Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วย2_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

หน่วย2_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

Published by chatchadaporn Honglary, 2021-08-01 03:22:48

Description: หน่วย2_พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา

Search

Read the Text Version

หน่วยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ท่ี ๒ หน่วยกำรเรยี นรู้ที่ ๓ ประวัตศิ าสตร์ ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม หนว่ ยกำรเรียนรูท้ ี่ ๔ หนว่ ยกำรเรยี นรู้ท่ี ๕ หน่วยกำรเรียนรูท้ ่ี ๖ ๑_หลกั สูตรวชิ าประวตั ิศาสตร์ ๒_แผนการจดั การเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ขอ้ สอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๗_การวดั และประเมนิ ผล ๘_เสรมิ สาระ ๙_สื่อเสรมิ การเรยี นรู้ บรษิ ัท อักษรเจริญทศั น์ อจท. จำกดั : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรงุ เทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๒หนว่ ยการเรียนรู้ที่ พฒั นาการของอาณาจักรอยุธยา จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ๑. วเิ ครำะห์พฒั นำกำรของอำณำจกั รอยุธยำและธนบรุ ใี นดำ้ นต่ำงๆ ได้ ๒. วิเครำะหป์ ัจจัยทส่ี ง่ ผลต่อควำมม่นั คงและควำมเจรญิ รุ่งเรอื งของอำณำจักรอยธุ ยำได้ ๓. ระบภุ มู ปิ ัญญำและวฒั นธรรมไทยสมัยอยธุ ยำ และอิทธิพลของภูมปิ ัญญำดงั กลำ่ วตอ่ กำรพัฒนำชำตไิ ทยในยคุ ต่อมำได้

การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา ชุมชนไทยในลุม่ แม่นา้ เจ้าพระยาตอนลา่ งก่อนการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา แควน้ สุพรรณภมู ิ (สุพรรณบรุ ี) • มอี ำณำบรเิ วณตัง้ อยู่ทำงดำ้ นตะวนั ตกของลุ่มแมน่ ำ้ เจ้ำพระยำ ตอนลำ่ ง โดยมลี ุ่มแมน่ ้ำท่ำจีนไหลลงส่อู ่ำวไทย • มพี ัฒนำกำรสบื เนอ่ื งมำเป็นเวลำหลำยร้อยปี และเคยเป็นทตี่ ้งั ชมุ ชน โบรำณหลำยแห่ง เชน่ เมอื งอู่ทอง • มหี ลกั ฐำนท่ีแสดงใหเ้ ห็นถึงกำรนบั ถอื พระพทุ ธศำสนำนิกำยเถรวำท ลัทธลิ งั กำวงศ์ และพระพุทธศำสนำนกิ ำยมหำยำน เชน่ พระปรำงค์ ท่ีวดั มหำธำตุ

ชมุ ชนไทยในลมุ่ แม่นา้ เจา้ พระยาตอนลา่ งก่อนการสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา (ตอ่ ) แคว้นละโว้ (ลพบรุ ี) • ไดร้ บั อิทธพิ ลของทวำรวดี มคี วำมเจรญิ ร่งุ เรอื งทำงวัฒนธรรม โดยเฉพำะอยำ่ งย่งิ วัฒนธรรมกำรนับถอื พระพทุ ธศำสนำท่รี ุ่งเรอื ง มำกท่ีสุด • มีกำรรบั วฒั นธรรมขอม ซ่ึงในภำยหลังมกี ำรยอมรับนบั ถอื ศำสนำ พรำหมณ์-ฮินดู และนับถอื พระพทุ ธศำสนำนกิ ำยมหำยำน • เมอ่ื อำณำจกั รขอมเส่อื มลง ไดต้ ้ังตัวเป็นอสิ ระ หลงั จำกขอมเสื่อม อิทธิพลลง และตอ่ มำได้ถูกลดควำมสำคัญลง ทำใหอ้ โยธยำขึ้นมำ มอี ำนำจแทน

การสถาปนาอาณาจกั รอยธุ ยา • อำณำจกั รอยุธยำเกิดขนึ้ จำกกำรรว่ มมอื กันของแควน้ สพุ รรณภมู ิ (สุพรรณบรุ ี) และแคว้นละโว้ (ลพบรุ ี) ซง่ึ ทงั้ สองแควน้ เปน็ ศูนยร์ วมอำนำจทำงกำรเมืองในบริเวณภำคกลำงของประเทศไทย ในปจั จบุ นั • กำรสถำปนำกรุงศรีอยธุ ยำเปน็ รำชธำนีใน พ.ศ. ๑๘๙๓ ของสมเดจ็ พระรำมำธิบดที ี่ ๑ (อูท่ อง) ปรำกฏหลกั ฐำนว่ำกรุงศรีอยุธยำต้ังข้นึ ในเมืองเก่ำเดมิ ทมี่ ีชอื่ ว่ำ อโยธยา ซ่ึงมีมำก่อน และเปน็ เมืองที่ตง้ั อยรู่ ะหว่ำงเมืองสุพรรณบุรีกับเมืองลพบรุ ี

ประวัติความเป็นมาของพระเจา้ อู่ทอง ขอ้ สนั นษิ ฐานจากการบอกท่มี าของพระเจา้ อ่ทู องแตกต่างกัน สมเด็จฯ กรมพระยาดารงราชานภุ าพ พระราชนิพนธ์ใน พงศาวดารกรุงศรีอยุธยา พระบาทสมเดจ็ พระจอมเกล้าเจา้ อย่หู วั ฉบบั ฟาน ฟลีต หรอื วัน วลติ • พระเจ้ำอทู่ องสบื เช้อื สำยมำจำกพระเจำ้ • พระเจำ้ อทู่ องเป็นรำชบุตรเขยของพระ • พระเจ้ำอทู่ องเปน็ พระรำชโอรสของพระ ชัยศริ ทิ ีเ่ คยครองเมืองฝำง (ปจั จุบนั อยู่ เจ้ำแผน่ ดนิ จีน แล้วถกู เนรเทศมำอยทู่ ่ี เจำ้ ศริ ิชยั เชยี งแสน ปตั ตำนี และเดินทำงผำ่ นมำทำงเมือง ในเขต จ.เชยี งใหม่) ละคร(นครศรธี รรมรำช) กยุ บุรี (ใน จ. • ตอ่ มำไดร้ บั รำชสมบตั ิครองรำชยอ์ ยู่ ๖ ปี ประจวบฯ) และมำสรำ้ งเมืองพริบพรี • มีกำรเชือ้ สำยสืบรำชสมบตั ติ ่อมำหลำย (เพชรบรุ ี) ภำยหลงั จงึ ไดม้ ำสรำ้ งเมอื ง ได้เกิดโรคหำ่ (อหิวำตกโรค) จงึ ทรงย้ำย อยธุ ยำ รนุ่ จึงได้เกิดพระเจำ้ อู่ทอง รำชธำนีมำต้งั ที่เมืองศรอี ยุธยำ

ปจั จัยสาคัญในการสถาปนากรุงศรอี ยุธยาเปน็ ราชธานี ๑ ความสมั พนั ธฉ์ นั เครือญาติระหว่างแควน้ สพุ รรณภูมิกบั แคว้นละโว้ ๒ ทาเลทีต่ ง้ั ของกรุงศรีอยุธยาเป็นท่ีทีเ่ หมาะสม ๓ กรุงศรีอยธุ ยาอย่ใู กลป้ ากแม่นา้ ตดิ ทะเล มีความสะดวกในการคา้ ขายกบั ชาวต่างชาติ ๔ การเสือ่ มอานาจลงของอาณาจกั รเขมร จึงไดส้ ถาปนากรุงศรอี ยธุ ยาเป็นศนู ย์กลางอาณาจกั รใหม่

ปัจจยั ทม่ี ผี ลตอ่ ความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา ปัจจยั สาคัญท่ีเออ้ื อานวยตอ่ พัฒนาการตา่ งๆ ของอาณาจกั รอยธุ ยา มดี ังนี้ แหล่งอารยธรรมดง้ั เดิม ได้รับอำรยธรรมเดมิ ก่อนมีกำรต้ังอำณำจักร มำปรับใช้เข้ำกับอำรยธรรมใหมท่ ี่อยธุ ยำ สภาพภูมปิ ระเทศ สร้ำงขึ้นมำ สภาพภูมอิ ากาศ กรงุ ศรีอยุธยำต้งั อย่บู รเิ วณทร่ี ำบลมุ่ มแี ม่น้ำไหลผำ่ น จงึ เหมำะแก่กำรเพำะปลกู และกำร ค้ำขำย อำณำจักรอยุธยำตง้ั อยู่ในเขตรอ้ นช้ืน มีลมมรสุมพัดผำ่ น ทำให้มีฝนตกชุก สง่ ผลให้มีแหลง่ น้ำอดุ มสมบูรณ์ การต้งั อยู่กึ่งกลางเส้นทางเดนิ เรือ อำณำจักรอยุธยำไดป้ ระโยชน์ จำกกำรคำ้ ขำยและรับอำรยธรรมจำกจนี และอินเดีย ระหวา่ งอินเดียกับจนี ทรพั ยากรธรรมชาติ อยุธยำมีทรัพยำกรธรรมชำตอิ ดุ มสมบรู ณ์ เช่น ผักผลไม้ ปลำนำ้ จดื และปลำทะเล แร่ธำตุ ไมห้ ำยำก ซง่ึ เปน็ ท่ีต้องกำรของพอ่ คำ้ ตำ่ งชำติ พระปรชี าสามารถของพระมหากษัตรยิ ์ เพรำะพระปรีชำสำมำรถของพระมหำกษัตริยห์ ลำยพระองค์ ทท่ี ำใหอ้ ยุธยำรอดพน้ จำก ภยั คุกคำมจำกภำยนอกได้

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตรข์ องอาณาจักรอยธุ ยา พัฒนาการดา้ นการเมืองการปกครอง พัฒนาการทางด้านการเมอื งการปกครองของไทยสมยั อยุธยา มพี ระมหากษตั รยิ ์ปกครองราชอาณาจักรทงั้ หมด ๓๓ พระองค์ ใน ๕ ราชวงศ์ รายพระนาม ราชวงศ์ ปีทค่ี รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี) ๑.สมเด็จพระรำมำธิบดที ่ี ๑ (อทู่ อง) อทู่ อง พ.ศ.๑๘๙๓ - ๑๙๑๒ ๑๙ ๒.สมเด็จพระรำเมศวร อู่ทอง พ.ศ.๑๙๑๒ - ๑๙๑๓ ๑ ๓.สมเด็จพระบรมรำชำธริ ำชท่ี 1 (ขุนหลวงพงวั่ ) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๑๙๑๓ - ๑๙๓๑ ๑๘ ๔.สมเด็จพระเจ้ำทองลนั สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๑๙๓๑ - ๑๙๓๑ ๗ วนั สมเด็จพระรำเมศวร (คร้งั ที่ ๒) อู่ทอง พ.ศ. ๑๙๓๑ - ๑๙๓๘ ๘ ๕.สมเด็จพระรำมรำชำธริ ำช อทู่ อง พ.ศ.๑๙๓๘ - ๑๙๕๒ ๑๕

รายพระนาม ราชวงศ์ ปที ีค่ รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี) ๖.สมเดจ็ พระอนิ ทรำชำ (เจ้ำนครอินทร์) สุพรรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๕๒ - ๑๙๖๗ ๗.สมเดจ็ พระบรมรำชำธริ ำชท่ี ๒ (เจำ้ สำมพระยำ) สพุ รรณภูมิ พ.ศ. ๑๙๖๗ - ๑๙๙๑ ๑๖ ๘.สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถ สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๑๙๙๑ - ๒๐๓๑ ๒๔ ๙.สมเด็จพระบรมรำชำธิรำชที่ ๓ สุพรรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๓๑ - ๒๐๓๔ ๔๐ ๑๐.สมเดจ็ พระรำมำธิบดีที่ ๒ สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๓๔ - ๒๐๗๒ ๓ ๑๑.สมเด็จพระบรมรำชำธิรำชท่ี ๔ (หน่อพุทธำงกูร) สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๒ - ๒๐๗๖ ๓๘ ๑๒.พระรษั ฎำธริ ำช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ.๒๐๗๖ - ๒๐๗๗ ๔ ๑๓.สมเดจ็ พระชยั รำชำธริ ำช สพุ รรณภูมิ พ.ศ.๒๐๗๗ - ๒๐๘๙ ๕ เดือน ๑๔.พระยอดฟำ้ (พระแกว้ ฟ้ำ) สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๒๐๘๙ - ๒๐๙๑ ๑๒ ขนุ วรวงศำธิรำช ๒ - - -

รายพระนาม ราชวงศ์ ปีท่คี รองราชย์ รวมระยะเวลา (ปี) ๑๕.สมเดจ็ พระมหำจักรพรรดิ สุพรรณภูมิ พ.ศ. ๒๐๙๑ - ๒๑๑๑ ๑๖.สมเด็จพระมหินทรำธิรำช สพุ รรณภมู ิ พ.ศ. ๒๑๑๑ - ๒๑๑๒ ๒๐ ๑๗.สมเดจ็ พระมหำธรรมรำชำธริ ำช พ.ศ.๒๑๑๒ - ๒๑๓๓ ๑ ๑๘.สมเด็จพระนเรศวรมหำรำช สุโขทัย พ.ศ.๒๑๓๓ - ๒๑๔๘ ๒๑ ๑๙.สมเดจ็ พระเอกำทศรถ สุโขทยั พ.ศ.๒๑๔๘ - ๒๑๕๓ ๑๕ ๒๐.พระศรีเสำวภำคย์ สุโขทัย พ.ศ.๒๑๕๓ - ๒๑๕๔ ๕ ๒๑.สมเด็จพระเจำ้ ทรงธรรม สุโขทัย พ.ศ.๒๑๕๔ - ๒๑๗๑ ๑ ปเี ศษ ๒๒.สมเด็จพระเชษฐำธิรำช สโุ ขทัย พ.ศ.๒๑๗๑ - ๒๑๗๒ ๑๘ ๒๓.พระอำทิตยวงศ์ สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๗๒ ๘ เดอื น ๒๔.สมเด็จพระเจำ้ ปรำสำททอง สโุ ขทยั พ.ศ.๒๑๗๒ - ๒๑๙๙ ๓๘ วนั ปรำสำททอง ๒๕

รายพระนาม ราชวงศ์ ปที ค่ี รองราชย์ รวมระยะเวลา (ป)ี ๒๕.สมเดจ็ เจำ้ ฟำ้ ชัย ปรำสำททอง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๑๙๙ ๒๖.สมเด็จพระศรสี ธุ รรมรำชำ ปรำสำททอง พ.ศ. ๒๑๙๙ - ๒๑๙๙ ๓-๕ วัน ๒๗.สมเดจ็ พระนำรำยณ์มหำรำช ปรำสำททอง พ.ศ.๒๑๙๙ - ๒๒๓๑ ๒ เดือน ๒๘.สมเดจ็ พระเพทรำชำ บำ้ นพลูหลวง พ.ศ.๒๒๓๑ - ๒๒๔๖ ๒๙.สมเดจ็ พระสรรเพ็ชญท์ ่ี ๘ (พระเจำ้ เสือ) บำ้ นพลหู ลวง พ.ศ.๒๒๔๖ - ๒๒๕๑ ๓๒ ๓๐.สมเด็จพระสรรเพช็ ญ์ที่ ๙ (พระเจ้ำอยูห่ วั ท้ำยสระ) บ้ำนพลูหลวง พ.ศ.๒๒๕๑ - ๒๒๗๕ ๑๔ บำ้ นพลูหลวง พ.ศ.๒๒๗๕ - ๒๓๐๑ ๖ ๓๑.สมเด็จพระบรมรำชำธริ ำชที่ ๓ (พระเจ้ำอยู่หวั บรมโกศ) บำ้ นพลหู ลวง พ.ศ.๒๓๐๑ - ๒๓๐๑ ๒๓ บำ้ นพลูหลวง พ.ศ.๒๓๐๑ - ๒๓๑๐ ๒๖ ๓๒.สมเดจ็ พระเจำ้ อุทุมพร (ขนุ หลวงหำวดั ) ๒ เดือน ๙ ๓๓.สมเด็จพระท่นี งั่ สรุ ยิ ำมรินทร์ (พระเจำ้ เอกทศั )

ลักษณะการเมืองการปกครองสมยั อยธุ ยา ๑ พระมหากษตั ริย์ทรงมีพระราชอานาจสูงสดุ ในการปกครอง ทรงเปน็ พระประมขุ ของอาณาจักร ๒ ทรงเป็นสมมตเิ ทพตามความเช่ือในศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู และเป็นธรรมราชาตามคติความเชือ่ ใน พระพทุ ธศาสนาดว้ ย

รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนต้น น การบรหิ ารราชการแผ่นดินสว่ นกลาง • กรุงศรอี ยธุ ยำเป็นรำชธำนี และเปน็ ศนู ยก์ ลำงของกำรกำรปกครอง • มีเมืองหน้ำด่ำน ๔ ทิศ เพอ่ื ปอ้ งกันภัยยำมข้ำศกึ รกุ รำน ลพบรุ ี สุพรรณบรุ ี อยุธยา นครนายก พระประแดง

การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ส่วนกลาง • ในเขตรำชธำนที ี่กรุงศรอี ยธุ ยำ มเี สนำบดี ๔ ตำแหน่ง เรยี กว่ำ จตุสดมภ์ • จตุสดมภ์รบั ผดิ ชอบดแู ลกำรบรหิ ำรรำชกำรแผ่นดนิ ตำมพระบรมรำชโองกำรของพระมหำกษตั รยิ ์ • จตุสดมภ์ แบ่งออกเป็น ๔ หน่วยงำน ดังนี้ จตุสดมภ์ กรมเวียง (เมอื ง) กรมวัง กรมคลงั กรมนา

หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งช้ันนอก การบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ สว่ นหัวเมือง ราชธานี หัวเมืองชน้ั ใน หวั เมอื งประเทศรำช • อยู่ไม่ไกลจำกรำชธำนี • ทำงรำชธำนีจะแต่งต้งั “ผ้รู ั้ง” ไปปกครอง • เช่น เมอื งรำชบุรี สิงหบ์ รุ ี ชยั นำท หัวเมอื งชั้นนอก (เมืองพระยามหานคร) • อยหู่ ่ำงไกลจำกรำชธำนี • มีเจำ้ เมอื งท่ีสบื ทอดทำงสำยเลอื ดเปน็ ผ้ปู กครอง หัวเมืองประเทศราช • มกี ำรปกครองเป็นอสิ ระแกต่ นเอง • ต้องส่งเครือ่ งรำชบรรณำกำรไปถวำยพระมหำกษตั ริยอ์ ยธุ ยำ • เมอื งนครศรธี รรมรำช เมอื งสโุ ขทัย

รปู แบบการปกครอง สมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถ การบริหารราชการแผน่ ดินส่วนกลาง พระมหากษตั รยิ ์ สมหุ พระกลาโหม ดแู ลกจิ กำรฝ่ำยทหำรท่วั รำชอำณำจักร สมุหนายก ดูแลฝำ่ ยพลเรอื นทั่วรำชอำณำจกั ร รวมทัง้ ดแู ลจตุสดมภ์

หวั เมอื งชัน้ ใน หวั เมอื งช้ันนอก การบริหารราชการแผ่นดินสว่ นหัวเมอื ง ราชธานี หวั เมืองช้นั ใน หวั เมอื งประเทศรำช • ยกเลกิ เมืองลกู หลวงทง้ั ๔ ทิศ • ขยำยขอบเขตโดยให้เมืองลกู หลวงเข้ำกบั เมืองในวงรำชธำนี เปน็ เมอื งชั้นจตั วำ • มีผู้รงั้ กบั กรมกำรเมอื งปกครอง หวั เมืองชน้ั นอก (เมืองพระยามหานคร) • มกี ำรจัดเมืองเปน็ ช้นั เอก ชัน้ โท ช้นั ตรี • มีขุนนำงชน้ั สงู เป็นผ้สู ำเร็จรำชกำรเมอื ง หัวเมืองประเทศราช • ลกั ษณะกำรปกครองยงั คงเป็นแบบเดียวกับสมัยอยธุ ยำตอนตน้ • เช่น เมืองทวำย ตะนำวศรี เชยี งกรำน เขมร

รปู แบบการปกครองสมยั อยุธยาตอนปลาย พระมหากษตั รยิ ์ สมหุ นายก สมุหพระกลาโหม หัวเมืองฝ่ำยเหนือ หวั เมืองฝา่ ยใต้ (ทหำร - พลเรือน) (ทหาร - พลเรือน) กรมสังกดั ฝ่ำยทหำร กรมนครบำล กรมวัง กำรคลัง กรมคลงั หัวเมืองชำยทะเลตะวันออก (ทหำร - พลเรือน) กรมนำ

พฒั นาการด้านเศรษฐกิจ ปัจจยั ที่สง่ เสริมความเจรญิ ทางเศรษฐกิจในสมยั อยุธยา ๑ ทาเลและท่ตี งั้ ของกรงุ ศรีอยธุ ยาและหัวเมืองต่างๆ ใกลเ้ คยี ง ซ่งึ เหมำะแกก่ ำรเพำะปลูกโดยเฉพำะกำร ปลูกข้ำว ๒ การอยใู่ กลอ้ า่ วไทย ทำให้พอ่ ค้ำต่ำงชำติติดต่อคำ้ ขำยกับอยธุ ยำไดส้ ะดวก ๓ พระบรมราโชบายของพระมหากษัตริย์ ที่ช่วยดึงดดู ใหพ้ อ่ คำ้ ชำวตำ่ งชำตเิ ข้ำมำค้ำขำยกับอยธุ ยำ

ลักษณะทางเศรษฐกจิ ในสมยั อยุธยา เกษตรกรรม • ผลิตผลทำงกำรเกษตรทส่ี ำคญั คอื ขำ้ ว นอกจำกนี้ยังมีผลติ ผลจำก ป่ำ เช่น ไมฝ้ ำง นอแรด งำชำ้ ง ครง่ั หนงั สตั ว์ ยำงสน ไม้กฤษณำ เปน็ ต้น การค้าขาย • เป็นกำรคำ้ ขำยโดยกำรใช้เรอื สำเภำ ซึ่งดำเนินกำรโดยพระมหำกษตั รยิ ์ กบั ตา่ งประเทศ พระรำชวงศ์ ขุนนำง และพอ่ ค้ำจนี นอกจำกนย้ี ังตดิ ต่อคำ้ ขำยกบั ชำวตะวนั ตกอีกด้วย ได้แก่ โปรตเุ กส ฮอลันดำ อังกฤษ และฝรั่งเศส

การแสวงหารายได้ของแผ่นดนิ ด้วยการเกบ็ ภาษีอากร ๑ จงั กอบ • รำยไดท้ ่ีเก็บตำมดำ่ นขนอนท้ังทำงบกและทำงนำ้ โดยเก็บชกั สว่ นสินคำ้ ๒ อากร • รำยได้ที่เกิดจำกกำรเก็บส่วนผลประโยชนใ์ นกำรประกอบอำชีพตำ่ งๆ ของ รำษฎร เชน่ กำรทำนำ ทำไร่ ทำสวน เป็นตน้ ๓ สว่ ย • รำยได้จำกสิ่งของ ทร่ี ำษฎรนำมำให้กับทำงรำชกำรแทนกำรถูกเกณฑ์ แรงงำน เช่น สว่ ยดีบกุ ๔ ฤชา • รำยได้ที่ได้จำกค่ำธรรมเนียมท่ที ำงรำชกำรเกบ็ จำกรำษฎร

พฒั นาการดา้ นสังคม ความเปน็ มาของสงั คมศักดินาสมัยอยธุ ยา ความหมายของศักดนิ า • ศกั ดนิ า หมำยถงึ เคร่ืองกำหนดสทิ ธแิ ละหนำ้ ทขี่ องบคุ คลในสังคม เพอ่ื จำแนกให้เหน็ ถึงควำมแตกต่ำงในเร่อื งสทิ ธแิ ละหน้ำที่ ของบุคคลตำมศักดนิ ำ เช่น ผมู้ ีศักดินำ ๔๐๐ ขน้ึ ไปมสี ทิ ธิเขำ้ เฝำ้ ได้ แต่ต่ำกวำ่ ๔๐๐ ไม่มสี ิทธเิ ข้ำเฝ้ำ ประโยชน์ของศักดินา • กฎหมำยศักดินำ บงั คบั ใช้เมือ่ พ.ศ. ๑๙๙๗ โดยกำหนดให้บคุ คลทุกประเภทในสังคมไทย มีศกั ดินำด้วยกันทัง้ สิ้นแตกตำ่ งกนั ไปตำมฐำนะอำนำจและหนำ้ ท่ีควำมรับผดิ ชอบ ยกเว้นพระมหำกษัตรยิ ซ์ ง่ึ มิไดร้ ะบุศักดินำเพรำะพระองค์ทรงเป็นเจำ้ ของศักดิ นำท้ังปวง • ระบบศกั ดนิ ำมีประโยชนใ์ นกำรควบคุมบงั คบั บัญชำผู้คนตำมลำดับชนั้ และมอบหมำยให้คนมีหน้ำทรี่ บั ผดิ ชอบตำมท่ีกำหนด เอำไว้ และเมอ่ื บคุ คลทำผิดตอ่ กนั ก็สำมำรถใชเ้ ป็นหลกั ในกำรปรับไหมได้ เชน่ ถ้ำผ้มู ีศักดินำสูงทำควำมผดิ ตอ่ ผู้มศี ักดินำตำ่ กว่ำ ก็จะปรบั ไหมตำมศกั ดินำของผมู้ ศี ักดนิ ำสงู กว่ำถ้ำผมู้ ีศักดินำต่ำกว่ำทำผิดตอ่ ผู้มีศักดนิ ำสงู กว่ำกป็ รับไหมผู้ทท่ี ำผิดตำมศักดนิ ำ ของผูท้ ่มี ศี กั ดนิ ำสงู กวำ่

ลกั ษณะโครงสรา้ งสงั คมไทยสมยั อยธุ ยา พระมหากษตั รยิ ์ พระภกิ ษุสงฆ์ พระประมขุ ของรำชอำณำจกั ร ทรงไดร้ ับกำรยกยอ่ งให้เป็นสมมตเิ ทพ และทรงเปน็ ธรรมรำชำ ทำหนำ้ ทใ่ี นกำรสืบทอดพระพทุ ธศำสนำ ไดร้ ับกำรยกย่อง และศรทั ธำจำกบคุ คลทุกชนช้ัน พระบรมวงศานุวงศ์ เครอื ญำติของพระมหำกษตั รยิ ์ มศี กั ดินำแตกต่ำงกันไปตำมฐำนะ ขนุ นาง บคุ คลทร่ี ับรำชกำรแผน่ ดนิ มีทั้งศกั ดนิ ำ ยศ รำชทนิ นำม และตำแหนง่ ไพร่ รำษฎรทถี่ กู เกณฑแ์ รงงำนใหก้ บั ทำงรำชกำร ต้องสงั กดั มูลนำย ทาส บุคคลทีไ่ ม่มกี รรมสิทธ์ใิ นแรงงำน และชวี ติ ของตนเอง ตอ้ งตกเป็นของนำยจนกวำ่ จะได้ไถ่ตัว

พัฒนาการดา้ นความสมั พันธ์ระหวา่ งประเทศ ....กบั รฐั ที่อย่ใู กลเ้ คียง ความสัมพันธก์ บั สโุ ขทยั • มีท้งั กำรใช้นโยบำยกำรสร้ำงไมตรี กำรเผชิญหน้ำทำงทหำร และนโยบำยกำรสรำ้ งควำมสัมพนั ธ์ทำงเครือญำติ • อยุธยำใช้กำรเผชิญหนำ้ ทำงทหำรกบั สุโขทยั มำตงั้ แต่สมยั สมเดจ็ พระรำมำธิบดีท่ี ๑ (อทู่ อง) และสมัยสมเดจ็ พระบรม รำชำธริ ำชท่ี ๑ (ขุนหลวงพงั่ว) • สมัยสมเดจ็ พระอินทรำชำ (เจำ้ นครอินทร)์ ทรงแกไ้ ขปัญหำจลำจลที่สโุ ขทัย ทำใหส้ โุ ขทยั กลับมำอยใู่ ต้อำนำจของ อยุธยำ และทรงสร้ำงควำมสัมพันธท์ ำงเครอื ญำตโิ ดยใหพ้ ระรำชโอรส คอื เจำ้ สำมพระยำอภิเษกกบั เจ้ำหญิงเชอ้ื สำย รำชวงศพ์ ระรว่ ง • สมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนำถทรงผนวกรวมสุโขทยั เข้ำเปน็ สว่ นหนง่ึ ของอยธุ ยำ

ความสมั พนั ธ์กบั ล้านนา • เปน็ กำรเผชญิ หน้ำทำงทหำร ในสมยั สมเดจ็ พระบรมรำชำธิรำชที่ ๑ (ขนุ หลวงพง่ัว) เป็นต้นมำ อยธุ ยำได้รบกับลำ้ นนำ แตไ่ ม่ประสบควำมสำเรจ็ • สมัยสมเด็จพระชยั รำชำธริ ำช อยธุ ยำไดย้ ึดลำ้ นนำเปน็ เมอื งประเทศรำช แต่สุดท้ำยกต็ อ้ งเปน็ เมอื งประเทศรำชของพมำ่ • สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหำรำช อยุธยำไดล้ ำ้ นนำกลับมำเปน็ เมืองประเทศรำช • หลงั จำกสมยั สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชเปน็ ต้นไป ลำ้ นนำก็เรมิ่ แยกตวั เป็นอิสระบ้ำง เปน็ ประเทศรำชของพม่ำบำ้ ง ของอยธุ ยำบ้ำง ความสัมพนั ธ์กบั พม่า • ส่วนใหญเ่ ปน็ กำรเผชิญหน้ำทำงทหำร โดยเรม่ิ ตน้ ในสมัยสมเดจ็ พระชยั รำชำธริ ำช อยุธยำได้ช่วยเมืองเชียงกรำนของ มอญท่ขี นึ้ กับอยธุ ยำรบกบั พม่ำ • สมัยสมเด็จพระมหำธรรมรำชำธริ ำช พระนเรศวรทรงประกำศอสิ รภำพท่ีเมอื งแครง • สมยั สมเด็จพระนเรศวรมหำรำชทรงทำสงครำมยุทธหัตถีกบั พระมหำอปุ รำชำของพม่ำ หลงั สมยั นี้ไปอยธุ ยำว่ำงเว้น สงครำมกับพม่ำจนกระทั่งเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยำใน พ.ศ. ๒๓๑๐

ความสมั พันธ์กบั หวั เมืองมอญ • มที ้งั กำรคำ้ กำรผูกสมั พนั ธไมตรี และกำรเมือง • เม่ืออยุธยำมีควำมเจรญิ รุ่งเรืองทำงกำรคำ้ ผู้นำอยธุ ยำไดข้ ยำยอำนำจเขำ้ ครอบครองเมืองท่ำของมอญแถบชำยฝง่ั ทะเล อนั ดำมันเพ่ือผลประโยชนท์ ำงกำรคำ้ • นอกจำกน้ี อยุธยำยังใหท้ ี่พ่ึงพิงแก่ชำวมอญทีอ่ พยพหนภี ัยสงครำมจำกพมำ่ ดว้ ยเพื่ออำศยั มอญเป็นดำ่ นหนำ้ ปะทะกับ พม่ำกอ่ นจะยกทัพมำถึงอยุธยำ ความสัมพนั ธ์กับหวั เมอื งมลายู • ลักษณะควำมสัมพันธ์มีทงั้ กำรค้ำ กำรเผชญิ หน้ำทำงทหำร และกำรผกู สมั พันธไมตรี • สมยั อยุธยำตอนต้น อยุธยำสง่ กองทัพไปรบกับมะละกำซงึ่ เป็นศนู ยก์ ลำงกำรคำ้ สำคัญบริเวณคำบสมุทรมลำยู นอกจำกได้ มะละกำเป็นเมืองข้นึ แล้ว ยังไดห้ ัวเมอื งรำยทำงดว้ ย เช่น ปัตตำนี ไทรบรุ ี ซ่งึ อยธุ ยำควบคมุ หวั เมืองมลำยผู ำ่ นทำงเมือง นครศรีธรรมรำช นอกจำกจะไดผ้ ลประโยชน์ทำงเครอื่ งรำชบรรณำกำรแลว้ ยังได้ผลประโยชนท์ ำงกำรค้ำขำยอกี ดว้ ย

ความสมั พนั ธ์กับล้านช้าง • สว่ นใหญเ่ ป็นกำรผกู สัมพันธไมตรี • สมัยสมเด็จพระรำมำธบิ ดีท่ี ๑ (อทู่ อง) ไทยมีควำมสัมพันธ์อันดีกับพระเจ้ำฟ้ำง้มุ แหง่ ลำ้ นช้ำง • สมัยสมเดจ็ พระมหำจกั รพรรดิ ไทยกับล้ำนชำ้ งมีควำมสนิทแนบแนน่ มำกข้ึน เมอื่ พระเจ้ำไชยเชษฐำธริ ำชแห่งล้ำนชำ้ ง แต่งตัง้ ทตู มำกรำบทลู ขอพระเทพกษตั รีไปเปน็ พระอคั รมเหสี แต่ถกู พระเจำ้ บุเรงนองส่งทหำรมำชิงตัวไปเสยี ก่อน จนกระท่ังเสียกรุงศรีอยธุ ยำคร้งั ท่ี ๑ ทำใหค้ วำมสัมพนั ธ์ลดนอ้ ยลงไป ความสัมพันธ์กับญวน • ควำมสมั พนั ธ์สว่ นใหญเ่ กิดในสมัยอยธุ ยำตอนปลำยโดยลักษณะควำมสัมพนั ธจ์ ะเป็นกำรเผชญิ หนำ้ ทำงทหำร เพอื่ แย่งชงิ ควำมเป็นใหญ่เหนือเขมร • สมัยสมเดจ็ พระเจำ้ อยหู่ ัวทำ้ ยสระ เกิดเหตุกำรณแ์ ตกแยกภำยในรำชวงศเ์ ขมรระหวำ่ งพระธรรมรำชำกบั นกั แก้วฟำ้ จอก จนถึงขนั้ ทำสงครำมกัน อยุธยำและญวนต่ำงสนับสนนุ แตล่ ะฝ่ำย ควำมขัดแยง้ ภำยในทำใหไ้ ทยกับญวนต้องทำสงครำม กนั ในที่สดุ อยธุ ยำชนะและได้เขมรมำอยใู่ ตอ้ ำนำจ ไมน่ ำนญวนก็เขำ้ ไปมอี ทิ ธิพลเหนอื เขมรอกี อยุธยำจึงตอ้ งยกทัพไปตี เขมรกลบั มำ

ความสมั พันธก์ ับเขมร • มที ง้ั กำรเผชิญหน้ำทำงทหำร กำรเมอื ง และวัฒนธรรม • สมยั สมเด็จพระรำมำธิบดีที่ ๑ (อูท่ อง) โปรดให้พระรำเมศวรและขุนหลวงพงัว่ ยกทัพไปตเี ขมร ทำให้อยุธยำได้รบั อิทธิพลวัฒนธรรมเขมรดว้ ย • สมยั สมเดจ็ พระบรมรำชำธิรำชที่ ๑ (ขนุ หลวงพงัว่ ) ยกทัพไปตีเขมร • สมัยสมเด็จพระบรมรำชำธริ ำชที่ ๒ (เจ้ำสำมพระยำ) ยึดรำชธำนีเขมรทน่ี ครธมและทรงแต่งตั้งพระนครอนิ ทร์ พระรำช โอรสไปปกครองเขมร ต่อมำถกู เขมรลอบปลงพระชนม์ • สมยั สมเดจ็ พระมหำจกั รพรรดิ เขมรไดถ้ อื โอกำสทีไ่ ทยติดพันสงครำมกบั พม่ำ ยกทัพมำตไี ทย • สมยั สมเด็จพระนเรศมหำรำชทรงยกทัพไปตเี มืองละแวก รำชธำนีเขมรขณะนัน้ ได้ และหลังจำกสมยั น้ี เขมรเร่ิมตั้งตัว เปน็ อสิ ระ และในตอนปลำยสมยั อยธุ ยำ เขมรไดอ้ ่อนน้อมตอ่ อยธุ ยำบ้ำง ญวนบ้ำง จนกระทงั่ เสยี กรุงใน พ.ศ. ๒๓๑๐ เขมรจึงเปน็ อสิ ระ

พัฒนาการด้านความสัมพันธร์ ะหว่างประเทศ ....กบั ดินแดนอนื่ ๆ ในทวปี เอเชีย ความสมั พนั ธ์กบั จีน • เป็นแบบรฐั บรรณำกำร ซึง่ มคี วำมเกย่ี วขอ้ งกบั กำรเมืองและกำรคำ้ • ในสมยั อยุธยำ พระมหำกษตั ริย์ท่ีทรงขึ้นครองรำชยม์ กั จะแต่งตัง้ คณะทตู นำเครือ่ งรำชบรรณำกำรไปยังจีน เพือ่ ให้จนี รบั รองเพ่อื ผลประโยชน์ทำงกำรคำ้ และเพื่อควำมชอบธรรมในกำรเสด็จข้นึ ครองรำชย์ • ในชว่ งทอ่ี ยธุ ยำมีปญั หำกำรเมืองภำยในหรอื ทำสงครำมกับภำยนอก ควำมสมั พันธจ์ ะหยดุ ชะงักชว่ั ครำว เมือ่ เหตกุ ำรณ์ สงบ กำรติดตอ่ ก็เรม่ิ ต้นข้นึ อีก

ความสัมพันธ์กบั ญ่ีปนุ่ • ส่วนใหญเ่ ป็นกำรคำ้ และกำรเมอื ง • สมยั สมเด็จพระเอกำทศรถ อยธุ ยำมีกำรติดตอ่ กับญ่ปี นุ่ อย่ำงเป็นทำงกำร • สมัยสมเดจ็ พระเจำ้ ปรำสำททอง ได้มกี ำรปรำบปรำมชำวญีป่ นุ่ บำงคนทีค่ ิดกอ่ กำรร้ำย ทำให้ชำวญ่ีป่นุ จำนวนมำกพำ กันอพยพออกจำกอยุธยำ • แมว้ ำ่ ตอ่ มำอยธุ ยำจะส่งทูตไปเจรจำสัมพันธไมตรกี ับญ่ปี ุ่นอกี แต่ญป่ี ุ่นไม่ยอมรับ อำจเปน็ เพรำะเหตุกำรณท์ ่ที รง ปรำบปรำมญ่ปี ุ่น และญป่ี นุ่ ดำเนนิ นโยบำยปิดประเทศ

ความสมั พนั ธ์กบั เปอร์เซีย • ควำมสมั พันธ์จะเป็นด้ำนกำรคำ้ โดยสันนิษฐำนว่ำอยุธยำเริ่มมคี วำมสัมพันธก์ บั เปอรเ์ ซยี (ปัจจุบันคืออิหร่ำน) ในสมัย สมเด็จพระเอกำทศรถ • สมยั สมเด็จพระเจ้ำทรงธรรม พอ่ คำ้ เปอร์เซยี ชื่อ เฉกอะหมัด ได้รบั รำชกำรจนมคี วำมดีควำมชอบไดเ้ ป็นเจ้ำกรมทำ่ ขวำ • สมัยสมเดจ็ พระนำรำยณ์มหำรำช เปอรเ์ ซียส่งทตู มำเข้ำเฝำ้ แตห่ ลงั จำกนไ้ี ปแล้ว ไมป่ รำกฏหลกั ฐำนถงึ กำรเดนิ ทำง เชื่อมสัมพันธไมตรรี ะหว่ำงอยธุ ยำและเปอรเ์ ซยี อกี

พฒั นาการดา้ นความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ ....กับชาติตะวนั ตก ความสมั พันธ์กับโปรตุเกส • มที ั้งกำรค้ำ กำรเมือง และวฒั นธรรม • เริม่ ตน้ ในสมัยสมเดจ็ พระรำมำธบิ ดที ่ี ๒ เมอื่ โปรตุเกสยดึ มะละกำ แตม่ ะละกำเป็นประเทศรำชของอยธุ ยำ โปรตเุ กสจงึ สง่ ทูตมำเจรจำและทำสนธิสัญญำระหวำ่ งกัน • นอกจำกนี้ อยธุ ยำยงั ซอ้ื ปนื จำกโปรตเุ กสและจำ้ งทหำรโปรตเุ กสมำเป็นทหำรอำสำ รวมถงึ รบั วฒั นธรรมกำรทำขนม หวำนจำกโปรตุเกส อันเปน็ ทม่ี ำของขนมหวำนไทยในปจั จุบนั ด้วย เช่น ทองหยบิ ทองหยอด ฝอยทอง เป็นตน้

ความสัมพันธ์กบั ฮอลนั ดา • ท้งั กำรค้ำและกำรเมือง • สมัยสมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช ฮอลนั ดำสง่ คณะทตู มำเจรจำและขอตง้ั สถำนีกำรค้ำท่ีปตั ตำนี • สมยั สมเด็จพระเจำ้ ทรงธรรม อยุธยำกบั ฮอลันดำ ได้ทำสนธสิ ัญญำกำรคำ้ ระหว่ำงกัน • สมยั สมเด็จพระเจ้ำปรำสำททอง ฮอลันดำส่งเรอื รบปดิ ท่ำเรือตะนำวศรี อยุธยำจงึ ตดั สทิ ธพิ ิเศษทำงกำรค้ำ • สมยั สมเดจ็ พระนำรำยณม์ หำรำชได้เกิดควำมขดั แยง้ กับฮอลนั ดำ จนต้องดึงฝร่งั เศสเขำ้ มำถ่วงดุลอำนำจ ทำใหฮ้ อลันดำ คอ่ ยๆ ลดปรมิ ำณกำรคำ้ และถอนตวั ออกจำกอยธุ ยำในทสี่ ุด

ความสัมพนั ธ์กับองั กฤษ • มีทัง้ กำรค้ำและกำรเมอื ง • สมยั สมเด็จพระเจ้ำทรงธรรมทรงอนญุ ำตให้อังกฤษเข้ำมำตั้งสถำนกี ำรค้ำท่ีกรุงศรีอยธุ ยำได้ แต่ถูกฮอลันดำขัดขวำงจน ตอ้ งปิดกิจกำร • สมัยสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชไดเ้ ร่มิ ฟน้ื ฟคู วำมสัมพนั ธ์อีกคร้งั เพอ่ื ดงึ อังกฤษมำถ่วงดลุ อำนำจกับฮอลันดำ แตอ่ งั กฤษ ไมป่ ระสบควำมสำเรจ็ ในกำรแขง่ ขนั กบั ฮอลนั ดำ จนเม่อื เรือคำ้ ขำยของอังกฤษถกู ปล้นสะดมในนำ่ นน้ำเมืองมะรดิ จนต้อง สรู้ บกบั อยธุ ยำทเี่ มอื งมะรดิ ทำใหค้ วำมสมั พนั ธห์ ่ำงเหนิ กนั ไป

ความสัมพนั ธ์กบั ฝร่ังเศส • ควำมสัมพนั ธม์ ที งั้ เร่อื งของศำสนำ กำรค้ำและกำรเมือง • สมัยสมเด็จพระนำรำยณ์มหำรำชทรงตอ้ งกำรให้ฝรั่งเศสมำถ่วงดุลอำนำจกับฮอลนั ดำ จนกระท่ังฝรง่ั เศสเข้ำมำตั้งสถำนี กำรคำ้ และภำยหลังส่งคณะทูตเดนิ ทำงมำอยธุ ยำเปน็ คร้ังแรกเพอื่ เจรญิ สัมพันธไมตรี และอยุธยำกส็ ง่ คณะทูตไป ฝรัง่ เศส ซึง่ ได้รับกำรตอ้ นรับอย่ำงดี • ภำยหลงั ฝรงั่ เศสเข้ำมำมีอิทธพิ ลทำงกำรเมอื งและกำรทหำร จนตอ้ งมกี ำรขบั ไล่ฝรั่งเศสออกไป

ความสมั พนั ธ์กบั สเปน • ค่อนขำ้ งมีน้อยส่วนใหญ่จะเป็นเรือ่ งกำรค้ำ • สมยั สมเดจ็ พระนเรศวรมหำรำช ข้ำหลวงใหญข่ องสเปนทเ่ี มอื งมะนลิ ำได้สง่ ทูตมำเช่อื มสมั พันธไมตรีและเจรจำทำงกำรค้ำ กบั อยุธยำ • สมยั สมเดจ็ พระนำรำยณ์มหำรำช มีเรอื สนิ คำ้ สเปนเดนิ ทำงจำกเมอื งมะนิลำเข้ำมำค้ำขำยทก่ี รงุ ศรอี ยธุ ยำ แตป่ รมิ ำณ กำรคำ้ ไม่มำกนกั • สมัยพระเจ้ำอยูห่ วั ท้ำยสระ ผสู้ ำเรจ็ รำชกำรสเปนทเ่ี มืองมะนิลำส่งทูตเขำ้ มำเจรญิ สมั พนั ธไมตรีและขออนญุ ำตตงั้ สถำนี กำรคำ้ ขึน้ ใหม่ แม้กำรเจรจำจะประสบควำมสำเรจ็ แตป่ ริมำณกำรคำ้ กม็ ไิ ด้ขยำยตวั และไดผ้ ลตอบแทนไม่คมุ้ คำ่ ในทีส่ ดุ ควำมสมั พนั ธ์ระหวำ่ งสองชำตกิ ็ห่ำงเหนิ กนั ไป

การเส่อื มอานาจของอาณาจักรอยธุ ยา การเสยี กรุงศรอี ยุธยาครั้งที่ ๑ และการกู้เอกราช สาเหตุของการเสยี กรงุ ศรอี ยธุ ยา คร้ังที่ ๑ การกเู้ อกราชของกรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๒๑๑๒ ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ • เกดิ ขน้ึ เพรำะควำมแตกสำมคั คีภำยในกรงุ ศรีอยุธยำ • เกดิ ขนึ้ ในสมยั สมเดจ็ พระมหำธรรมรำชำธิรำช เมือ่ สมเดจ็ - • พระยำจักรเี ปน็ ไสศ้ กึ พระนเรศวรซึง่ เปน็ พระรำชโอรสทรงประกำศอสิ รภำพ จำกพมำ่ ท่เี มอื งแครง ใน พ.ศ. ๒๑๒๗ • สมเดจ็ พระนเรศวรทรงประกำศอสิ รภำพจำกพมำ่ โดยทรง หลั่งทกั ษิโณทกให้ตกเหนือแผ่นดิน (ภำพจิตรกรรมฝำ ผนงั วัดสวุ รรณดำรำรำม จังหวดั พระนครศรีอยุธยำ)

การเสียกรุงศรีอยุธยาครง้ั ที่ ๒ และการกูเ้ อกราช สาเหตุของการเสียกรงุ ศรอี ยุธยา ครง้ั ที่ ๒ การกเู้ อกราชของกรงุ ศรอี ยธุ ยา พ.ศ. ๒๓๑๐ ใน พ.ศ. ๒๓๑๐ • กำรขำดประสบกำรณ์ในกำรทำสงครำมขนำดใหญ่ของ • พระยำตำก (สิน) ได้นำไพร่พลฝำ่ วงลอ้ มพม่ำ ไปตั้งมน่ั ท่ี ฝำ่ ยอยุธยำ เมอื งจนั ทบรุ ี ได้นำไพร่พลตีหวั เมอื งรำยทำงไล่มำจนถงึ เมืองธนบุรีท่ีพมำ่ คมุ อยู่ และตำมตไี ปถงึ ค่ำยโพธส์ิ ำมต้น • กำรปรับเปล่ียนกลยุทธก์ ำรรบของพม่ำ ดว้ ยกำรยกมำตี ซง่ึ เป็นทพั พมำ่ ทร่ี กั ษำอยธุ ยำอย่จู นแตก อยธุ ยำท้ังทำงเหนือและทำงใต้ โดยกวำดต้อนผู้คน เสบียง อำหำร เขำ้ ล้อมเมอื งทง้ั ฤดแู ล้งและฤดนู ำ้ หลำก

ภูมปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั อยธุ ยา ความหมายของภมู ปิ ัญญาและวัฒนธรรม ภมู ปิ ญั ญา • ควำมรู้ ควำมสำมำรถท่ีได้จำกประสบกำรณท์ ี่สงั่ สมไวใ้ นกำรปรับตัว และกำรดำรงชวี ติ ในสภำพแวดลอ้ มทำงธรรมชำติและส่งิ แวดล้อมทำง สงั คมและวัฒนธรรมท่ีได้มกี ำรพฒั นำสืบสำนกนั มำ วัฒนธรรม • ระบบควำมเชื่อ ระบบคณุ คำ่ และวิถีชวี ิตทงั้ หมด ดังนั้น ภูมิปญั ญำ ทัง้ หลำยจึงไดร้ ับกำรสั่งสมอยู่ในวัฒนธรรมน่ันเอง

ปจั จยั ทม่ี อี ิทธิพลต่อการสรา้ งสรรคภ์ มู ปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา ลกั ษณะทางภมู ิศาสตร์ ลักษณะทางสงั คม การรบั อิทธพิ ลจากภายนอก และสงิ่ แวดล้อม และวัฒนธรรม • มสี ภำพดินฟ้ำอำกำศที่ • เปน็ สงั คมศกั ดินำมีกำรนับ • กำรตดิ ตอ่ ค้ำขำยกับตำ่ งชำติ เหมำะต่อกำรเพำะปลกู และ ถอื พระพุทธศำสนำ และ ทำใหเ้ กิดกำรเรียนรู้จำกชำติ ค้ำขำยจึงสง่ เสริมใหม้ ีกำร ใช้กุศโลบำยทำงศำสนำ ตำ่ งๆ แลว้ นำมำปรบั ใชใ้ ห้ คิดค้นภูมิปัญญำสำหรบั กำร เปน็ เครื่องมอื ในกำรอบรม เข้ำกับคนไทย ประกอบอำชีพ สั่งสอนผู้คน

ตัวอย่างการสรา้ งสรรคภ์ ูมิปัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั อยธุ ยา ๑ ภูมปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทยในการสรา้ งรปู แบบการปกครองให้เหมาะสมกับคนไทย สังคมไทยในสมยั อยธุ ยำมคี วำมเช่ือวำ่ กำรปกครองบำ้ นเมอื งตอ้ งมีพระมหำกษตั รยิ เ์ ป็นผมู้ อี ำนำจสูงสดุ ในกำรปกครอง บ้ำนเมืองนบั ต้งั แตก่ ำรสถำปนำกรงุ ศรีอยุธยำเปน็ รำชธำนเี ป็นต้นมำ อนั เป็นผลมำจำกกำรรับเอำคตคิ วำมเชอ่ื ว่ำ พระมหำกษัตรยิ ์ทรงเปน็ สมมตเิ ทพ ระเบียบกฎเกณฑต์ ่างๆ เกย่ี วกบั ความสาคญั ของพระมหากษัตรยิ ์ มีหลายประการ • จัดใหพ้ ระมหำกษัตรยิ ท์ รงมีที่ประทับสงู กว่ำคนอื่นๆ ใหส้ มกบั ทพ่ี ระองคท์ รงเปน็ สมมติเทพ • ทป่ี ระทับขององคพ์ ระมหำกษตั ริย์จะไมต่ ้งั อยปู่ ะปนกบั บุคคลทว่ั ไป • มกี ำรสร้ำงพระรำชวังสำหรบั พระมหำกษตั รยิ ์ และภำยในพระรำชวงั จะต้องมีกฎเกณฑ์และพิธกี รรม ตำ่ งๆ ทแ่ี สดงใหเ้ ห็นวำ่ พระองค์ทรงเป็นสมมติเทพ โดยมพี รำหมณเ์ ป็นผปู้ ระกอบพระรำชพธิ ถี วำย • มกี ำรใช้รำชำศพั ท์สำหรบั พระมหำกษตั รยิ ใ์ ห้แตกต่ำงไปจำกบุคคลท่ัวไป • กำรวำงระเบยี บแบบแผน สำหรบั บคุ คลท่ัวไปในกำรปฏิบัตติ นต่อองคพ์ ระมหำกษัตริย์เป็นกำรเฉพำะ หรือทีเ่ รยี กวำ่ กฎมณเทียรบำล ถ้ำผูใ้ ดละเมิดก็จะมโี ทษทำงอำญำ เปน็ ต้น

๒ ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยในการวางระบบการควบคมุ กาลังคน • ระบบกำรควบคุมกำลงั คนสมัยอยธุ ยำกำหนดใหไ้ พร่ตอ้ งสงั กดั มลู นำย โดยมูลนำยจะต้องดแู ลและใหค้ วำมคุ้มครอง ไพรใ่ นแต่ละกรมกอง สว่ นไพรก่ ็ตอ้ งให้ควำมเคำรพยำเกรงมูลนำยของตน • กำรควบคมุ แรงงำนไพรใ่ นแต่ละกรมจะมกี ำรควบคมุ เปน็ ลำดับชน้ั แต่ละกรมจะจัดทำบญั ชีรำยช่ือและท่อี ยู่ของไพรท่ ่ี สงั กัดกรมของตนนอกจำกนยี้ ังมีพระสรุ สั วดี ทำหนำ้ ทเี่ ปน็ ผู้ถอื บัญชไี พร่ของทุกกรมและขึ้นตรงต่อพระมหำกษัตรยิ ์ • ระบบกำรควบคมุ กำลังคนในสมยั อยธุ ยำทำให้กลุม่ คนไทยสำมำรถอย่รู วมกนั ได้เปน็ กลุ่มก้อน ไมก่ ระจัดกระจำย กันออกไป และสะดวกตอ่ กำรเกณฑ์ไพรพ่ ลไปทำสงครำม

๓ ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการสรา้ งทีอ่ ยอู่ าศัย เรือนสามารถแบง่ ออกตามลกั ษณะของผอู้ ย่อู าศยั ได้ ๒ ลักษณะ เรอื นขนุ นาง (เรอื นเคร่อื งสบั ) • เปน็ เรอื นชั้นเดยี ว ใตถ้ นุ สูง สรำ้ งดว้ ยวัสดุท่ีแขง็ แรงทนทำน เช่น ไมส้ ัก ไม้เน้ือแข็ง ตัวเรอื นสำมำรถรอื้ ถอนแลว้ นำไปประกอบใหม่ได้เหมอื นเดิม เรอื นไพร่ (เรือนเครอ่ื งผกู ) • เป็นเรอื นชน้ั เดียว ใตถ้ นุ เต้ีย สร้ำงดว้ ยวสั ดุไมค่ งทนถำวร เชน่ ไมไ้ ผ่ มักปลกู เปน็ กำรชั่วครำว ถำ้ ไพร่มฐี ำนะสูงก็สำมำรถใช้เรือนแบบขุนนำงได้ เรือนขุนนาง (เรอื นเครื่องสบั )

๔ ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยในการบาบดั รกั ษาคนไข้ • กำรแพทยแ์ ผนไทยสมยั อยุธยำมพี นื้ ฐำนมำจำกควำมเช่ือ ควำมรู้ ควำมคดิ และกำรยอมรบั รว่ มกันของคนในสงั คม จนสำมำรถแกไ้ ขปัญหำสุขภำพตงั้ แต่สมัยอยธุ ยำจนถึงปจั จบุ ัน • ระบบกำรแพทย์สมยั อยธุ ยำมีกำรจดั ตง้ั หนว่ ยงำนรับผดิ ชอบเปน็ สัดส่วน มีเจ้ำหน้ำทท่ี รี่ ับผดิ ชอบเกย่ี วกบั กำรบำบดั รักษำคนไข้แตกตำ่ งกัน เช่น โรงพระโอสถ เปน็ หนว่ ยงำนดูแลยำสมนุ ไพร จำแนกหมวดหม่ยู ำ ควบคมุ มำตรฐำนและ ผลติ ยำ ตำรำแพทยห์ ลวง

๕ ภูมปิ ญั ญาและวฒั นธรรมไทยในการปลูกฝังศลี ธรรมให้กบั สังคม • มกี ำรใช้วรรณกรรมของพระพุทธศำสนำมำสอนคนให้รู้จกั บำปบุญคุณโทษ เช่น หนังสือพระมำลยั คำหลวง ซ่งึ นพิ นธ์ โดยเจ้ำฟำ้ ธรรมธเิ บศ (เจ้ำฟำ้ กุ้ง) • ปจั จุบันยงั มีประเพณีสวดพระมำลยั หน้ำศพที่ต้งั บำเพ็ญกุศลทว่ี ดั หรือท่ีบ้ำน หรือพระภกิ ษสุ งฆ์อำจนำสำระดๆี ใน หนงั สอื พระมำลยั คำหลวงไปเทศนส์ ั่งสอนผคู้ น

๖ ภมู ิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยด้านศลิ ปกรรม ด้านศิลปกรรม • ส่วนใหญเ่ ป็นสิง่ กอ่ สร้ำงในพระพทุ ธศำสนำ เชน่ เจดีย์ พระปรำงค์ โบสถ์ วหิ ำร มณฑป รวมถงึ สง่ิ ก่อสร้ำงทเี่ กย่ี วข้องกบั พระมหำกษตั ริย์ เชน่ พระรำชวัง พระทน่ี ่ังต่ำงๆ • ศิลปกรรมอยธุ ยำเกดิ จำกกำรผสมผสำนระหวำ่ งศิลปวฒั นธรรมด้ังเดมิ ของคนไทย และศิลปวัฒนธรรมท่รี ับมำจำก ภำยนอก โดยเฉพำะอนิ เดียและจีน รวมทง้ั ทำงตะวนั ตก • วดั พระศรีสรรเพชญ์ เป็นวัดสำคัญในเขตพระรำชวังหลวงเทยี บได้กับวดั พระศรีรตั นศำสดำรำม กรงุ เทพมหำนคร โดย สมเด็จพระบรมไตรโลกนำถโปรดใหส้ ร้ำงขน้ึ เพอ่ื เปน็ ที่สำหรบั ประกอบพิธีสำคญั ตำ่ งๆ จึงเป็นวัดท่ไี ม่มีพระสงฆ์จำพรรษำ

ดา้ นประติมากรรม • สว่ นใหญ่นิยมสร้ำงพระพทุ ธรปู พระพุทธรูปยคุ แรกๆ เป็นแบบอทู่ อง เช่น พระพทุ ธรปู องค์ใหญ่ท่ีวัดพนัญเชิง จนถึงสมยั สมเดจ็ พระบรมไตรโลกนำถ ศลิ ปะแบบ สุโขทัยได้แพร่หลำยเข้ำมำ ครน้ั ถึงสมัยสมเด็จพระเจ้ำปรำสำททองเป็นตน้ มำ พระพทุ ธรูปมกั ทำเป็นแบบทรงเครอื่ ง มเี ครื่องประดบั สวยงำม เชน่ พระประธำนวัด หนำ้ พระเมรุ ท่ีพระนครศรอี ยธุ ยำ พระพุทธรปู ทรงเครือ่ ง ประดิษฐานภายในอโุ บสถวัดหน้าพระเมรุ จังหวดั พระนครศรอี ยธุ ยา สันนษิ ฐานวา่ สร้างขึ้นในสมยั สมเดจ็ พระเจา้ ปราสาททอง

ด้านจติ รกรรม • ส่วนใหญ่จะเก่ยี วเนือ่ งกบั พระพทุ ธศำสนำ เปน็ ภำพเขียนสี นิยมเขยี นเปน็ พุทธบูชำตำมผนงั โบสถ์ วหิ ำร ศำลำกำรเปรยี ญ ในคหู ำภำยในองคพ์ ระปรำงค์ สถปู เจดีย์ และในสมดุ ไทย เชน่ ภำพเขียนบนผนงั ในกรพุ ระปรำงค์วัดรำชบูรณะ เปน็ ตน้ ภาพพระสัมมาสมั พุทธเจ้าทรงตรสั รู้ จากวิกิพีเดีย

ดา้ นประณตี ศิลป์ • มที ัง้ ประเภทเคร่อื งใช้ เคร่อื งประดบั ตกแต่ง เครอ่ื งเงิน เครอ่ื งทอง เครือ่ งไม้จำหลัก ซ่งึ ล้วนมฝี ีมอื สวยงำมและประณตี เช่น เครือ่ งทองในพระปรำงค์วดั รำชบรู ณะ เปน็ ตน้ ภาพจากสารานุกรมไทย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook