนได้ผ่านระบบออนไลน์ ๒. สรุปผลการประเมิน ชุดกจิ กรรมที่ ๓ เวทถี อดบทเรยี น ๑. จัดเวทีถอดบทเรียน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ สังเคราะห์องค์ความรู้ท่ีได้จาการพัฒนาทักษะการอ่านออกเขยี นได้ ๒. คดั สรรสื่อและนวตั กรรมการจัดการเรยี นรเู้ รื่องการอา่ นออกเขียนได้เพ่ือนาไปใชก้ ับโรงเรยี นเครือขา่ ย ๓. จดั เวทเี ผยแพรน่ วตั กรรมการจดั การเรยี นรู้เร่อื งความรอบรภู้ มู ิปัญญาด้านสุขภาวะและนวตั กรรมการอ่านออกเขยี นได้

13.ผลผลติ ผลลพั ธ์ และตัวช้ีวดั ของโครงการที่ กจิ กรรมย่อยที่ ผลผลิต ผลลัพธ์ และตวั ช้วี ดั๑ กิจกรรมย่อยท่ี ๑ ผลผลติการพัฒนาระบบ กลไก การ ๓.๑ ค่มู อื การดาเนนิ งานโครงการพัฒนขั บ เ ค ล่ื อน ก า ร ด าเ นิ น ง า น การอา่ นออกเขียนไดแ้ ละคู่มอื การดาเน พัฒนาสุขภาวะผา่ นการอา่ นออกเขียนไโครงการ ๓.๒ ฐานขอ้ มลู การอา่ นออกเขยี นได้ ผลลพั ธ์ เกดิ ระบบกลไกการขับเคลอ่ื นโครงก ทักษะการอ่านออกเขยี นไดแ้ ละสขุ ภาวะ โรงเรยี นและชมุ ชน ตัวชว้ี ัดที่ ๑ ได้คู่มือการดาเนินงานโครงการพ การอ่านออกเขียนได้และคู่มือการด พฒั นาสขุ ภาวะผา่ นการอ่านออกเขียนไ

1๕ พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ถึง 10 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2562 ภาคเรยี นที่ 1/61 ภาคเรยี นที่ 2/61 ม.ี ค เม.ย พ..ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค ก.พนาทกั ษะนินงานได้การพัฒนาะในพัฒนาทักษะ ดาเนินงานได้

ท่ี กจิ กรรมย่อยที่ ผลผลิต ผลลพั ธ์ และตวั ชีว้ ัด๒ กจิ กรรมย่อยท่ี ๒ ผลผลติการพฒั นาส่ือ กจิ กรรมการ ๑. ไดส้ ื่อและแหลง่ เรียนรกู้ ารสง่ เสริมคเรียนรู้ และเครื่องมือประเมิน เร่อื งสุขภาวะผ่านการพฒั นาความสามาเพ่ือสง่ เสรมิ การอา่ นออกเขียนได้ ภาษาสาหรบั เด็กนักเรยี นชั้นประถมศึกร่วมกับภาคีเครือข่าย (โรงเรียน- อยา่ งน้อย 5 ชนิดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่นิ - ๒. ไดเ้ คร่ืองมือและคมู่ ือการประเมนิ ความสามารถด้านภาษาสาหรับนักเรยี นชมุ ชน-กลมุ่ ทางสังคม) ประถมศึกษาในพื้นท่ี อย่างน้อย 5 เลม่ ๓. ได้นวัตกรรมการจดั การเรียนรู้ทสี่ ง่ เ รอบรดู้ า้ นสุขภาวะผา่ นการพัฒนาความ ด้านภาษาสาหรับนกั เรียนชัน้ ประถมศกึ นอ้ ย 5 นวัตกรรม ผลลพั ธ์ มีระบบการพฒั นาเครือ่ งมอื คู่มอื นวัตกรรมการจัดการเรยี นรู้ เพือ่ พฒั นาทัก ออกเขยี นได้ เพื่อส่งเสรมิ ความรอบรแู้ ละภ ด้านสุขภาวะอย่างตอ่ เนอื่ งและขยายผลสโู่ ใกล้เคยี งได้

13 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2561 ถึง 10 กมุ ภาพันธ์ พ.ศ. 2562 ภาคเรยี นท่ี 1/61 ภาคเรยี นที่ 2/61 ม.ี ค เม.ย พ..ค ม.ิ ย ก.ค ส.ค ก.ย. ต.ค. พ.ย ธ.ค. ม.ค ก.พความรอบรู้ารถดา้ นกษาในพน้ื ท่ีนช้นัมเสริมความมสามารถกษา อยา่ งอและกษะการอา่ นภมู ิปญั ญาโรงเรยี น

ตวั ชว้ี ดัตัวชี้วัดท่ี ๑ ไดส้ ื่อและแหล่งเรียนรกู้ ารความรอบรเู้ ร่ืองสุขภาวะผ่านการพฒั นความสามารถด้านภาษาสาหรับเดก็ นกัประถมศกึ ษาในพนื้ ท่ี อย่างน้อย 5 ชนตัวช้วี ดั ที่ ๒ ไดเ้ คร่ืองมอื และคู่มือการความสามารถด้านภาษาสาหรับนกั เรยี นประถมศกึ ษาในพน้ื ท่ี อย่างน้อย 5 เลม่ตวั ชว้ี ัดท่ี ๓ ไดน้ วตั กรรมการจดั การเรสง่ เสริมความรอบรู้ด้านสุขภาวะผ่านกาความสามารถด้านภาษาสาหรับนกั เรียนประถมศกึ ษา อย่างนอ้ ย 5 นวัตกรรม

14รส่งเสริมนากเรียนชั้นนิดรประเมนิ นชั้นม รียนร้ทู ่ีารพัฒนา นช้นั

14.แผนการดาเนินงาน . 14.1รายละเอียดกิจกรรมกจิ กรรมย่อยท่ี ๑ การพัฒนาระบบ กลไก การขับเคล่ือนการดาเนนิ งานโครงการ ชุดกจิ กรรมที่ ๑ การสร้างทีมงาน ๑. แตง่ ต้ังคณะกรรมการดาเนินงานภายใน ๒. จดั ประชมุ คณะกรรมการการดาเนินงาน- ผู้อานวยการ- ฝ่ายวิชาการ- คณะครู ป.๑ – ๖- กรรมการสถานศกึ ษา- สมาคมผ้ปู กครองและศิษย์เกา่- สานกั ปลดั องค์การบริหารตาบลงมิ- ประธาน อสม.- เจา้ หนา้ ที่สถานบริการสาธารณสขุ ชุมชน๓. บนั ทึกข้อมลู ในฐานข้อมูล ๔. เผยแพรเ่ ครื่องมือและนวัตกรรม (ทักษะการอ่านออกเขียนได้ การส่งเสรมิ สุขภาวะ การเปิดบา้ นวิชาการ)กจิ กรรมย่อยที่ ๒ การพฒั นาสือ่ กิจกรรมการเรียนรู้ และเคร่อื งมือประเมินเพ่ือส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ร่วมกบั ภาคีเครอื ข่าย (โรงเรยี น-องคก์ รปกครองส่วนท้องถ่ิน-ชมุ ชน-กลุ่มทางสังคม ) ชุดกิจกรรมที่ ๑ การพัฒนาเคร่ืองมือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และประเมินทักษะการอ่านออกเขียนไดท้ ่เี หมาะสมกับพ้ืนที่ ๑. สร้างเคร่ืองมือส่ือนวัตกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้โดยแบ่งสื่อนวัตกรรมการฯ เปน็ อย่างนอ้ ย ๕ ชนดิ ดังน้ี ๑.๑ ส่ือนวตั กรรมการอ่านออกเขยี นได้สาหรบั นกั เรยี นทุกระดับชน้ั ๑.๒ สื่อนวัตกรรมการอ่านออกเขียนไดส้ าหรบั นักเรยี นท่ีมคี วามพกพร่องหรอื พเิ ศษ ๑.๓ คมู่ อื เคร่ืองมอื การจัดการเรียนรู้เรอ่ื งการอา่ นออกเขียนได้สาหรบั ครูท่ีไม่จบเอก ภาษาไทย ๑.๔ คู่มือ เครื่องมือการจดั การเรียนรู้เรอ่ื งการอา่ นออกเขยี นได้สาหรับครทู ่ีจบเอกภาษาไทย

16 ๑.๕ คู่มอื เคร่อื งมอื การจดั การเรยี นรู้เรอ่ื งการอา่ นออกเขยี นได้สาหรบั ผู้ปกครองและชมุ ชน ท้องถิ่น ๒. สรา้ งเครื่องมอื คมู่ ือ ประเมนิ ทักษะการอ่านออกเขียนได้ ๓. ทดลองใชน้ วัตกรรมเพ่อื พัฒนาทักษะการอ่านออกเขียนได้ในโรงเรียน ๒ ภาคเรียน โดยมีการประเมินทักษะการอ่านออกเขียนได้ของผู้เรียนใน ๓ ระยะ ได้แก่ ก่อน ระหว่างและส้ินสุดการทดลองใช้นวัตกรรมและบนั ทกึ ผลการประเมนิ ในฐานขอ้ มูลออนไลน์ ๓.๑ ภาคเรียนท่ี ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๑ ทดลองใชน้ วตั กรรมเพื่อพัฒนาความรอบรู้สขุ ภาวะตามช่วงเวลาทโี่ รงเรยี นกาหนด ๓.๒ ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ทดลองใช้นวัตกรรมเพ่ือพัฒนาความรอบรู้ภูมปิ ัญญาสุขภาวะตามชว่ งเวลาทโ่ี รงเรียนกาหนด และใหน้ ักเรยี นสร้างผลงานหนังสือตานานชอื่ หมู่บ้าน ตาบลและอาเภอ ภมู ิปญั ญา การดูแลสุขภาพและสุขภาวะ ตลอดจนการนาความรอบรู้ภมู ิปญั ญาสขุ ภาวะมาจดั ทาเป็นเพลงคา่ วซอ ๔. พัฒนาเครื่องมือ คู่มอื นวัตกรรมและแบบประเมนิ ทักษะการอ่านออกเขยี นได้และความรอบรู้ สุขภาวะ ๕. พฒั นาเคร่อื งมือ คู่มือ นวัตกรรมความรอบรูภ้ มู ิปญั ญาด้านสุขภาวะ ชุดกิจกรรมท่ี ๒ การประเมนิ และติดตามผลการจดั การเรยี นรู้เรอื่ งการอ่านออกเขียนได้ ๑. ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การเรียนร้เู ร่ืองการอ่านออกเขียนไดผ้ ่านระบบออนไลน์ ๒. สรุปผลการประเมนิ ชดุ กิจกรรมท่ี 3 เวทถี อดบทเรียน ๑. จัดเวทีถอดบทเรียน แลกเปล่ียนเรียนรู้ สังเคราะห์องค์ความรู้ที่ได้จาการพัฒนาทักษะการอา่ นออกเขียนได้ ๒. คดั สรรสอื่ และนวัตกรรมการจดั การเรียนร้เู ร่ืองการอา่ นออกเขียนไดเ้ พ่ือนาไปใชก้ ับโรงเรยี นเครอื ขา่ ย ๓. จัดเวทเี ผยแพร่นวัตกรรมการจัดการเรยี นร้เู รือ่ งความรอบร้ภู มู ปิ ัญญาด้านสุขภาวะและนวตั กรรมการอ่านออกเขยี นได้

17

15.แผนปฏิบัตกิ ารแต่ละกิจกรรมชุดกจิ กรรม กิจกรรม/ สอ กจิ กรรมย่อย โครงการยอ่ ย วัตการสร้างทมี งาน ๑. แตง่ ต้ังคณะกรรมการ ๑ ดาเนนิ งานภายใน ๒. จดั ประชมุ คณะกรรมการการ ดาเนนิ งาน - ผู้อานวยการ - ฝา่ ยวิชาการ - คณะครู ป.๑ – ๖ - กรรมการสถานศกึ ษา - สมาคมผู้ปกครองและศิษย์ เกา่ - สานกั ปลดั องค์การบรหิ าร ตาบลงมิ - ประธาน อสม. - เจ้าหนา้ ทส่ี ถานบริการ

อดคลอ้ งกับ ผดู้ าเนินการ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2ตถุประสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลกั ร่วม สนับสนนุ (มี.ค.61-ส.ค. ๑.๑ 61) 62) รร. อบต. ภาคที ่ี พ.ค. 61 ต.ค 61 เก่ียวขอ้ ง

ชดุ กิจกรรม กจิ กรรม/ สอ กจิ กรรมยอ่ ย โครงการยอ่ ย วัต สาธารณสุขชมุ ชน 1 1 ๓. บนั ทกึ ขอ้ มลู ในฐานข้อมลู ๔. เผยแพรเ่ คร่ืองมือและ นวตั กรรม (ทักษะการอา่ นออก เขียนได้ การสง่ เสริมสุขภาวะ การเปดิ บา้ นวชิ าการ)

19อดคลอ้ งกับ ผดู้ าเนินการ ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนที่ 2ตถุประสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลกั ร่วม สนบั สนุน (มี.ค.61-ส.ค. 61) 62)1.2 รร. อบต. ภาคที ี่ พ.ค 61 ต.ค 61 เก่ียวขอ้ ง1.3 รร. อบต. ภาคที ี่ ส.ค 61 ต.ค 61 เกีย่ วข้อง

ชุดกจิ กรรม กจิ กรรม/ สอ กิจกรรมยอ่ ย โครงการยอ่ ย วัตการพฒั นาเครอ่ื งมอื การ ๑. สร้างเครอื่ งมือส่ือ 2จดั กิจกรรมการเรยี นรู้ นวัตกรรมการเรียนรูเ้ พอื่ พฒั นาและประเมินทกั ษะการ ทักษะการอ่านออกเขยี นได้โดยอา่ นออกเขียนไดท้ ่ี แบ่งสือ่ นวัตกรรมการฯ เป็นอย่างเหมาะสมกบั พ้ืนท่ี นอ้ ย ๕ ชนดิ ดังนี้ ๑.๑ สื่อนวัตกรรมการอ่านออก เขยี นไดส้ าหรับนักเรยี นทกุ ระดับช้ัน ๑.๒ สือ่ นวตั กรรมการอ่านออก เขียนได้สาหรบั นักเรยี นท่มี ีความ พกพร่องหรือพิเศษ

20อดคล้องกบั ผู้ดาเนินการ ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 2ตถุประสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลกั รว่ ม สนบั สนนุ (มี.ค.61-ส.ค. 61) 62)2.1,2.2 รร. อบต. ภาคีท่ี พ.ค 61 ก.ย 61 2.3 เก่ยี วขอ้ ง

ชดุ กิจกรรม กจิ กรรม/ สอ กิจกรรมย่อย โครงการย่อย วัต ๑.๓ คมู่ อื เครือ่ งมอื การจัดการ เรยี นรู้เรื่องการอา่ นออกเขียนได้ สาหรบั ครูทไ่ี มจ่ บเอกภาษาไทย ๑.๔ ค่มู ือ เครื่องมือการจดั การ เรยี นรู้เร่อื งการอา่ นออกเขยี นได้ สาหรบั ครทู จี่ บเอกภาษาไทย ๑.๕ คมู่ อื เครือ่ งมือการจดั การ เรยี นรู้เรอื่ งการอา่ นออกเขยี นได้ สาหรับผปู้ กครองและชมุ ชน ทอ้ งถ่ิน ๒. สรา้ งเคร่ืองมอื คู่มือ ประเมนิ 2 2.1 ทกั ษะการอ่านออกเขยี นได้ ๓. ทดลองใช้นวตั กรรมเพื่อ พัฒนาทกั ษะการอา่ นออกเขยี นได้ ในโรงเรยี น ๒ ภาคเรยี น โดยมี การประเมนิ ทักษะการอา่ นออก เขยี นได้ของผเู้ รยี นใน ๓ ระยะ

21อดคลอ้ งกบั ผดู้ าเนนิ การ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2ตถปุ ระสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลกั ร่วม สนับสนุน (ม.ี ค.61-ส.ค. 61) 62)1, 2.2 2.3 ภาคีท่ี เม.ย - พ.ค 61 ก.ค – พ.ย 61 รร. อบต. เกี่ยวขอ้ ง

ชดุ กิจกรรม กิจกรรม/ สอ กจิ กรรมยอ่ ย โครงการย่อย วัต ได้แก่ ก่อน ระหวา่ งและสิน้ สุด การทดลองใช้นวัตกรรมและ บนั ทึกผลการประเมินใน ฐานข้อมูลออนไลน์ ๓.๑ ภาคเรยี นที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๑ ทดลองใช้นวตั กรรมเพ่อื พฒั นาความรอบรู้สขุ ภาวะตาม ชว่ งเวลาทโ่ี รงเรยี นกาหนด ๓.๒ ภาคเรียนท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ทดลองใชน้ วัตกรรมเพือ่ พฒั นาความรอบรู้ ภูมิปญั ญาสุขภาวะตามช่วงเวลาที่ โรงเรยี นกาหนด และให้นักเรียน สรา้ งผลงานหนังสือตานานชื่อ หมู่บ้าน ตาบลและอาเภอ ภมู ิ ปัญญา การดแู ลสุขภาพและสขุ ภาวะ ตลอดจนการนาความรอบรู้

22อดคล้องกบั ผดู้ าเนินการ ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรยี นที่ 2ตถุประสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลกั ร่วม สนับสนุน (มี.ค.61-ส.ค. 61) 62)

ชุดกิจกรรม กจิ กรรม/ สอ กจิ กรรมยอ่ ย โครงการยอ่ ย วัต ภูมิปัญญาสขุ ภาวะมาจดั ทาเป็น เพลงคา่ วซอ ๔. พฒั นาเคร่อื งมือ คู่มอื 2 นวัตกรรมและแบบประเมนิ ทกั ษะการอา่ นออกเขียนได้และ ความรอบรู้ สขุ ภาวะ 2.1, ๕ . พั ฒ น า เ ค รื่ อ ง มื อ คู่ มื อ 2 นวัตกรรมความรอบรู้ภูมิปัญญา ดา้ นสขุ ภาวะการประเมินและติดตาม ๑. ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การ 2ผลการจัดการเรียนรเู้ รือ่ ง เรียนรเู้ รือ่ งการอา่ นออกเขยี นได้ผา่ นการอ่านออกเขียนได้ ระบบออนไลน์ 2 ๒. สรุปผลการประเมินเวทีถอดบทเรียน ๑ . จั ด เ ว ที ถ อ ด บ ท เ รี ย น แลกเปล่ยี นเรียนรู้ สังเคราะห์องค์ ความรู้ที่ได้จาการพัฒนาทักษะ

23อดคลอ้ งกบั ผดู้ าเนนิ การ ภาคเรยี นท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2ตถปุ ระสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลกั ร่วม สนบั สนุน (ม.ี ค.61-ส.ค. 61) 62)2.3 รร. อบต. ภาคีท่ี เม.ย - พ.ค 61 ก.ย-พ.ย 61 เก่ียวข้อง,2.2,2.3,2.4 รร. อบต. ภาคที ่ี พ.ค – ส.ค 61 พ.ย 61 –ก.พ เก่ยี วขอ้ ง 622.4 รร. อบต. ภาคที ่ี พ.ค-ก.ย 61 พ.ค 61-ก.พ 62 เกยี่ วข้อง2.4 รร. อบต. ภาคที ี่ กย.61 กพ.๖2 เกย่ี วขอ้ ง

ชดุ กิจกรรม กิจกรรม/ สอ กิจกรรมย่อย โครงการยอ่ ย วตั การอา่ นออกเขียนได้ 2 ๒. คัดสรรสอื่ และนวตั กรรมการ จัดการเรียนรเู้ รื่องการอ่านออก เขียนไดเ้ พือ่ นาไปใช้กับโรงเรียน เครือข่าย ๓. จดั เวทีเผยแพร่นวตั กรรมการ จัดการเรียนรเู้ รื่องความรอบรูภ้ มู ิ ปัญญาดา้ นสุขภาวะและ นวัตกรรมการอา่ นออกเขยี นได้

24อดคลอ้ งกับ ผู้ดาเนินการ ภาคเรียนท่ี 1 ภาคเรียนท่ี 2ตถปุ ระสงค์ (ก.ย.61-ก.พ. หลัก ร่วม สนับสนนุ (ม.ี ค.61-ส.ค. 61) 62)2.4 รร. อบต. ภาคีท่ี ก.ย 61 ก.พ 62 เกีย่ วข้อง

16.งบประมาณงบประมาณ 40,000 บาท (สเ่ี หมนื่ บาทถว้ น) มรี ายละเอียดดังนี้ค่าดาเนินการประชมุ จานวน 1,680 บาทคา่ วัสดอุ ุปกรณ์ จานวน 38,320 บาทค่าวัสดอุ ุปกรณ์ ดังน้ี รายการ ราคา จานวน เป็นเงิน (บาท) (บาท) 40 ริม 4,400 12 หอ่ 5,400กระดาษถ่ายเอกสาร A 4 80 แกรม 110 12 ห่อ 3,240 12 อัน 720กระดาษร้อยปอนด์ A3 450 60 แผน่ 540 60 แผน่ 540กระดาษโฟโต้ 180 แกรม A 4 270 60 แผ่น 360 12 กระปุก 660กรรไกร 9 นวิ้ 60 3 อัน 1,500 36 แฟม้ 3,060กระดาษขาวเทา 9 60 โหล 2,700 18 ม้วน 3,420กระดาษชารท์ สี 9 12 แผน่ 2,040 30 แผน่ 1,200กระดาษสี 2 หนา้ 6 12 หอ่ 960 6 หอ่ 1,800กาวลาเทก็ ซ์ 32 ออนซ์ 55 1 เครอื่ ง 4,151 6 หอ่ 600ท่เี จาะกระดาษ NO 100XL 500 19 ม้วน 285 12 แผ่น 744แฟม้ โชวเ์ อกสาร A4 85 38,320ซองสอดพลาสติก A4 45เทปโฟมกาว 2 หน้า ยาว 5 เมตร 190ฟวิ เจอรบ์ อร์ดใหญ่ 170ฟวิ เจอร์บอร์ด ขนาด 65*122 ซม. 40กระดาษทาปกเคคลั เลอร์ 180 แกรม 80สตกิ เกอรโ์ ฟโต้ 300เครอื่ งเคลอื บเอกสาร A4 LMR-220 4,151พลาสติกเคลือบบตั ร 100เทปตีเสน้ พวี ีซี 9 มม.*10หลา คละสี 15ฟวิ เจอร์บอร์ดฉลุกลายพับ 3 ขนาด 62160*120 ซม. รวมเป็นเงินทั้งหมด

26 17.การกากับตดิ ตามและการประเมนิ ผล ๑7.๑ กลไกกากบั ติดตามกจิ กรรมต่างๆ โรงเรยี นบา้ นปัวแต่งต้ังคณะกรรมการ เพอ่ื การประเมนิ ผลเพ่ือการพฒั นา (ประเมนิ ผลการดาเนินงาน/ติดตามความกา้ วหนา้ ) และแลกเปลย่ี นเรียนร้เู พื่อการเสริมพลัง ๑7.๒ การประเมินโครงการ โดยจัดทาค่มู ือการประเมิน และใชร้ ะบบการประเมินภายใน ๑7.๓ ระยะเวลารายงานผลทช่ี ดั เจน ๑) รายงานความก้าวหนา้ ทุก ๖ เดอื น ๒) ลงพ้ืนทต่ี ดิ ตามประเมินภายใน ๓) สรุปผลการติดตามประเมินภายใน ๔) จัดทารายงานและนาเสนอผลการตดิ ตามประเมนิ เพ่ือการพัฒนาและต่อยอดเชงิ นโยบายทั้งในระดับโรงเรียน ระดบั ตาบลและระดบั เครือข่าย ๑7.๔ การกากับติดตามและการประเมนิ ผลของโครงการ โดยผ้ปู ระเมนิ ผลภายนอก ตามหลกั เกณฑ์การจดั สรรหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการจัดสรรเงนิ เพื่อการสนับสนุนโครงการและกิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๙ ของ สสส.18.ผลที่คาดวา่ จะได้รบั ๑๘.๑ เด็กนกั เรยี นโรงเรยี นบา้ นปัว สามารถอา่ นออกเขยี นได้ ๑๘.๒ นวตั กรรมเพอื่ พัฒนาทักษะการอา่ นออกเขียนได้สามารถนาไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ทั้งในชุมชน โรงเรยี น เพ่ือให้เกดิ การพฒั นาอย่างยง่ั ยืน ตลอดไป19.รายละเอยี ดของผรู้ ับผดิ ชอบโครงการ1. นายยศวัจน์ โพธิถนิ ะพงศ์ ตาแหน่งผอู้ านวยการโรงเรยี น2. นางรนิ ทร์ลภัส ปัญทวงศ์ ตาแหนง่ หวั หน้างานวชิ าการ3. นางสาวกรรณกิ าร์ ภูมิภริ มณ์ขวญั ตาแหน่งหวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook