สารอธิการบดี ในนามคณาจารย์ บุคลากร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ขอต้อนรบั นักศกึ ษาใหม่ ประจ�ำปกี ารศกึ ษา 2563 ทุกคนด้วยความยนิ ดยี ิ่ง มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา จัดการเรียนการสอนท่ีมุ่งพัฒนา ศักยภาพผู้เรียน สู่ความเป็นเลิศทางวิชาการท้ังในระดับชาติและนานาชาติ โดยยึดมั่นตามปรัชญาของมหาวิทยาลัย “แหล่งวิชาการ สร้างสรรค์คนดี มี คณุ ธรรม น�ำสงั คม” การศึกษาในระดับอุดมศึกษา นักศึกษาจะต้องมีความรับผิดชอบต่อ ตนเองสูงกว่าการศึกษาระดับข้ันพื้นฐาน ต้องเข้าใจกฎ ระเบียบ ข้อบังคับท่ี เกยี่ วขอ้ งกบั มหาวทิ ยาลยั และการจดั การเรยี นการสอน ดงั นนั้ คมู่ อื นกั ศกึ ษา เล่มนี้จึงเป็นเอกสารส�ำคัญที่นักศึกษาจะต้องศึกษาและท�ำความเข้าใจในการ ศึกษาตลอดหลักสูตร ในโอกาสอันดีนี้ ขอให้นักศึกษาทุกคนมุ่งม่ันในการศึกษาจนประสบ ความส�ำเร็จตามทมี่ ุง่ หวงั ทุกประการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อดศิ ร เนาวนนท์ อธกิ ารบดี 2 คูม่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2561 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
ค�ำนำ� หนงั สอื คมู่ อื นกั ศกึ ษามหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ปกี ารศกึ ษา 2563 เปน็ หนงั สอื ทมี่ หาวทิ ยาลยั จดั พมิ พข์ น้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ เพอื่ เปน็ คมู่ อื ใหก้ บั นกั ศกึ ษาไดศ้ กึ ษาความเปน็ มาของมหาวทิ ยาลยั หนว่ ยงาน แหลง่ บริการและให้บริการต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัย ตลอดจนระเบียบข้อบงั คับที่นักศึกษาควรทราบ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือนักศึกษาเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ แกน่ กั ศึกษาทั้งภาคปกติ และภาค กศ.ปช. ทกุ ท่าน หากนกั ศกึ ษามปี ัญหาในการใช้บรกิ ารท่นี อกเหนือจาก รายละเอียดในคมู่ ือนักศกึ ษาเล่มนแ้ี ล้ว นกั ศึกษาสามารถติดต่อไดท้ ีห่ น่วยงานบรกิ ารตา่ งๆ อกี ช่องทางหนงึ่ และในปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั จัดท�ำคู่มือนกั ศึกษาเปน็ 2 รูปแบบ ประกอบด้วย การจดั พมิ พ์แบบ รูปเล่ม และการจดั ท�ำแบบ E-Book คณะกรรมการจดั ท�ำคู่มือนักศึกษา ขอขอบคุณหน่วยงานทุกหนว่ ยงาน ท่ีให้ขอ้ มูลส�ำหรับจัดท�ำคูม่ อื นกั ศกึ ษา จนประสบความส�ำเรจ็ มา ณ โอกาสน้ี ขอขอบคุณ คณะกรรมการจัดทำ� คู่มอื นกั ศึกษา 2563 ค่มู อื นกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2561 3 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
สารบัญ 9 9 สว่ นที่ 1 ข้อมูลพน้ื ฐานของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 10 10 ตราสัญลักษณป์ ระจำ� มหาวทิ ยาลัย 10 สีของตราสญั ลักษณ์ 10 ปรัชญามหาวิทยาลัย 10 วิสยั ทัศนม์ หาวิทยาลัย 12 พันธกิจมหาวทิ ยาลัย 23 เปา้ ประสงคข์ องมหาวิทยาลัย 24 คณุ ลักษณะบัณฑิตทพี่ งึ ประสงค ์ 25 ประวตั คิ วามเป็นมาของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 26 เล่าขานตำ� นานแห่งความภาคภมู ิใจในพระมหากรุณาธิคณุ 31 พระราชทานโล่การแข่งขันฟตุ บอลประเพณ ี โครงสร้างการบริหารมหาวทิ ยาลัย 38 โครงสรา้ งการแบ่งสว่ นราชการ 46 คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั 56 คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัย 68 75 ส่วนที่ 2 หน่วยงานของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมาทีน่ ักศกึ ษาควรรู้ 84 94 คณะครศุ าสตร์ 101 คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร ์ 109 คณะวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี คณะวิทยาการจัดการ คณะสาธารณสุขศาสตร ์ คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม สำ� นักส่งเสริมวชิ าการและงานทะเบยี น สำ� นกั วิทยบรกิ ารและเทคโนโลยีสารสนเทศ สำ� นักศิลปะและวฒั นธรรม 4 คมู่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2561 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
สารบัญ สำ� นกั คอมพิวเตอร์ 117 สถาบนั วจิ ยั และพัฒนา 123 สถาบันวิจยั ไม้กลายเปน็ หินและทรัพยากรธรณภี าคตะวันออกเฉียงเหนอื เฉลมิ พระเกียรติ 129 สถาบันภาษา 134 กองพัฒนานักศกึ ษา 138 กองคลัง 142 กองประกนั คุณภาพการศึกษา 149 กองวเิ ทศสัมพนั ธ ์ 153 ตอนที่ 3 ภาคผนวก 157 164 รายละเอยี ด ขอ้ บงั คบั ระเบยี บ ประกาศ 181 ข้อบงั คบั มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 186 ว่าด้วย วินัยนักศึกษา พ.ศ. 2551 189 วา่ ดว้ ย องคก์ ารนกั ศกึ ษา ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2553 205 ว่าดว้ ย การบรหิ ารงานกจิ การนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2553 209 วา่ ดว้ ย กองทุนพัฒนาการกฬี า พ.ศ. 2554 212 วา่ ดว้ ย การศกึ ษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2560 216 ระเบยี บมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า 220 ว่าดว้ ย การให้ความช่วยเหลือค่าครองชพี นักศึกษาจากการท�ำงาน พ.ศ. 2549 224 วา่ ด้วย การแต่งกายของนกั ศกึ ษาภาคปกติ ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2551 228 ว่าด้วย การรับจ่ายค่าธรรมเนยี มการศึกษาระดบั ปริญญาตรี พ.ศ. 2551 232 วา่ ดว้ ย การสอบของนกั ศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2551 ว่าด้วย การออกหลักฐานแสดงผลการศึกษา พ.ศ. 2551 5 ว่าด้วย การรบั จา่ ยเงนิ กจิ กรรมนกั ศึกษา พ.ศ. 2553 วา่ ดว้ ย การโอนย้ายหลักสตู รหรอื สาขาวิชา ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 วา่ ดว้ ย การให้ความช่วยเหลือคา่ ครองชีพนักศกึ ษาจากการท�ำงาน (ฉบับที2่ ) พ.ศ. 2559 ค่มู ือนกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2561 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ประกาศมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 235 เรื่อง ค่าธรรมเนียมการศกึ ษา สำ� หรับศึกษาระดับปรญิ ญาตร ี 239 เรอ่ื ง แนวทางปฏิบตั วิ า่ ด้วยการจดั ตงั้ กองทุนเงนิ กู้ยมื ฉุกเฉนิ ไทยช่วยไทย 241 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 2558 243 เรื่อง กจิ กรรมจิตอาสาของนกั ศึกษามหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 248 ระดบั ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2558 252 เร่อื ง หลักเกณฑ์การจดั ตั้งกองทุนและวิธีการใช้จา่ ยเงนิ กองทนุ 260 เพ่อื สวสั ดภิ าพนกั ศึกษา พ.ศ. 2559 271 เรื่อง หลักเกณฑ์และวธิ ีการยกเวน้ เงินค่าธรรมเนยี มการศกึ ษา 275 ส�ำหรับนักศึกษาที่สร้างชื่อเสยี งให้แกส่ ถาบนั พ.ศ. 2561 277 บทบาทนักศึกษากบั การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา 281 งานบริการด้านกิจการนกั ศกึ ษา 290 ระบบกิจการนักศกึ ษา 307 งานนักศึกษาวชิ าทหาร การขอผอ่ นผนั การตรวจเลอื กรับราชการทหาร (การเกณฑ์ทหาร) การประกันอบุ ตั ิเหต/ุ สวัสดิการมหาวทิ ยาลัยและสิทธปิ ระโยชน์ กิจกรรมจิตอาสา กองทุนเงินใหก้ ยู้ ืมเพอ่ื การศึกษา คำ� ส่ังมหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า ที่ 1442/2563 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการจดั ทำ� คมู่ อื นกั ศกึ ษา ประจ�ำปกี ารศึกษา 2563 6 คมู่ ือนกั ศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2561 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา
มหาวท� ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า Nakhon Ratchasima Rajabhat University 1สว่ นที่ ขอ้ มลู พนื้ ฐานของมหาวทิ ยาลัยราชภฎั นครราชสีมา
มหาวิทยาลัยนครราชสีมา ผงั บริเวณภายใน มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ระหวา่ งปี 2558-2565 1.อาคารหอประชมุ อนุสรณ์ 70 ปี 26.อาคารศิลปะ 2.ลานธรรม 27.อาคารบรู ณวิทยาการ 3.สนามกีฬา (โครงการในอนาคต) 28.อาคารโรงเรยี นสาธติ (ประถมศึกษา) 4.อาคารคหกรรมและครัวราชภฏั 29.อาคารคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม 5.อาคารคณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ 30.อาคารอเนกประสงค์ (ศูนย์อาหาร) 7.อาคารโปรแกรมวิชาเทคนคิ สตั วแ์ พทย์ 31.อาคารยุพราชเบญจมงคล 7.1อาคารเกษตร 32.อาคารปฏิบตั ิการคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละ 9.อาคารเฉลมิ พระเกียรติ เทคโนโลยี 10.อาคารสำ� นักศลิ ปะและวฒั นธรรมและร้านคา้ สวัสดกิ าร 34.อาคารศูนยร์ วมกิจการนกั ศึกษา 11.อาคารเรยี นรวมคณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 35.อาคารหอประชุม (ระหวา่ งการก่อสรา้ ง) 13.อาคารคณะวิทยาการจัดการ 36.อาคารคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 15.ศนู ย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ทับแก้ว 37.อาคารกองอาหารสถานที่ 17.อาคารคณะครุศาสตร์ 38.อาคารปฏบิ ตั ิการรวม 18.อาคารศูนย์การศกึ ษาพเิ ศษ 39.แฟลตข้าราชการ 40.อาคารพักอาศยั อาจารยแ์ ละข้าราชการ 41.ศาลาพกั นักศึกษา 42.หอพักนกั ศึกษาหญิง 43.บา้ นพักขา้ ราชการ 44.สโมสรบคุ ลากรมหาวทิ ยาลัย 45.สโมสรเจา้ หนา้ ที่ 21.อาคารศูนยร์ วมประเทศ 47.อาคารโรงน้ำ� ดม่ื ทับแก้ว 22.อาคารคณะวทิ ยการจดั การ A.ร้านค้าสวัสดกิ าร 23.อาคารบรรณราชนครินทร์ B.รา้ นจ�ำหน่ากาแฟ 24.อาคารจุฬาภรณ์วลยั ลกั ษณ์ 50.อาคารปฏบิ ัตกิ ารชั่วคราวคณะเทคโนโลยี 25.อาคารปฏบิ ัตกิ ารวิทยาศาตร์และเทคโนโลยอี าหาร อตุ สาหกรรม 51.โครงการก่อสรา้ งอาคารพกั อาศยั บคุ ลากร 53.โครงการกอ่ สร้างอาคารส�ำนักงานยาน พาหนะ 54.อาคารโรงเรยี นสาธติ 55.อาคารบ้านสาธิต 56.อาคารระบบบำ� บัดน้�ำเสยี (โครงการใน อนาคต) 8 ค่มู อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
ตราสญั ลกั ษณป์ ระจ�ำมหาวทิ ยาลัย เป็นรูปพระราชลญั จกรประจำ� พระองค์ รัชกาลที่ 9 ซึง่ เปน็ รูปพระที่น่งั อัฐทศิ ประกอบดว้ ยวงจกั ร กลางวงจกั รมีอักขระเป็น อุ หรอื เลข 9 รอบวงจักร มีรัศมีเปล่งออกโดยรอบ เหนือจักรเป็นรูปเศวตฉัตร 7 ช้ัน ต้ังอยู่บนพระที่น่ัง อัฐทิศ แปลความหมายว่า ทรงมีพระบรมเดชานุภาพในแผ่นดิน โดยท่ีวัน บรมราชาภิเษก ตามโบราณราชประเพณี ได้เสด็จประทับเหนือพระท่ีน่ังอัฐทิศ สมาชิกรัฐสภาถวายน�้ำอภิเษกจากทิศท้ังแปด รอบนอกของตราด้านบนมีตัว อกั ษรภาษาไทยวา่ “มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า” ดา้ นลา่ งมตี วั อกั ษรภาษา องั กฤษว่า “NAKHON RATCHASIMA RAJABHAT UNIVERSITY” สีของตราสัญลกั ษณม์ ี 5 สี คอื สีน้�ำเงนิ แทน สถาบนั พระมหากษัตริย์ผ้ใู ห้ก�ำเนดิ และพระราชทานนาม “มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ” Blue means the Royalty and the relation that the name ‘Rajabhat University’ was given by the King. สีเขยี ว แทน แหลง่ ท่ตี ้ังของมหาวทิ ยาลัยราชภฏั 40 แหง่ ในแหล่งธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดล้อมที่สวยงาม Green means the location of all 40 Rajabhat Universities around the country in exquisite natural surroundings. สีทอง แทน ความเจริญรุง่ เรอื งทางปญั ญา Gold means the intellectual prosperity. สแี ดง แทน ความรงุ่ เรอื งของศลิ ปวัฒธรรมทอ้ งถนิ่ ท่กี ้าวไกลใน 40 มหาวิทยาลยั ราชภฏั Red means the rise in local arts and culture being adorned at all 40 Rajabhat University locations. สีขาว แทน ความคิดอนั บริสทุ ธิ์ของนกั ปราชญแ์ หง่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อย่หู ัวฯ White means the pure thoughts of philosophers in the era of His Majesty the King Rama IX. ดอกไม้ประจ�ำมหาวทิ ยาลยั : ราชพฤกษ์ หรอื คนู สีประจ�ำมหาวทิ ยาลยั : เขียว – เหลือง คติประจำ� มหาวิทยาลยั : ธมฺมจารี สขุ ํ เสติ (ผปู้ ระพฤติธรรมย่อมเป็นสขุ ) คู่มือนกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 9
ปรัชญา วสิ ยั ทศั น์ พันธกิจ เป้าหมาย คุณลกั ษณะบณั ฑิต และอัตลกั ษณ์ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา ปรัชญา แหลง่ วชิ าการ สร้างสรรค์คนดี มคี ณุ ธรรม นำ� สังคม วสิ ัยทศั น์ เป็นมหาวทิ ยาลยั ชน้ั น�ำดา้ นการผลติ ครแู ละการพัฒนาทอ้ งถ่ิน ภายในปี 2575 หมายถงึ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครราชสมี าไดร้ บั การจดั อนั ดับสถาบนั การผลติ ครู 1 ใน 5 ของประเทศ และเปน็ มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ ทไี่ ดร้ บั การยอมรบั ในระดบั ประเทศ พันธกิจ 1.ผลิตบณั ฑิตทสี่ ำ� นกึ ดี มคี วามรู้ และสามารถปรับตัวต่อการเปลยี่ นแปลงของสงั คมโลก 2. ผลติ และพัฒนาครูมืออาชีพ 3. วจิ ยั สรา้ งองคค์ วามรู้ พฒั นาเทคโนโลยแี ละนวตั กรรมบนพ้นื ฐานของภมู ปิ ญั ญาไทยและสากล 4. เสรมิ สรา้ งความเขม้ แข็งของชมุ ชนสกู่ ารยอมรับในระดับสากล 5. สืบสานศลิ ปวฒั นธรรมของชาติและสรา้ งสรรคค์ ุณค่าภมู ิปัญญาท้องถ่ินก้าวไกลส่สู ากล 6. บรหิ ารจัดการภายใตก้ ารก�ำกบั ดแู ลกิจการท่ีดี เปา้ หมาย : เปน็ มหาวทิ ยาลยั ของปวงชนทเี่ นน้ คณุ ภาพการผลติ บณั ฑติ และการวจิ ยั เพอ่ื พฒั นาทอ้ งถน่ิ มมี าตรฐานเปน็ ที่ยอมรบั ในระดบั ชาติและนานาชาติ คุณลกั ษณะบัณฑติ ทพี่ ึงประสงค์ มีความรู้และคุณธรรมที่เป็นสากล มีทักษะทางวิชาการ วิชาชีพ และวิชาชีวิต มีความสามารถ ทางภาษา ตา่ งประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศในระดบั ที่ใชง้ านได้ 10 คมู่ อื นกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
อัตลกั ษณข์ องมหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า “ท่ีพง่ึ ของท้องถิ่น” อัตลกั ษณข์ องบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา “ส�ำนึกดี มคี วามรู้ พรอ้ มสู้งาน” ส�ำนึกด ี หมายถงึ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม มีจติ ส�ำนึกและตระหนกั ในความส�ำคญั ของจรรยาบรรณ วชิ าชีพ มีสำ� นึกในความเปน็ ไทย และมคี วามรกั และความผกู พนั ต่อทอ้ งถิ่น มีความร้ ู หมายถึง มีความรู้ความสามารถทางวิชาการ และวิชาชีพ มีทักษะทางปัญญา การคิด วิเคราะห์ การสอ่ื สาร และการใชเ้ ทคโนโลยี พร้อมสูง้ าน หมายถึง มีความรับผิดชอบต่อหน้าท่ี อุทิศเวลาให้กับงาน มีภาวะผู้น�ำในการแก้ปัญหา มีความคิดริเร่ิมและให้ความร่วมมือในการแก้ปัญหา และมีการพัฒนาตนเอง อยา่ งต่อเน่อื ง คมู่ ือนกั ศกึ ษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า 11
ประวตั คิ วามเปน็ มา ต้นก�ำเนิดมหาวิทยาลยั : สมยั โรงเรยี นฝกึ หัดครู มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สืบเนื่องมาจากโรงเรียนฝึกหัดครูมูลกสิกรรม ซึ่งมณฑลนครราชสีมา ต้งั ข้ึนเม่อื ปี พ.ศ. 2466 มนี ายเจียม ศุภลักษณ์ เปน็ ครูใหญค่ นแรก (ต่อมา นายเจยี ม ศุภลกั ษณ์ ได้รับบรรดาศกั ดิ์ เป็นขนุ ศุภลกั ษณศ์ กึ ษากร) ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 6 ได้มีการประกาศใช้ พระราชบัญญัติ การประถมศึกษา เมือ่ วนั ท่ี 1 กันยายน พ.ศ. 2466 ซง่ึ มผี ลบังคบั ตั้งแตว่ นั ที่ 1 ตลุ าคม พ.ศ. 2464 มสี าระสำ� คัญคือ บงั คบั ให้เดก็ ทุกคนที่มีอายุ 7 ปีบรบิ รู ณ์ ตอ้ งเรียนหนังสือ อยูใ่ นโรงเรยี นจนอายุ 14 ปีบริบรู ณ์ โดยไมเ่ สยี คา่ เลา่ เรยี น ดงั น้ัน จึงมีเด็กทง้ั ชายและหญงิ เข้าโรงเรยี นประชาบาล กระทรวงธรรมการจึงมนี โยบายใหท้ ุกมณฑลจดั ตั้งโรงเรยี น ฝึกหดั ครูขนึ้ ความจ�ำเป็นที่จะต้องตั้งโรงเรียนฝึกหัดครูมณฑลนครราชสีมา จึงได้เริ่มจัดหาท่ีดิน ต้ังแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2466 ซึ่งในที่สุดก็ได้ท่ีดินข้างวัดโพธ์ิด้านตะวันตก ต�ำบลโพธ์ิกลาง อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา เนื้อที่ ประมาณ 50 ไร่ ซง่ึ เปน็ ท่ดี นิ ของ นายเจียม ศภุ ลักษณ์ โดยทางราชการใหค้ า่ ตอบแทนเปน็ เงิน 300 บาท 12 คมู่ อื นกั ศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
เมื่อได้ทดี่ ินทจี่ ะกอ่ สร้างโรงเรียนฝึกหดั ครแู ลว้ มณฑล นครราชสีมาก็รายงานไปให้ กระทรวงศึกษาธิการทราบ กระทรวงฯ ได้ส่งเจ้าหน้าท่ีมาตรวจที่ดินเป็นอันตกลง แล้ว ทางมณฑลก็ลงมือปรับท่ีและท�ำสัญญาจ้างก่อสร้างโรงเรียน ดังปรากฏในหนังสือท่ีสมุหเทศาภิบาล ส�ำเร็จราชการมณฑล นครราชสมี า รายงานไปยังเสนาบดีกระทรวงศกึ ษาธิการตอ่ ไป ระหว่าง พ.ศ. 2466 ถงึ พ.ศ. 2501 ในระยะเวลานไ้ี ด้เปิดสอนหลายหลักสูตร ได้ย้ายสถานที่ตั้ง 2 ครัง้ มีช่อื เรยี กตา่ งๆ กนั ตามสภาวะ ไดแ้ ก่ โรงเรยี นฝกึ หดั ครกู สกิ รรม โรงเรยี นฝกึ หดั ครมู ลู กสกิ รรมประจำ� มณฑลนครราชสมี า โรงเรยี นฝกึ หดั ครูประกาศนยี บตั รจงั หวัด โรงเรียนฝกึ หัดครโู นนวดั โรงเรียนฝึกหดั ครโู นนสงู และ โรงเรียนฝึกหัดครู นครราชสีมา ดังนี้ โรงเรยี นฝกึ หดั ครูกสิกรรม เมอ่ื เรมิ่ กอ่ ตง้ั ในปี พ.ศ. 2466 สถานศกึ ษาแหง่ นช้ี อ่ื วา่ โรงเรยี นฝกึ หดั ครกู สกิ รรม เพอ่ื สนบั สนนุ นโยบายสง่ เสรมิ อาชพี กสกิ รรมและใหม้ คี รทู ส่ี ามารถสอนดา้ นการกสกิ รรม ในโรงเรยี นตา่ งๆ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โรงเรยี นฝกึ หดั ครู กสิกรรมผลิตครูออกไปสอนโรงเรยี นประชาบาลเปน็ ส่วนใหญ่ ซง่ึ เด็กนักเรียนเมื่อออกจากโรงเรยี นแลว้ กไ็ ปประกอบ อาชีพกสิกรรมต่อจากผู้ปกครอง จึงสมควรได้เรียนวิชากสิกรรมในโรงเรียนด้วย ซ่ึงเป็นเหตุผลที่ต้องต้ังโรงเรียน ฝึกหัดครกู สิกรรมขึ้น โรงเรยี นฝึกหดั ครมู ูลกสกิ รรม ประจ�ำมณฑลนครราชสีมา โรงเรียนฝึกหัดครูกสิกรรมท่ีมณฑลนครราชสีมาต้ังขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2466 นั้น รับผู้ที่มีความรู้ ตั้งแต่ ประถมศึกษาปีที่ 3 ขึ้นไปเข้าเรียน ใช้เวลาเรียน 2 ปี นักเรียนต้องอยู่ประจ�ำ เรียนหนักไปทางกสิกรรม ต่อมาก็ เปดิ สอนหลกั สตู รประโยคครมู ลู จงึ เรยี กชอื่ โรงเรยี นวา่ “โรงเรยี นฝกึ หดั ครมู ลู กสกิ รรม” โรงเรยี นประเภทนมี้ ณฑลอนื่ ๆ กไ็ ดจ้ ดั ตงั้ ขนึ้ เชน่ เดยี วกนั เชน่ มณฑลนครสวรรค์ จดั ตง้ั ขน้ึ เมอ่ื ปพี .ศ. 2465 เรยี กชอ่ื วา่ โรงเรยี นฝกึ หดั ครมู ลู กสกิ รรม ประจ�ำมณฑลนครสวรรค์ สว่ นมณฑลนครราชสีมา ตั้งขึ้นเมอื่ ปี พ.ศ. 2466 จงึ เรียกช่อื เตม็ วา่ “โรงเรียนฝกึ หดั ครู มูลกสิกรรมประจ�ำมณฑลนครราชสีมา” โรงเรียนน้ีให้วุฒิผู้ส�ำเร็จการศึกษา 2 วุฒิ คือ นักเรียนท่ีมีพ้ืนฐานความรู้ ไมถ่ ึง ม.3 เมอื่ เรยี นส�ำเร็จตามหลกั สูตรจะได้วฒุ ิ ป.มณฑล สว่ นนกั เรียนท่มี คี วามรตู้ ้ังแต่ ม.3 ข้นึ ไป เมอื่ เรยี นส�ำเร็จ ตามหลกั สตู รจะได้วุฒปิ ระโยคครมู ูล คู่มอื นักศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 13
โรงเรียนฝกึ หดั ครปู ระกาศนยี บัตรจงั หวดั ถงึ ปี พ.ศ. 2476 เปดิ สอนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รจงั หวดั รบั ผทู้ มี่ พี นื้ สอบไลไ่ ด้ ตงั้ แตช่ น้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 ขนึ้ ไปเขา้ เรยี น ใชเ้ วลา 2 ปี ตอ่ มากส็ อนหลกั สตู รนเี้ พยี งหลกั สตู รเดยี ว ดงั นนั้ ในปี พ.ศ. 2478 จงึ เปลยี่ นชอ่ื โรงเรยี นเปน็ โรงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระกาศนยี บตั รจงั หวดั ผทู้ เ่ี รยี นสำ� เรจ็ ตามหลกั สตู ร ไดร้ บั วฒุ ปิ ระโยคครปู ระกาศนยี บตั รจงั หวดั (ว.) พ.ศ. 2477 ขุนศุภลักษณ์ศึกษากร (เจียม ศุภลักษณ์) ครูใหญ่ได้ย้ายราชการท่ีแผนกศึกษาธิการจังหวัด ขุนสุบงกชศกึ ษากร (นาก สุบงกช) มาเป็นครูใหญ่แทน เมอ่ื วนั ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2477 นบั เปน็ ครูใหญ่คนที่ 2 ย้ายโรงเรยี นไปอยทู่ อ่ี �ำเภอโนนวดั (โนนสูง) ในปี พ.ศ. 2481 โรงเรียนฝึกหัดครูประถมกสิกรรม ซึ่งตั้งอยู่ท่ีอ�ำเภอโนนวัด (อ�ำเภอโนนสูงในปัจจุบัน) ไดย้ า้ ยไปเปดิ สอนทบี่ า้ นแมโ่ จ้ จงั หวดั เชยี งใหม่ สถานทนี่ น้ั จงึ วา่ งลง โรงเรยี นครปู ระกาศนยี บตั ร (ซง่ึ เดมิ กค็ อื โรงเรยี น ฝกึ หดั ครปู ระถมกสกิ รรม) จงึ ไดย้ า้ ยไปแทนทโ่ี รงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระถมกสกิ รรมทอ่ี ำ� เภอโนนวดั เมอื่ วนั ท่ี 3 กรกฎาคม พ.ศ. 2481 เพราะทนี่ นั่ มอี าคารสถานทด่ี กี วา่ ทอี่ ยขู่ า้ งวดั โพธ์ิ เรยี กชอื่ โรงเรยี นวา่ “โรงเรยี นฝกึ หดั ครปู ระกาศนยี บตั ร จังหวัดนครราชสีมา อ�ำเภอโนนวัด” บางที่อาจจะเรียกว่าโรงเรียนฝึกหัดครูโนนวัดดังปรากฏในประวัติ ขุนสุบงกช ศึกษากร “เป็นครูใหญโ่ รงเรียนฝกึ หัดครมู ูลโนนวัด เมอ่ื วันที่ 1 เมษายน 2481 ถึง 19 สิงหาคม 2482” ต่อมาอ�ำเภอ โนนวดั ไดเ้ ปลย่ี นชอ่ื เปน็ อำ� เภอโนนสงู ในระหวา่ ง พ.ศ. 2481-2482 ไดเ้ ปดิ หลกั สตู รครู ม.1 พเิ ศษ และ ม.2 พเิ ศษขนึ้ คือรับนักเรียนที่จบ ป.4 มาเรียน ถ้าเรียน 1 ปี ได้ ม.1 พิเศษ ออกไปสมัครเป็นครูได้ ถ้าเรียน 2 ปี ม.2 พิเศษ กอ็ อกไปเปน็ ครไู ด้ และไดเ้ งนิ เดอื นมากกวา่ ผทู้ ไี่ ด้ ม.1 พเิ ศษ ตอ่ มาหลกั สตู รนเี้ รยี กวา่ ประกาศนยี บตั รครปู ระชาบาล รบั ผูท้ ี่เรยี นจบ ป.4 เข้าเรียน ใช้เวลา 3 ปี ส�ำเรจ็ แล้วได้วฒุ ิ ประกาศนยี บตั รครปู ระชาบาล (ป.บ) วันที่ 11 กนั ยายน 2482 ขุนสบุ งกชศึกษากร ยา้ ยไปเปน็ ครใู หญ่โรงเรียนเกษตรกรรม จังหวดั เลย ซ่ึงอยู่ใน ทอ้ งถนิ่ ทอ่ี ำ� เภอดา่ นซา้ ย จงั หวดั เลย นายชอ่ ง จันทรมะโน มาเปน็ ครูใหญ่แทน นับเป็นครูใหญ่คนที่ 3 พ.ศ. 2485 เปิดสอนหลกั สตู รประโยคครมู ลู (ป.) อกี ครัง้ โรงเรยี นเลยชอ่ื ว่า โรงเรยี นฝกึ หัดครูมลู โนนสงู โรงเรียนฝกึ หัดครูมูลโนนสูง โรงเรยี นฝกึ หัดครมู ลู โนนสงู เปิดสอน 3 หลกั สตู ร คือฝึกหดั ครูประชาบาล (ป.บ.) ฝึกหัดครูประกาศนียบัตรจังหวัด (ว.) และ ฝึกหดั ครมู ูล (ป.) ในระยะเวลานั้น ชั้นฝึกครูมูลมีสอนท่ีโรงเรียนฝึกหัดครูมูล โนนสูงเพียงแห่งเดียว จึงต้องรับนักเรียนที่ส่งมาจากจังหวัดต่างๆ 14 คมู่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ในภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ทงั้ 15 จังหวัด รวมท้งั บางจงั หวัดในภาคกลาง เช่น สระบุรี ลพบุรี นครนายก เป็นต้น ดังน้ันโรงเรียนฝกึ หัดครูมลู โนนสงู จงึ เรยี กว่าโรงเรียนฝึกหัดครูมูลประจ�ำจงั หวดั นครราชสีมา พ.ศ. 2487 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมโี ครงการขยายการฝกึ หดั ครใู หโ้ รงเรยี นฝกึ หดั ครู สามารถสอนในระดบั ทสี่ งู ขน้ึ ได้ จงึ ไดเ้ ปดิ สอนชน้ั ฝกึ หดั ครปู ระถม (ป.บ.) ในโรงเรยี นฝกึ หดั ครมู ลู ทโี่ นนสงู ซง่ึ ตอ้ งใชเ้ วลาเรยี น 3 ปี แตเ่ ปดิ สอน ไดเ้ พียงปีที่ 1 ปีเดียวก็ตอ้ งเลิก ใหน้ ักเรยี นไปเรียนต่อปที ี่ 2 ทีก่ รุงเทพมหานคร ยา้ ยโรงเรยี นไปอยู่ทีอ่ ำ� เภอเมอื งนครราชสมี า โรงเรยี นฝกึ หดั ครยู า้ ยมาอยทู่ อ่ี ำ� เภอโนนสงู ตง้ั แตป่ ี พ.ศ. 2481 (เมอื่ ครงั้ ยงั ชอ่ื อำ� เภอโนนวดั ) จนถงึ ปี พ.ศ. 2489 เป็นเวลาถงึ 9 ปี ปรากฏว่าอาคารชำ� รดุ ทรุดโทรมมาก เพราะเป็นอาคารเกา่ ของโรงเรยี นฝกึ หดั ครูประถมกสิกรรมท่ี ยา้ ยไปอยทู่ บี่ า้ นแม่โจ้ จงั หวดั เชียงใหม่ ประกอบกบั ท่ตี ้ังโรงเรียนอยนู่ อกตวั อ�ำเภอหา่ งไกลตลาด จะซ้อื ของประกอบ อาหารเล้ียงนักเรียน หรือซื้อส่ิงของใช้ก็ล�ำบากมาก จึงหาทางย้ายกลับมาอยู่ในอ�ำเภอเมือง ได้ท่ีดินเนื้อที่ประมาณ 163 ไร่ ที่ตำ� บลหมืน่ ไวย อำ� เภอเมือง อย่ตู ิดถนนสรุ นารายณ์ เหมาะทจี่ ะเป็นทตี่ งั้ ของสถาบันการฝึกหดั ครูต่อไปใน อนาคต จงึ ไดย้ า้ ยโรงเรยี นจากโรงเรยี นโนนสงู มาอยทู่ อ่ี ำ� เภอเมอื ง เมอื่ วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2490 ในระยะเวลาทอ่ี าคาร เรยี นและท่ีพกั ณ ท่ตี ้งั ใหม่ยงั สรา้ งไม่เสร็จไดไ้ ปอาศยั โรงเรียนเทศบาล 1 (สุขานารี) ซง่ึ อย่ทู ีถ่ นนโพธก์ิ ลาง ในเมือง นครราชสมี า เป็นทพ่ี กั และทเี่ รยี นชั่วคราวเป็นเวลาประมาณ 1 ปี โรงเรยี นฝกึ หัดครูนครราชสีมา เมื่อย้ายไปอยู่ในเมืองแล้ว ได้เปล่ียนช่ือเป็น “โรงเรียนฝึกหัดครูนครราชสีมา” เมื่ออาคารเรียนและที่พัก ณ ที่ตั้งใหมแ่ ล้วเสร็จ วันท่ี 1 กนั ยายน 2491 จงึ ไดย้ ้ายจากโรงเรยี นสขุ านารีซึ่งเปน็ ทพี่ กั ชวั่ คราวไปอยู่ ณ ทีต่ ัง้ ใหม่ ข้างเขตการทางนครราชสีมา ถนนสุรนารายณ์ อ�ำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา ซ่ึงเป็นท่ีต้ังมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสีมาในปจั จบุ นั นับวา่ ท่ตี รงน้ีเคยเป็นทีข่ อง “ขนุ ศกั รนิ ทร์” มาก่อน เปดิ สอนหลักสตู รประกาศนียบัตรประโยคครปู ระถม (ป.ป.) ปี พ.ศ. 2495 โรงเรียนฝึกหัดครูนครราชสีมาเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรประโยคประถม (ป.ป.) ซึง่ เป็นหลักสตู รที่รับผู้ทจ่ี บ ม.6 เขา้ เรยี นใชเ้ วลาเรยี น 3 ปี โรงเรียนฝกึ หดั ครูนครราชสีมา เปดิ สอน ป.ป. ได้ 3 ร่นุ ก็ต้องเปลีย่ นไป คือ พ.ศ. 2495 รบั ป.ป. รนุ่ 1 จ�ำนวน 1 ห้องเรียน พ.ศ. 2496 รบั ป.ป. รนุ่ 2 จำ� นวน 1 หอ้ งเรียน พ.ศ. 2497 รบั ป.ป. รนุ่ 3 จำ� นวน 1 หอ้ งเรยี น คู่มอื นกั ศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 15
การเปิดสอนระดบั ป.ป. ถือวา่ เป็นเหตกุ ารณ์ที่ส�ำคญั มากเพราะทำ� ใหโ้ รงเรียนฝึกหัดครนู ครราชสมี ามฐี านะ โรงเรยี นฝกึ หดั ครชู นั้ สงู เพราะทผ่ี า่ นมาโรงเรยี นฝกึ หดั ครทู ต่ี า่ งจงั หวดั จะมสี อนระดบั ครู ป.บ.ว. และ ป. เทา่ นน้ั ระดบั ป.ป. จะมสี อนเฉพาะโรงเรยี นฝกึ หดั ครใู นกรงุ เทพมหานคร ซงึ่ ถอื วา่ เปน็ โรงเรยี นฝกึ หดั ครชู นั้ สงู เมอ่ื โรงเรยี นฝกึ หดั ครู นครราชสมี าเปดิ สอนถงึ ระดบั ป.ป. กท็ ำ� ใหม้ ฐี านะเทา่ กบั โรงเรยี นฝกึ หดั ครพู ระนคร, โรงเรยี นบา้ นสมเดจ็ เจา้ พระยา, โรงเรยี นสวนสนุ ันทาวิทยาลยั , โรงเรียนเพชรบรุ วี ิทยาลงกรณ์ และโรงเรยี นฝึกหดั ครปู ระสานมิตร หลงั จากที่ได้เปดิ สอนเฉพาะระดบั ป.กศ. มาจนถึงสนิ้ ปีการศึกษา 2501 กส็ ้นิ สุดสมยั ที่เปน็ โรงเรียนฝึกหดั ครู เพราะในปี พ.ศ. 2502 โรงเรียนเปดิ สอนระดบั ป.กศ. ช้นั สูง และโรงเรียนฝึกหดั ครนู ครราชสมี าก็ไดร้ ับการยก ฐานะเปน็ วทิ ยาลัยครนู ครราชสมี า เปน็ การเรม่ิ ต้นอกี สมัยหนึง่ คอื สมยั ท่มี ฐี านะเปน็ “วิทยาลยั คร”ู สมยั เปน็ วิทยาลัยครู (พ.ศ. 2502-2535) ระยะเวลา 23 ปี ของการเปน็ วทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี า เปน็ ชว่ งสมยั ทไี่ ดม้ กี ารพฒั นาตนเองใหม้ คี วามแขง็ แกรง่ ทางดา้ นวิชาการมากย่งิ ข้นึ โดยเร่ิมจากผอู้ ำ� นวยการวทิ ยาลัยครูนครราชสีมาคนแรก คือ นายสุรนิ ทร์ สรสิริ ทีไ่ ดว้ าง รากฐานส�ำคัญทางวิชาการท�ำให้วิทยาลัยครูนครราชสีมาเป็นวิทยาลัยครูเก่าแก่มีช่ือเสียงชั้นแนวหน้าของประเทศ ผู้บริหารคนต่อๆ มา ได้ด�ำเนินรอยตามและพัฒนาให้วิทยาลัยมีความแข็งแกร่งทางวิชาการย่ิงๆ ขึ้น ผลผลิตจาก วทิ ยาลัยครนู ครราชสมี าได้เปน็ ก�ำลงั ส�ำคัญทางการศึกษาทกุ ระดับ โดยเฉพาะผู้บรหิ ารการศึกษาระดับประเทศ ปี พ.ศ. 2502 ไดร้ บั การยกฐานะจากโรงเรยี นฝกึ หดั ครเู ปน็ วทิ ยาลยั ครู และโอนกจิ การของ โรงเรยี นการเรอื น นครราชสมี า ผนวกนกั เรยี นทเ่ี ข้าเรียนมาจากจงั หวดั นครราชสมี า สรุ นิ ทร์ บุรีรัมย์ และชัยภมู ิ เริม่ ผลติ ครหู ลกั สูตร ประกาศนียบัตรวิชาการศึกษาช้ันสูง (ป.กศ.ช้ันสูง) เร่ิมการเรียนในระบบหน่วยกิตเป็นแห่งแรกในประเทศไทย ต่อมาเริ่มโครงการฝึกหัดครูชนบท โดยได้รับความช่วยเหลือจากยูเนสโก มีโรงเรียนเข้าร่วมโครงการซึ่งอยู่ในเขต อำ� เภอโนนไทย 5 โรงเรยี น ได้แก่ โรงเรยี นบา้ นด่านจาก “โกศลวฒั นา” โรงเรยี นบ้านโคกสวาย โรงเรยี นบ้านพงั เทยี ม “ครุ สุ ามคั คี 1” โรงเรยี นบา้ นสนั เทยี ะ “สคุ นธวฒั นา” และโรงเรยี นประคำ� “ครุ รุ ฐั ประชาสรรค”์ โดยในปี พ.ศ. 2506 ได้เพิม่ โรงเรยี นบสุ ายออ อีกหน่งึ โรงเรยี น นักศกึ ษาที่ไปฝึกสอนเป็นนักศกึ ษาประกาศนียบัตรวชิ าการศึกษาชน้ั ปีที่ 2 แตห่ น่วยฝกึ สอนนกั ศึกษาต้องพักอยู่ในชมุ ชน เรยี นรจู้ ากชมุ ชน ชว่ ยเหลอื ชมุ ชน เช่น ดำ� นา หรือเก่ียวขา้ ว เรียนรู้ใน การอยู่ร่วมกัน โดยแบ่งเวรท�ำหน้าท่ีต่างๆ อาจารย์นิเทศก็จะหมุนเวียนกันไปดูแลให้การศึกษา โดยเฉพาะอาจารย์ ดร.อารีย์ สัณหฉวี จะไปนอนค้างคืนกบั นักศึกษาในแต่ละหน่วยฝึกสอนตามโอกาส โครงการฝกึ หัดครชู นบทจงึ เจรญิ กา้ วหน้าประสบความส�ำเร็จมาก 16 คู่มือนักศึกษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
ปี พ.ศ. 2507 เกดิ เหตุการณ์ส�ำคญั อย่างยง่ิ ของมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า เมื่อวันที่ 20 กุมภาพนั ธ์ พ.ศ. 2507 เวลา 15.30 น. พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ ัว และ สมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกติ ิ์พระบรมราชนิ ีนาถ ไดเ้ สด็จ ทอดพระเนตรกจิ การของวทิ ยาลยั ครแู ละนทิ รรศการโครงการฝกึ หดั ครชู นบท ทสี่ ำ� คญั คอื ประทบั ฟงั การอภปิ รายหนา้ พระทนี่ งั่ เรอ่ื งฝกึ หดั ครชู นบทโดย อาจารยส์ รุ นิ ทร์ สรสริ ิ เปน็ ผอู้ ำ� นวยการอภปิ ราย มผี รู้ ว่ มอภปิ รายคอื อาจารยพ์ จน์ ธญั ขนั ธ์ รศ.ชมุ่ เมอื ง โคตรฉนิ และนกั ศกึ ษาชายหญงิ 2 คน นกั ศกึ ษาชายเรยี นอยรู่ ะดบั ป.กศ. ชนั้ สงู ชอื่ นายประกติ ราชนลิ นกั ศกึ ษาหญงิ เรยี นอยรู่ ะดบั ป.กศ. ชอื่ นางสาวฉะออ้ น กง่ิ จนั ทร์ ใชเ้ วลาในการอภปิ ราย 40 นาที ประเดน็ การ อภปิ รายมี 4 ประเดน็ คือ 1. ความเปน็ มาของการเปดิ โครงการฝกึ หัดครูชนบท วิทยาลยั ครูนครราชสมี า 2. การเรยี นการสอน และกจิ กรรมของนกั ศึกษา การเตรียมนักศึกษาเพ่ือออกปฏิบัตงิ านในชนบท 3. ประสบการณข์ องนักศึกษาในโรงเรยี นฝึกหัดครู 4. ทรรศนะของนกั ศกึ ษาตอ่ การฝึกงานในชนบท กอ่ นเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ กลบั พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงมกี ระแสพระราชดำ� รสั กบั อาจารยส์ รุ นิ ทร์ สรสริ ิ วา่ “ชว่ ยใหน้ ักศึกษาสอบไดม้ ากขึน้ ดว้ ย” โอนโรงเรยี นสาธติ วทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี าซงึ่ เดมิ สงั กดั กรมสามญั ศกึ ษามาสงั กดั แผนกฝกึ หดั ครสู ามญั ศกึ ษา กองโรงเรยี นฝกึ หัดครู พ.ศ. 2508 วิทยาลัยครูนครราชสมี าย้ายสังกัดจากจังหวดั นครราชสมี าไปสังกัด กรมฝึกหัดครู พ.ศ. 2510 เร่ิมผลิตครูประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) อีกครั้งหนึ่ง โดยรับนักเรียนช้ันมัธยม ศึกษาตอนปลาย (มศ., มศ.6) เขา้ เรียน 1 ปี เพ่อื แก้ไขปญั หาการขาดแคลนครู พ.ศ. 2513 เริ่มผลิตครูประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) ภาคนอกเวลาส�ำหรับบุคคลภายนอก (เรียนวนั จันทร-์ วนั ศกุ ร์ เวลา 15.00-21.00 น. และเสาร์-อาทิตย์ เตม็ วัน) ใชเ้ วลาเรียน 3 ปี พ.ศ. 2515 เร่มิ ผลติ ครปู ระกาศนยี บตั รวชิ าการศึกษาชัน้ สงู ภาคนอกเวลาใช้เวลาเรียน 2 ปคี ร่งึ พ.ศ. 2517 เปิดสอนระดับปริญญาตรี ตามหลักสตู รการฝกึ หดั ครรู ะดบั ปริญญาตรี ของสภาการฝึกหัดครู พทุ ธศักราช 2519 สาขาท่ีเปดิ สอน คอื วชิ าเอกวิทยาศาสตร์ทัว่ ไป รับนกั ศึกษา 1 ห้องเรียน จ�ำนวน 19 คน นบั เปน็ กา้ วสำ� คัญเขา้ ส่คู วามเปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษาในทอ้ งถนิ่ 19 สิงหาคม 2518 มีการตราพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู พ.ศ. 2518 วิทยาลัยครูนครราชสีมา จึงได้รับ ยกยอ่ งฐานะเป็นสถาบันอดุ มศึกษา แบ่งส่วนราชการออกเปน็ 4 สว่ น คือ คมู่ อื นักศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 17
1. สำ� นักงานอธิการ 2. คณะวิชาครศุ าสตร์ 3. คณะวชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ 4. คณะวิชาวิทยาศาสตร์ เหตกุ ารณค์ รงั้ นท้ี ำ� ใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงตำ� แหนง่ ทางการบรหิ ารและวชิ าการ คอื ตำ� แหนง่ บรหิ าร มอี ธกิ าร รองอธกิ าร หวั หนา้ สำ� นกั งานอธกิ าร หวั หนา้ คณะวชิ า หวั หนา้ ภาควชิ า ตำ� แหนง่ ทางวชิ าการ มตี ำ� แหนง่ ศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ และอาจารย์ พ.ศ. 2519 ขยายการผลติ ครใู นระดบั ปรญิ ญาตรี วชิ าเอกตา่ งๆ เพมิ่ ขนึ้ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2520 วทิ ยาลยั ครู นครราชสมี า ไดเ้ สนอโครงการฝกึ อบรมครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาประจำ� การ (อคป.) เปน็ แหง่ แรก ทำ� ใหว้ ทิ ยาลยั ครูแห่งอื่นๆ ด�ำเนินการตามมา โดยเริ่มด�ำเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2521 ทั้งระดับครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) ประกาศนียบตั ร วชิ าการศกึ ษาชัน้ สูง (ป.กศ.ช้นั สงู ) และประกาศนียบัตรวชิ าการศึกษา (ป.กศ.) เปา้ หมาย คือข้าราชการครูในจังหวัดนครราชสีมาและชัยภูมิ เปิดเป็นศูนย์บริการ 4 ศูนย์ คือ ศูนย์วิทยาลัยครูนครราชสีมา ศนู ยโ์ นนกมุ่ อำ� เภอสคี วิ้ ศนู ยช์ มุ นมุ บา้ นตลาดแค อำ� เภอโนนสงู และศนู ยว์ ทิ ยาลยั เกษตรกรรมจงั หวดั ชยั ภมู ิ โครงการ นไี้ ดพ้ ฒั นามาจนสามารถเปดิ ในระดบั ปริญญาตรไี ด้ถงึ 20 วชิ าเอก 11-15 กนั ยายน พ.ศ. 2521 วทิ ยาลัยครนู ครราชสีมาไดจ้ ดั นิทรรศการวัฒนธรรมไทยชือ่ “ของดีโคราช” 18 มิถุนายน พ.ศ. 2522 เร่ิมโครงการอบรมครูท่ียังไม่มีวุฒิครูโดยเปิดศูนย์อบรมครูประจ�ำการท่ีโรงเรียน สรุ นารวี ทิ ยา และเปดิ ศนู ยอ์ บรมประจำ� การสำ� หรบั ครโู รงเรยี นราษฎร์ และครโู รงเรยี นเทศบาลทโ่ี รงเรยี นวดั สมอราย ในปนี ม้ี กี ารสนบั สนนุ อาจารยเ์ ขา้ สตู่ ำ� แหนง่ ทางวชิ าการ มผี ผู้ า่ นการประเมนิ เปน็ รศ. 3 คน และ ผศ. 14 คน พ.ศ. 2523 วิทยาลัยครูนครราชสีมาได้จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาวัฒนธรรมจังหวัด ซึ่งต่อมาได้พัฒนา เป็นศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดและศูนย์ศิลปวัฒนธรรมวิทยาลัยครูนครราชสีมา มีการจัดต้ังหอวัฒนธรรมเพื่อจัดแสดง ศิลปวัตถุ โดยใช้ช้นั ลา่ งอาคาร 5 พ.ศ. 2524 เปดิ สอนหลกั สตู รเทคนคิ การอาชพี (ทอ.) ระดบั ป.กศ. ชนั้ สูงภาคสมทบ รบั นักศึกษา 250 คน ใชเ้ วลาเรยี นวนั จนั ทร์ - ศกุ ร์ เวลา 15.00 - 21.00 น. และวนั เสาร์ เตม็ วนั มวี ชิ าเอกกอ่ สรา้ ง ชา่ งยนต์ คหกรรมศาสตร์ เกษตรศาสตร์ ดนตรี และศิลปกรรม พ.ศ. 2526 เปิดศนู ยภ์ าษานครราชสมี า โดยใช้อาคารสถานท่ชี ั้น 3 อาคาร 5 พ.ศ. 2526-2533 วทิ ยาลัยครนู ครราชสีมา รับผิดชอบโครงการส่งเสริมสขุ ภาพการศกึ ษา โรงเรยี นตำ� รวจ 18 คู่มือนักศึกษา ประจำ�ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
ตระเวนชายแดน เพื่อส่งเสรมิ คณุ ภาพการเรียนการสอน รวมทั้งการสร้าง การปรบั ปรุงอาคารสถานที่โรงเรียนในถ่ิน ทรุ กนั ดารโดยเฉพาะโรงเรียนตำ� รวจตระเวนชายแดน วิทยาลัยครูนครราชสมี ารบั ผิดชอบโรงเรยี นในเขตต�ำบลศรสี ขุ อำ� เภอสีชมพู จงั หวัดขอนแก่น พ.ศ. 2527 กระทรวงศกึ ษาธกิ ารประกาศจดั ตง้ั วทิ ยาลยั ชมุ ชนขน้ึ ในวทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี าเปน็ ครงั้ แรกใน ประเทศไทย เรยี กว่า วทิ ยาลยั ครูนครราชสีมา โดยเปดิ สอนหลักสตู ร ประกาศนียบตั รเทคนคิ การอาชีพ (ปทอ.) ใช้ เวลาเรยี น 2 ปี สาขาท่เี ปดิ สอน คือ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ โรงแรม และอตุ สาหกรรมการทอ่ งเทีย่ ว ในปีนี้เรมิ่ ซื้อเครื่อง คอมพวิ เตอร์ จำ� นวน 11 เคร่อื ง และเปดิ สอนตามหลักสตู รสภาฝกึ หัดครู ดังนี้ 1. ระดบั ประกาศนยี บัตรวชิ าการศึกษาชั้นสงู รับผสู้ ำ� เรจ็ ระดบั ป.กศ. มศ.5 หรอื มศ.6 เข้าเรียน วชิ าเอกภาษาไทย ศลิ ปศกึ ษา คณติ ศาสตร์ สงั คมศกึ ษา วทิ ยาศาสตรท์ ว่ั ไป เศรษฐศาสตร์ สหกรณ์ สขุ ศกึ ษา การอาชพี (กอ่ สร้าง ชา่ งยนต์ กสิกรรม การอาหาร) 2. ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 4 ปี รับผู้ส�ำเรจ็ การศกึ ษาระดับ ป.กศ. มศ.5 หรือ มศ.6 เขา้ เรยี น วชิ าเอกภมู ศิ าสตร์ เคมี ชวี วิทยา ฟิสิกส์ คณิตศาสตร์ บรรณารักษศาสตร์ ภาษาองั กฤษ และแนะแนว 3. ระดับปริญญาตรีหลักสูตร 2 ปี รับผู้ส�ำเร็จการศึกษาระดับ ปก.ศ.ช้ันสูง มีวิชาเอกภาษาไทย สงั คมศกึ ษา วทิ ยาศาสตรท์ วั่ ไป เกษตร พลศกึ ษา อตุ สาหกรรม ชา่ งอตุ สาหกรรม การบรหิ ารโรงเรยี น คหกรรมศาสตร์ ศลิ ปศกึ ษา แนะแนว ประถมศกึ ษา สขุ ศกึ ษา บรรณารักษ์ เทคโนโลยีทางการศกึ ษา ภมู ศิ าสตร์ เคมี ชีววทิ ยา ฟิสิกส์ มกี ารตราพระราชบญั ญัตวิ ทิ ยาลยั ครู ฉบับที่ 2 พุทธศักราช 2527 ให้วิทยาลยั ครผู ลิตบัณฑติ สาขาวิชาชพี อน่ื ทไ่ี ม่มีวชิ าชพี ครูได้ วิทยาลัยครนู ครราชสีมาจึงไดจ้ ัดตั้งคณะวิทยาการจดั การ ใน พ.ศ. 2528 และเปดิ การเรียน การสอนไดใ้ นปกี ารศึกษา 2529 โดยมี อาจารยจ์ รูญ หล่งั นำ้� สงั ข์ เป็นหวั หน้าคณะวชิ าคนแรก พ.ศ. 2528 เกิดสหวิทยาลัยอีสานใต้ ตามข้อบังคับว่าด้วยการจัดกลุ่มวิทยาลัยครู ออกเป็นสหวิทยาลัย สหวิทยาลยั อีสานใต้ จึงเป็นการรวมกลมุ่ วทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี า วทิ ยาลยั ครูอบุ ลราชธานี วทิ ยาลัยครูสรุ นิ ทร์ และ วทิ ยาลยั ครบู รุ รี มั ย์ โดยมี รศ.ดร.ทองคณู หงสพ์ นั ธ์ุ อธกิ ารบดวี ทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี า เปน็ ประธานคณะกรรมการสห วทิ ยาลยั อีสานใตค้ นแรก และ รศ.ดร.ประหยัด ลักษณะงาม เปน็ ผูอ้ ำ� นวยการสำ� นกั ซึง่ อยใู่ นวทิ ยาลัยครูนครราชสีมา เปดิ หอวัฒนธรรมโดยใช้อาคาร 2 ทัง้ อาคารเปน็ ท่ีจัดแสดงวฒั นธรรมสาขาต่างๆ เช่น ของดีโคราช เอกสาร วฒั นธรรม อาชพี ผา้ ไทยเอกลกั ษณไ์ ทย จรยิ ธรรม พทุ ธศาสตร์ ดนตรี ศลิ ปะ และดนตรศี รโี คราช เรม่ิ เปดิ รบั นกั ศกึ ษา ท่ีมีความสามารถพเิ ศษเข้าเรยี นในโควตา กิจกรรมดเี ดน่ เช่นกจิ กรรมดนตรพี น้ื บา้ น นาฏศิลป์ ดนตรไี ทย และกฬี า ชนิดตา่ งๆ โครงการน้ี ไดพ้ ัฒนามารบั นกั ศึกษาเรียนดีควบคไู่ ปด้วยในเวลาตอ่ มาจนทุกวันนี้ คมู่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 19
พ.ศ. 2529 โครงการ อ.ค.ป. ซ่งึ ผลติ มา 8 รนุ่ ตัง้ แต่ พ.ศ. 2521 ได้เปลีย่ นมาเปน็ โครงการจัดการศึกษา ส�ำหรบั บคุ ลากรประจ�ำการ (กศ.บป.) เพือ่ ใหส้ ามารถผลิตบณั ฑติ สาขาวชิ าชพี อน่ื รับบคุ ลากรประจำ� การอาชพี อนื่ ท่ี สงั กดั หนว่ ยงานของรฐั และเอกชนเขา้ เรยี นโครงการน้ี ดำ� เนนิ การมา 11 รนุ่ จงึ เปลยี่ นโครงการการศกึ ษาเพอื่ ปวงชน (กศ.ปช.) ในปี พ.ศ. 2539 พ.ศ. 2530 สรา้ งลานธรรมเฉลมิ พระเกยี รตใิ นวโรกาสทพ่ี ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ทรงเจรญิ พระชนมายุ ครบ 60 พรรษา ทบี่ รเิ วณหอประชมุ เกา่ ซงึ่ รอื้ ไปแลว้ ศนู ยก์ ลางของลานธรรม เปน็ ทท่ี พี่ ระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั และ สมเดจ็ พระนางเจา้ สริ กิ ติ พ์ิ ระบรมราชนิ นี าถ ไดเ้ คยประทบั ฟงั การอภปิ รายหนา้ พระทน่ี ง่ั เมอ่ื วนั ที่ 20 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2507 เกดิ โครงการครุ ทุ ายาทเพอ่ื บรรจุเข้ารบั ราชการด้วยวธิ พี เิ ศษ มนี กั ศึกษาในโครงการ 2 วชิ าเอก คอื การศกึ ษา ปฐมวัยและการประถมศึกษา จึงท�ำให้เกิดศูนย์พัฒนาเด็กปฐมวัยสิงหราชข้ึน เพ่ือให้เป็นห้องเรียนปฏิบัติการของ นกั ศกึ ษาวชิ าเอกปฐมวยั ฝกึ ประสบการณแ์ ละวจิ ยั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง เหตทุ ช่ี อ่ื สงิ หราชเพราะใชอ้ าคารทเี่ คยเปน็ หอพกั ชาย สงิ หราชเปน็ ทด่ี ำ� เนนิ การ ปจั จบุ นั ศนู ยพ์ ฒั นาเดก็ ปฐมวยั สงิ หราชไดพ้ ฒั นามาเปน็ โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ด�ำเนินการสอนตง้ั แต่ระดับอนบุ าลจนถึงประถมศกึ ษา พ.ศ. 2531 ปรับปรุงบ้านพักผู้อ�ำนวยการหลังเก่าซึ่งเป็นเรือนไทยปั้นหยาให้เป็นศูนย์ฝึกอุตสาหกรรมท่อง เทยี่ ว ใหข้ อ้ มลู ดา้ นการทอ่ งเทย่ี วและทพ่ี กั ชว่ั คราว และเรม่ิ โครงการศนู ยส์ ง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ศวท.) อย่ใู นแผนงานบริการวชิ าการแกช่ มุ ชน พ.ศ. 2532 ด�ำเนินโครงการอีสานเขยี ว 20 โครงการ เช่น โครงการออนซอนอีสาน โครงการหมบู่ า้ นอีสาน รักถิ่น โครงการศึกษาอบรมเยาวชนและเกษตรแบบครบวงจร ฯลฯ การด�ำเนินงานโครงการนี้ท�ำให้เกิดโครงการ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อพัฒนาชนบท เพื่อให้นักศึกษาน�ำความรู้จากภาคทฤษฎีไปสู่ภาคปฏิบัติในสายวิชาชีพท่ี เกย่ี วกับการพัฒนาชนบท เชน่ วชิ าเอกการพฒั นาชมุ ชน วชิ าเอกเทคโนโลยีการเกษตร วิชาเอกส่งเสรมิ และสอื่ สาร การเกษตร วชิ าเอกสขุ ศึกษา พ.ศ. 2533 ในปีน้ไี ด้โครงการร่วมมือทส่ี �ำคญั 2 โครงการ คอื โครงการรว่ มมือระหว่าง กรมการฝึกหัดครกู ับ บรษิ ัท ดุสติ ธานี จำ� กัด เพอ่ื ผลติ บุคลากรในธุรกิจโรงแรม และโครงการจดั การศึกษาระดบั ปรญิ ญาโทภาคพิเศษสว่ น ภมู ภิ าคระหวา่ งสถาบนั บณั ฑติ พฒั นบรหิ ารศาสตร์ กบั กรมการฝกึ หดั ครู โดยดำ� เนนิ การเปน็ โครงการนำ� รอ่ งระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2533-2537) เปดิ สอนหลกั สตู รรฐั ประศาสนศาสตรมหาบณั ฑติ ใชส้ ถานทแี่ ละสงิ่ อำ� นวยความสะดวกจาก วทิ ยาลยั ครูนครราชสมี า 20 คมู่ อื นักศึกษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
พ.ศ. 2535 มเี หตกุ ารณส์ ำ� คัญเกดิ ขึน้ ได้แก่ 1. มีการเฉลมิ ฉลอง 100 ปี การฝึกหัดครไู ทย วิทยาลัยครูนครราชสีมาเปน็ เจา้ ภาพ จดั การแข่งขนั กฬี าโคราชเกมส์ ซงึ่ เป็นการแขง่ ขนั กีฬาสหวทิ ยาลยั ทั่วประเทศ 2. วนั ท่ี 14 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2535 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ ัวพระราชทานนาม วิทยาลยั ครู ท่ัวประเทศเป็นสถาบันราชภัฏ และในวันที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2535 เวลา 12.45 น. กรมการฝึกหัดครูได้จัดพิธี พระราชทานช่อื วทิ ยาลยั ครทู ่ัวประเทศเปน็ สถาบันราชภฏั ทว่ี ิทยาลยั ครสู วนสุนนั ทา สมยั เป็นสถาบนั ราชภัฏนครราชสีมา (พ.ศ. 2535-2546) สมัยเป็นสถาบันราชภัฏนครราชสีมา เป็นความเปลี่ยนแปลงครั้งส�ำคัญอีกก้าวหนึ่งที่จะพัฒนาตัวเองไปสู่ ความเป็นมหาวทิ ยาลัยอย่างเต็มรปู แบบ อธกิ ารบดี 4 ท่าน นบั ต้งั แต่ ผศ.ดร.สมคกั ดิ์ ทองงอก ผศ.อุทยั เดชตานนท์ รศ.เชดิ ชัย โชครตั นชยั ถงึ ผศ.ดร.เศาวนติ เศาณานนท์ ได้นำ� พาสถาบนั พฒั นาท้งั ดา้ นอาคารสถานท่ี การบริหารและ จดั การเรยี นการสอน โดยมุ่งเน้นคุณภาพนกั ศึกษาทง้ั ด้านความรู้และด้านคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ความเปลีย่ นแปลงใน สมยั เปน็ สถาบันราชภฏั ทสี่ ำ� คัญมีดงั น้ี • พระราชบัญญัตสิ ถาบนั ราชภฏั สืบเน่ืองจากพระราชบัญญัติวิทยาลัยครู ฉบับพุทธศกั ราช 2527 ใหว้ ทิ ยาลยั ครสู ามารถ ผลติ บณั ฑิตระดบั ปรญิ ญาตรสี าขาวทิ ยาศาสตร์ และศลิ ปศาสตรไ์ ด้ รวมทง้ั เปา้ หมายของแผนพฒั นาการศกึ ษาระยะที่ 7 มเี ปา้ หมายการ ผลิตบณั ฑติ ครใู นปี พ.ศ. 2539 จะลดลงจากในปี พ.ศ. 2527 ถึงร้อยละ 40 ในขณะทีก่ ารผลิตสาขาวิชาวทิ ยาศาสตร์ จะเพม่ิ เป็นรอ้ ยละ 30 และสาขาวิชาศลิ ปศาสตร์ เป็นรอ้ ยละ 30 จากเดิมปี 2527 ทไ่ี ม่มีการผลิตทง้ั 2 สาขาวิชา ดร.นิเชต สุนทรพิทักษ์ เลขาธิการสภาสถาบันราชภัฏขณะน้ัน ได้กล่าวถึงเหตุผลในการปรับเปลี่ยนจาก วทิ ยาลัยครเู ปน็ สถาบนั ราชภัฏ “...นบั จากปี พ.ศ. 2528 การผลิตบณั ฑิต สายครุศาสตรจ์ ะเริม่ ลด สายศลิ ปศาสตร์ และวิทยาศาสตรจ์ ะเริ่มเพมิ่ โปรแกรมต่างๆ เรม่ิ ขยายตัวข้นึ มาตามความตอ้ งการของท้องถนิ่ น่าคดิ อยอู่ ย่างหน่ึงวา่ คือยังเป็นวิทยาลัยครูอยู่ ในขณะท่ีโปรแกรมท่ีผลิตออกไปมีหลากหลาย เป็นปัญหาว่านักศึกษาที่จบจากวิทยาลัย ครูไปจะมีปญั หาในเรอ่ื งการหางานท�ำเพราะคนทว่ั ไปยังคดิ วา่ วทิ ยาลยั ครผู ลิตเฉพาะครเู ท่าน้ัน ในขณะทคี่ วามจรงิ วิทยาลัยครเู ร่มิ ผลิตบัณฑติ สาขาอ่นื ๆ ท้ังวทิ ยาศาสตรบัณฑิต (วท.บ) และศลิ ปศาสตรบณั ฑิต (ศศ.บ.) มากข้ึน และ ตามเป้าหมายที่กำ� หนดไว้ในแผนพัฒนาการศกึ ษาระยะที่ 7 (พ.ศ. 2535-2539) สัดส่วนการผลติ สาขาการศกึ ษา : สาขาวิทยาศาสตร์ เปน็ 40 :30 :30 จึงคดิ ว่าน่าจะมคี วามจ�ำเป็นต้องเปลยี่ นชอ่ื ใหส้ อดคลอ้ งกบั การดำ� เนนิ งาน ที่ได้ คมู่ ือนกั ศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา 21
ขยายตวั ไปเหมอื นเปน็ มหาวทิ ยาลยั ทอ้ งถนิ่ คอื ใหถ้ กู ตอ้ งกบั ผลผลติ ทผ่ี ลติ ออกไป งานเรมิ่ ทำ� ในปี พ.ศ. 2535 คอื ขอ พระราชทานช่ือจากพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั และไดร้ บั พระราชทานมาเม่อื วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2535 มา เป็นสถาบนั ราชภฏั ซึ่งเปน็ สิง่ ทพี่ วกเราภาคภมู ิใจเปน็ อย่างมากทที่ รงมีพระมหากรณุ าธิคณุ อยา่ งสงู สดุ ” ปี พ.ศ. 2535 เมอื่ พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู พิ ลอดลุ ยเดชฯ ทรงพระกรณุ า โปรดเกลา้ ฯ พระราชทาน นามวิทยาลยั ครวู า่ “สถาบนั ราชภฏั ” กระทรวงศกึ ษาธิการไดน้ �ำเสนอ ร่างพระราชบัญญตั ิสถาบันราชภัฏเขา้ สู่คณะ รฐั มนตรี เมอื่ วนั ที่ 17 สงิ หาคม พ.ศ. 2535 จากนน้ั สำ� นกั งานคณะกรรมการกฤษฎกี าไดพ้ จิ ารณารา่ งพระราชบญั ญตั ิ สถาบนั ราชภฏั ตามมติคณะรฐั มนตรี เสร็จเม่อื วันท่ี 27 เมษายน พ.ศ. 2537 และได้ผ่านวาระ เม่ือวันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2537 พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ ัวภูมพิ ลอดลุ ยเดชฯ ได้ลงพระปรมาภไิ ธย ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษาเร่ิม ใชพ้ ระราชบญั ญัติสถาบนั ราชภฏั เมือ่ วันท่ี 25 มกราคม พ.ศ. 2538 ปีการศึกษา 2541 เป็นครั้งแรกท่ีสถาบันราชภัฏนครราชสีมาเปิดสอนในระดับปริญญาโท เร่ิมเปิดสอน บณั ฑิตศกึ ษาในสาขาวิชาท่ีบรหิ ารการศกึ ษารบั นักศึกษารุ่นแรก จำ� นวน 74 คน เป็นนักศึกษาภาคปกติ 12 คน และ นกั ศึกษาภาคพเิ ศษ 62 คน สว่ นภาคศกึ ษาระดับปริญญาตรีได้เกดิ การสรา้ งมาตรฐานใหม่ อาทิ ก�ำหนดนโยบายท่ี จะรบั นกั ศกึ ษาภาคปกตจิ ากการสอบคดั เลอื ก ไมย่ อมใหเ้ กดิ ระบบฝากโดยบคุ คล การจดั อบรมพฒั นาจติ เพอ่ื พฒั นา ปญั ญาให้กับนกั ศกึ ษาภาคปกติทุกคนโดยเรมิ่ ต้นคร้ังแรกในปี พ.ศ. 2539 และนอกจากนยี้ ังเรม่ิ ตน้ การจดั การศึกษา เพื่อปวงชน (กศ.ปช.) ข้ึนมาแทนการจัดการศึกษาส�ำหรับบุคลากรประจ�ำการ (กศ.บป.) ในปี พ.ศ. 2539 เพื่อ เปิดโอกาสทางการศึกษาให้บุคคลทั่วไปได้กว้างขวางขึ้น ไม่เฉพาะบุคลากรประจ�ำการเช่นเดิม ไม่เพียงแค่ความ เปล่ยี นแปลงภายในสถาบันเทา่ นน้ั การตง้ั ศูนย์ใหก้ ารศึกษาอ�ำเภอปากช่องเพ่อื ขยายการจัดการศึกษาตามโครงการ การจัดการศกึ ษาเพ่อื ปวงชน (กศ.ปช.) ในปี พ.ศ. 2541 ทำ� ให้เห็นแนวโน้มของการสร้างโอกาสทางการศึกษาให้กบั ชาวนครราชสีมากว้างขวางเพมิ่ มากขึน้ จากสถาบันราชภัฏสมู่ หาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมาได้รับพระมหากรุณาธิคุณจากพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพล อดุลยเดชทรงลงพระปรมาภิไธยในพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยราชภัฏ วันที่ 10 มิถุนายน 2547 และประกาศ ในพระราชกจิ จานเุ บกษา เม่อื วันที่ 14 มิถนุ ายน 2547 ดังน้นั สถาบันราชภัฏนครราชสีมาจึงได้เปล่ยี นสถานภาพ เปน็ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั ตัง้ แต่วันที่ 15 มถิ ุนายน 2547 โดยมี ผศ.ดร.เศาวนติ เศาณานนท์ เป็นอธิการบดีคนแรก หมายเหตุ ประวัติมหาวิทยาลัยน้ีตัดย่อจาก หนังสือประวัติมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา ฉบับคณะกรรมการช�ำระ ประวัติมหาวทิ ยาลยั พ.ศ. 2550 22 คมู่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา
เล่าขาน ตำ� นานแห่งความภาคภมู ิใจ ในพระมหากรุณาธคิ ุณพระราชทานโล่การแขง่ ขันฟุตบอลประเพณี สบื เนอื่ งมาจาก อาจารยเ์ ตรยี ม ทพิ วงศา และอาจารยส์ วุ ฒั น์ พนิ จิ พงศ์ ไดจ้ ดั แขง่ ขนั ฟตุ บอลระหวา่ งอาจารย์ ของวทิ ยาลยั ครูและวิทยาลยั เทคนิคภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ต้งั แต่ พ.ศ. 2500 ครงั้ ตอ่ มาไดพ้ ฒั นาเปน็ การแขง่ ขนั ระหว่างนักศกึ ษา พ.ศ. 2502 จงึ ได้ขอพระราชทานโลจ่ ากพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว นบั เป็นสริ ิมงคลอย่างยิง่ ต่อ ทงั้ สองสถาบนั เพราะเปน็ โลพ่ ระราชทานมายงั ภมู ภิ าคเพยี งแหง่ เดยี ว การแขง่ ขนั ฟตุ บอลประเพณชี งิ โลพ่ ระราชทาน จงึ เปน็ งานสำ� คญั ของทง้ั สองสถาบนั นกั ศกึ ษาทกุ คนจะรว่ มงานดว้ ยความภาคภมู ใิ จ แมศ้ ษิ ยเ์ กา่ ทสี่ ำ� เรจ็ การศกึ ษาไป แล้วกจ็ ะกลบั มารวมกลุม่ ในวนั น้ี งานฟุตบอลประเพณีชิงโลพ่ ระราชทานจงึ สืบตอ่ มาจนถงึ ทกุ วันน้ี พ.ศ. 2503 เมื่อ นายสุรินทร์ สรสิริ ได้รับพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ แต่งต้ังให้ด�ำรงต�ำแหน่งเป็น ผอู้ ำ� นวยการชนั้ พเิ ศษไดป้ รบั ปรงุ กจิ การของวทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี าใหก้ า้ วหนา้ ยงิ่ ขนึ้ เชน่ จดั หมวดวชิ า ครอู าจารย์ มีห้องพัก มีปฏิทินการด�ำเนินงาน จัดโฮมรูม การแนะแนว การศึกษาเปลี่ยนห้องเรียนทุกชั่วโมง ใช้ระบบตัวเลข บอกห้อง เปน็ ตน้ กจิ กรรมทค่ี นทง้ั จังหวัดให้ความสนใจคอื การจดั นทิ รรศการทางวชิ าการประจ�ำปีที่แสดง ความก้าวหน้าทาง วชิ าการ ตลอดทงั้ พลงั ศกั ยภาพของนกั เรยี น และงานวนั เกษตร ซงึ่ มกี ารจดั แสดงและจำ� หนา่ ยผลติ ผลทางการเกษตร ของนกั ศกึ ษาซง่ึ เรยี นวชิ าเกษตร บรเิ วณทเ่ี ปน็ แปลงเกษตรคอื บรเิ วณทต่ี ง้ั ของคณะวทิ ยาการจดั การและอาคารเกษตร ปจั จุบัน การแข่งขนั ฟตุ บอลประเพณีชิงโล่พระราชทาน ระหว่าง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า และมหาวทิ ยาลัย เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน โดยผลัดเปลี่ยนกันเป็นเจ้าภาพ ซ่ึงการแข่งขันผ่านมาแล้ว 60 ปี จ�ำนวน 51 คร้ัง มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า ชนะ 17 ครง้ั เสมอ 21 ครั้ง แพ้ 13 ครง้ั งดการแขง่ ขนั 9 คร้งั คมู่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 23
โครงสร้างการบริหารมหาวทิ ยาลยั สภามหาวิทยาลยั สภาวิชาการ คณะกรรมการการสง่ เสริม กจิ การมหาวิทยาลยั สภาคณาจารย์และขา้ ราชการ คณะกรรมการพิจารณา ต�ำแหนง่ ทางวิชาการ อธกิ ารบดี คณะกรรมการติดตาม ตรวจสอบและ ประเมินผลของมหาวทิ ยาลยั หน่วยงานตรวจสอบภายใน คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย รองอธิการบดี ผชู้ ่วยอธิการบดี คณบดี ผู้อ�ำนวยการศูนย/์ สำ� นกั /สถาบนั 24 ค่มู อื นักศึกษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
โครงสร้างการแบ่งสว่ นราชการ มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา หนว่ ยงานจัดการด้านวิชาการ หน่วยงานสนับสนุน • คณะครศุ าสตร์ • สำ� นกั งานอธกิ ารบดี - โรงเรยี นสาธติ มหาวทิ ยาลัย - กองกลาง ราชภัฏนครราชสีมา - กองบริหารงานบุคคล - ศูนยก์ ารศกึ ษาพิเศษ - กองนโยบายและแผน - ศนู ย์ศกึ ษาการพฒั นาครู - กองพัฒนานกั ศกึ ษา • คณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ - กองคลงั • คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - กองกจิ การพเิ ศษ - ศนู ย์วทิ ยาศาสตร์ - กองวิเทศสมั พนั ธ์ • คณะวทิ ยาการจดั การ - กองประกนั คณุ ภาพการศึกษา -โครงการจัดตงั้ ศนู ยว์ ิจัยและ - ส�ำนกั งานสภามหาวิทยาลัย พฒั นาธรุ กจิ ท้องถ่นิ - โครงการจัดต้ังกองอาคารสถานที่และบรกิ าร • คณะเทคโนโลยีอตุ สาหกรรม • สถาบันวจิ ัยและพฒั นา • คณะสาธารณสุขศาสตร์ • ส�ำนักวิทยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ • บณั ฑติ วิทยาลยั • ส�ำนักศลิ ปะและวัฒนธรรม • สำ� นักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน • ส�ำนักคอมพวิ เตอร์ • สถาบันวิจัยไมก้ ลายเป็นหินและ ทรพั ยากรธรณภี าคตะวันออกเฉยี งเหนือ เฉลิมพระเกยี รติ • สถาบนั ภาษา คู่มอื นกั ศกึ ษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 25
มหาว�ทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา Nakhon Ratchasima Rajabhat University คณะกรรมการสภา มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา
คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลัย นายสุวัจน์ ลิปตพลั ลภ นายกสภามหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสีมา นายพงษ์ศิริ กสุ ุมภ์ อุปนายกสภามหาวิทยาลัย/ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผูท้ รงคุณวุฒิ นายกงกฤช หริ ัญกิจ ผศ.กนก โตสรุ ัตน์ กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผ้ทู รงคุณวุฒิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผู้ทรงคณุ วุฒิ คูม่ ือนักศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า 27
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลัย ศ.ดร.เกรยี งศกั ดิ์ เจริญวงศศ์ กั ด์ิ นายธงชัย ลอื อดลุ ย์ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผูท้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ ศ.วุฒสิ าร ตันไชย ผศ.ดร.เศาวนติ เศาณานนท์ ผศ.อทุ ัย เดชตานนท์ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผทู้ รงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วุฒิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วุฒิ ดร.สมเกียรติ ออ่ นวิมล ศ.ดร.สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสด์ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้ทรงคณุ วฒุ ิ 28 ค่มู ือนกั ศึกษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
คณะกรรมการสภามหาวทิ ยาลยั นายสุพงษ์พิธ รุ่งเป้า ผศ.ดร.อดิศร เนาวนนท์ ประธานคณะกรรมการสง่ เสริมกจิ การมหาวิทยาลยั อธกิ ารบดี อาจารย์ศกั ดิ์ดา นาสองสี รศ.ดร.สธุ านันธ์ โพธิ์ชาธาร ผศ.ดร.พิเศษ ตกู้ ลาง ประธานสภาคณาจารย์และขา้ ราชการ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผู้ดำ� รงตำ� แหนง่ บรหิ าร กรรมการสภามหาวิทยาลยั ผู้ดำ� รงตำ� แหนง่ บรหิ าร ผศ.ดร.รฐั ภรณ์ คดิ การ ผศ.ดร.ณฐั กติ ติ์ อินทรส์ วรรค์ กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผูด้ �ำรงต�ำแหน่งบริหาร กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผูด้ ำ� รงต�ำแหนง่ บรหิ าร คู่มอื นักศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า 29
คณะกรรมการสภามหาวิทยาลยั อาจารยว์ ฒุ ิไกร ไชยมาลี อาจารยป์ ระพิษ พทุ ธชิ าติ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผู้แทนคณจารย์ประจำ� กรรมการสภามหาวิทยาลัยผู้แทนคณจารย์ประจ�ำ ผศ.ดร.ธนากร เปลื้องกลาง อาจารย์สุรัตน์ หงษ์ไทย ผศ.ดร.อานรรต ใจส�ำราญ กรรมการสภามหาวทิ ยาลยั ผแู้ ทนคณจารยป์ ระจำ� กรรมการสภามหาวทิ ยาลัยผู้แทนคณจารย์ประจำ� เลขานกุ ารสภามหาวิทยาลัย 30 คูม่ อื นักศึกษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563 มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
มหาว�ทยาลัยราชภัฏนครราชสมี า Nakhon Ratchasima Rajabhat University คณะกรรมการบรหิ าร มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า คู่มอื นักศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 31
คณะกรรมการบรหิ ารมหาวิทยาลยั ผศ.ดร.อดศิ ร เนาวนนท์ อธิการบดี รศ.ดร.กิตพิ งษ์ ลือนาม ผศ.ดร.ทวี วชั ระเกียรตศิ กั ด์ิ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยวชิ าการ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยยทุ ธศาสตร์และการวจิ ัย ผศ.ดร.สุดาใจ โลห่ ์วนิชชัย รศ.ดร.สุธานันธ์ โพธ์ชิ าธาร ผศ.ดร.อานรรต ใจสาํ ราญ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยแผนและงบประมาณ รองอธกิ ารบดีฝา่ ยบริหารทว่ั ไป รองอธิการบดีฝา่ ยกจิ การพิเศษและวิเทศสัมพนั ธ์ 32 คู่มอื นกั ศึกษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสมี า
คณะกรรมการบริหารมหาวิทยาลัย ผศ.ดร.ธวัช ตราชู ผศ.ดร.นฤเบศ ลาภยิ่งยง รองอธิการบดีฝา่ ยกจิ การนักศกึ ษา รองอธิการบดีฝา่ ยพัฒนาทรัพยากรบคุ คล และศิษยเ์ กา่ สัมพนั ธ์ และกิจการสภามหาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.ร่งุ โรจน์ พงศก์ ิจวิทูร ผศ.ดร.สวียา ปรารถนาดี ผู้ชว่ ยอธกิ ารบดีฝ่ายดิจิทัลเพอ่ื การศึกษา ผชู้ ว่ ยอธิการบดฝี ่ายกจิ การทั่วไป ผศ.สุธรี า เขม็ ทอง ดร.อาภา สธนเสาวภาคย์ ผู้ช่วยอธกิ ารบดฝี า่ ยประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ผชู้ ว่ ยอธกิ ารบดีฝา่ ยกายภาพและส่งิ แวดล้อม คมู่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 33
คณะกรรมการบริหารมหาวทิ ยาลยั ผศ.ดร.รฐั กรณ์ คิดการ ผศ.ดร.พิเศษ ตู้กลาง ผศ.ดร.สกุล วงษ์กาฬสนิ ธ์ุ คณบดคี ณะครศุ าสตร์ คณบดีคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี คณบดีคณะมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ ดร.ยุทธกร ฤทธ์ิไธสง ดร.ดวงธดิ า โคตรโยธา คณบดคี ณะวิทยาการจัดการ คณบดีคณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม รศ.ดร.พฒุ ิพงศ์ สตั ยวงศ์ทิพย์ ผศ.ดร.สมเกยี รติ ทานอก ผศ.ดร.แสงเพช็ ร พระฉาย คณบดคี ณะสาธารณสุขศาสตร์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ผู้อำ� นวยการ สำ� นักส่งเสรมิ วชิ าการและงานทะเบียน 34 คมู่ อื นกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
คณะกรรมการบรหิ ารมหาวทิ ยาลัย อาจารย์สุเกษม อิงคนินันท์ รศ.ดร.ชคตั ตรยั รยะสวัสดิ์ ผศ.ดร.ณฐั กิตต์ อินทร์สวรรค์ ผูอ้ �ำนวยการ ผูอ้ �ำนวยการสถาบันวิจยั และพัฒนา ผู้อำ� นวยการสำ� นักศิลปะและวัฒนธรรม สำ� นักวทิ ยบรกิ ารและเทคโนโลยสี ารสนเทศ ผศ.ดร.ประเทือง จนิ ตสกลุ รศ.ดร.กิตพิ งษ์ ลือนาม ผู้อำ� นวยการสถาบันวจิ ัยไม้กลายเป็นหนิ ฯ รกั ษาราชการแทนผ้อู �ำนวยการสำ� นกั คอมพวิ เตอร์ อาจารยป์ ิยะฉัตร เทพหัสดนิ ณ อยธุ ยา นางสาวผอ่ งพรรณ วเิ ศษศุภการ ผูอ้ �ำนวยการสถาบันภาษา ผอู้ ำ� นวยการส�ำนกั งานอธิการบดี คมู่ อื นักศึกษา ประจ�ำ ปกี ารศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา 35
มหาวท� ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา Nakhon Ratchasima Rajabhat University 2สว่ นที่ หนว่ ยงานของ มหาวิทยาลัยราชภฏั นครราชสมี าท่นี กั ศึกษาควรรู้
หนว่ ยงานจดั การดา้ นวิชาการ
คณะครุศาสตร์ www.edu.nrru.ac.th
ประวัตโิ ดยยอ่ คณะครุศาสตร์ได้ด�ำเนินการตามพันธกิจในฐานะเป็นหน่วยงานตามโครงสร้างของมหาวิทยาลัยราชภัฏ นครราชสมี า ซง่ึ มหี นา้ ทใี่ นการผลติ บณั ฑติ ในระดบั ปรญิ ญาตรี และบณั ฑติ ศกึ ษา โดยมปี ระวตั คิ วามเปน็ มาอนั ยาวนาน มากวา่ 90 ปี คณะครศุ าสตรต์ ง้ั ขนึ้ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2457 ทโ่ี รงเรยี นตวั อยา่ งจงั หวดั นครราชสมี า ซง่ึ ตอ่ มาเปลย่ี นเปน็ “โรงเรยี น ประจำ� มณฑลนครราชสมี า” ซงึ่ กระทรวงธรรมการไดจ้ ดั ตงั้ ขน้ึ เมอ่ื ปี พ.ศ. 2466 ทข่ี า้ งวดั โพธิ์ ตำ� บลโพธกิ์ ลาง อำ� เภอ เมือง จงั หวัดนครราชสีมา เปิดสอนหลกั สตู รประโยคครูมลู สามญั (ป.) และประโยคครปู ระกาศนยี บัตรจังหวดั (ว.) ต่อมาไดเ้ ปล่ยี นชื่อ ยา้ ยท่ตี ้ังปรบั หลักสูตรการศึกษา และมีพฒั นาการมาเป็นล�ำดับ จนเป็นมหาวทิ ยาลยั ในปจั จบุ ัน พ.ศ.2478 โรงเรยี นฝึกหดั ครมู ูลกสกิกรรม ประจำ� มาณฑลนครราชสีมา เปลี่ยนชอื่ เป็น “โรงเรียนฝึกหัดครู ประกาศนยี บตั รจังหวดั นครราชสีมา” เปิดสอนเฉพาะหลักสูตรประโยคครูประกาศนียบัตรจงั หวัด (ว.) พ.ศ.2481 ย้ายไปอยูแ่ ทนท่ีโรงเรยี นฝึกหัดครปู ระถมสกิกรรม อำ� เภอโนนสงู จงั หวดั นครราชสีมา และในปี พ.ศ. 2485 เปล่ียนชอ่ื เปน็ “โรงเรียนฝกึ หัดครูมูลโนนสูง” เปิดสอน 3 หลกั สตู ร ได้แก่ ประโยคครปู ระกาศนยี บัตร จงั หวัด (ว.) ประโยคครปู ระชาบาล (ป.บ.) และประโยคครูมูล (ม.) พ.ศ.2490 ยา้ ยเขา้ มาอยู่ ณ ท่ตี ั้งปัจจุบนั ในอ�ำเภอเมอื ง จงั หวดั นครราชสีมา และเปลีย่ นช่อื เป็น “โรงเรียน ฝกึ หัดครนู ครราชสีมา” ในปี พ.ศ.2495 ไดย้ ุบเลกิ หลักสูตรเดมิ 3 หลักสตู ร และเปิดสอนหลักสูตรประกาศนยี บตั ร ประโยคครูประถม (ป.ป.) จนถึงปี พ.ศ.2497 จึงเปิดสอนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาการศึกษา (ป.กศ.) แทน หลกั สตู รประกาศนียบัตรประโยคครูประถม (ป.ป.) พ.ศ.2502 ไดร้ บั การยกฐานะเปน็ “วทิ ยาลยั ครนู ครราชสมี า” และเปดิ สอนหลกั สตู รประกาศนยี บตั รวชิ าการ ศกึ ษาชนั้ สูง (ป.กศ.ชั้นสงู ) ตอ่ จากระดบั ป.กศ. พ.ศ. 2518 ได้รับการยกฐานะเป็นสถาบันอุดมศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการตามพระราชบัญญัติ วทิ ยาลัยครู พทุ ธศกั ราช 2518 จงึ ขยายการผลิตครถู งึ ระดับปรญิ ญาตรคี รุศาสตรบณั ฑิต (ค.บ.) พ.ศ. 2520 เรมิ่ โครงการอบรมครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาประจำ� การ (อคป.) แลว้ พฒั นามาเปน็ โครงการ จัดการศึกษาเพอ่ื ปวงชน (กศ.ปช.) ในปัจจุบัน คมู่ ือนักศกึ ษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 39
พ.ศ. 2527 เรม่ิ เปดิ สอนสาขาวชิ าชพี อนื่ นอกเหนอื จากสาขาวชิ าการศกึ ษาในระดบั อนปุ รญิ ญาและขยายถงึ ระดบั ปรญิ ญาตรีในระยะตอ่ มา พ.ศ. 2537 เปลย่ี นแปลงฐานะเปน็ “สถาบนั ราชภฏั นครราชสมี า” สามารถเปดิ สอนระดบั ทสี่ งู กวา่ ปรญิ ญาตรี พ.ศ. 2541 เรม่ิ เปดิ สอนระดบั ปรญิ ญาโท สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา และปตี อ่ ๆ มา ตง้ั แต่ พ.ศ.2542-2545 ได้เปิดสอนสาขาอนื่ เพ่ิมอีก 6 สาขา ได้แก่ สาขาเทคโนโลยแี ละสอ่ื สารการศึกษา สาขาระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ สาขาการสง่ เสรมิ สขุ ภาพ สาขาหลกั สตู รและการสอน สาขาสงั คมศาสตรเ์ พอื่ การพฒั นา และสาขาการพฒั นาสขุ ภาพ ชุมชน พ.ศ. 2547 15 มถิ ุนายน 2547 ไดร้ ับการยกฐานะเปน็ “มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสีมา” ระยะต่อมา ได้มีการเปิดสอนระดับปริญญาตรี ระดับประกาศนียบัตรบัณฑิต ระดับปริญญาโท และระดับปริญญาเอกเพ่ิมอีก หลายวชิ า และรับนกั ศกึ ษาเพ่ิมมากขน้ึ เพอื่ ตอบสนองความตอ้ งการของสังคม ปรัชญา สรา้ งนกั ปราชญ ์ ประสาทวญิ ญาณครู วิสัยทัศน์ เปน็ องคก์ รท่มี ีความสามารถเปน็ เลศิ ดา้ นการผลิตและพฒั นาครู พันธกจิ 1. จดั การศกึ ษาเพอื่ ผลติ บณั ฑติ ครตู อบโจทยท์ อ้ งถนิ่ และประเทศชาติ มคี วามรู้ ความมสี มรรถนะ ดา้ นการคดิ ภาษาอังกฤษ มีจิตวิญญาณความเป็นครู มที กั ษะในศตวรรษท่ี 21 และทกั ษะในการ การจัดการเรียนรู้ 2. วิจัยและสรา้ งนวตั กรรมการศกึ ษาทีไ่ ดม้ าตรฐาน เพอ่ื พฒั นานักศึกษา ครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3. สร้างเครือข่ายเพื่อพัฒนาการศึกษา และเผยแพร่ความรู้เชิงปฏิบัติ ท่ีสามารถพัฒนานักศึกษา บริการ วิชาการและส่งเสริมวิทยฐานะครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ไดม้ าตรฐานและมีความก้าวหนา้ ในวิชาชพี 4. สบื สานทํานุบาํ รงุ ศิลปวฒั นธรรม สบื สายใยความผูกพันระหว่างคณาจารย์ บุคลากร ศิษย์เก่าและศิษย์ ปัจจบุ ัน เพ่ือสรา้ งสรรค์ใหเ้ กิดประโยชน์ร่วมกนั ในการพฒั นาคณะครุศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั และประเทศชาติ 5. พฒั นาระบบบรหิ าร โดยใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลเพอื่ สง่ เสรมิ พฒั นาคณะครศุ าสตรแ์ ละหนว่ ยงานใหเ้ ปน็ แหลง่ เรียนร้ทู ่สี ร้างองค์ความรใู้ หม่และเปน็ แหลง่ อา้ งองิ ทางการศึกษา สามารถชน้ี าํ และแกป้ ัญหาของประเทศ 40 คูม่ ือนกั ศกึ ษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
สีประจ�ำคณะ สีฟา้ ตราสญั ลักษณ์ประจาํ คณะ โลโกม้ หาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ของคณะ 1.เป็นครขู องพระราชา “น้อมน�ำศาสตร์พระราชาพัฒนาตน พัฒนางาน เก่งวิชาการ เก่งภาษา เก่งสอน มีจิตวิญญาณ ความเปน็ ครู รู้ท้องถนิ่ ” 2.จติ วญิ ญาณครขู องพระราชา “ยึดถอื วนิ ัย ใสใ่ จผูเ้ รยี น พากเพียรหาความรู้ เชดิ ชคู ณุ ธรรม ผู้นำ� จิตอาสา” คมู่ ือนักศกึ ษา ประจ�ำ ปกี ารศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 41
ผบู้ รหิ ารคณะครุศาสตร์ ผศ.ดร.รฐั กรณ์ คิดการ คณบดีคณะครุศาสตร์ ผศ.ดร.ลลติ า ธงภกั ดี ดร.ศริ พิ นั ธ์ ติยะวงคส์ ุวรรณ รองคณบดีฝา่ ยพัฒนาองค์กร รองคณบดีฝ่ายพฒั นางานวิชาการ แผนงานและการวจิ ัย พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ผศ.ชยพล ธงภกั ดี ดร.สริ ริ ัตน์ นาคนิ รองคณบดีฝา่ ยพฒั นานักศกึ ษา รองคณบดฝี า่ ยพฒั นาระบบการผลติ ครู และวเิ ทศสมั พนั ธ์ และฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู อาจารย์รชั ชนนั ท์ พ่งึ จนั ดมุ อาจารยณ์ ฐั ธิดา ภบู ุญเพชร อาจารย์สุวรรณา บุเหลา นางสาวอัญชนา อินทรเ์ อี่ยม ผู้ชว่ ยคณบดฝี า่ ยกิจการพิเศษ ผู้ชว่ ยคณบดีฝ่ายฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู ผชู้ ว่ ยคณบดีฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ รักษาการหวั หนา้ ส�ำนักงานคณบดี และเลขานกุ ารคณบดี และประกนั คุณภาพการศึกษา คณะครุศาสตร์ 42 คูม่ ือนักศึกษา ประจ�ำ ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า
ประธานหลักสตู ร ผศ.พัทธนนั ท์ เกิดคง ดร.พงษ์เกษม สงิ ห์รงุ่ เรือง ผศ.อลสิ า ทานากะ ผศ.จริ ศกั ดิ์ วิพัฒนโ์ สภากร หลกั สตู รครศุ าสตรบัณฑิต หลกั สูตรครุศาสตรบณั ฑติ หลกั สูตรครศุ าสตรบัณฑิต หลักสูตรครศุ าสตรบัณฑติ สาขาวชิ าเทคโนโลยี สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวัย สาขาวชิ าพลศกึ ษา สาขาวชิ าจิตวิทยาการปรกึ ษาและการแนะแนว และนวตั กรรมการศกึ ษาคอมพิวเตอร์ศกึ ษา รศ.ดร.สรรฤดี ดีปู่ ผศ.ดร.ธญั ญรศั ม์ ชิดไธสง ผศ.ดร.รฐั กรณ์ คดิ การ หลักสตู รครศุ าสตรมหาบัณฑติ หลักสตู รครุศาสตรมหาบัณฑิต หลกั สูตรครุศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาบรหิ ารการศึกษา สาขาวิชาวจิ ัยและประเมนิ ผลการศึกษา สาขาวิชาเทคโนโลยแี ละสื่อสารการศกึ ษา ผศ.เพญ็ สุดา จิโนการ รศ.ดร.พิกุล ภูมิโคกรกั ษ์ ผศ. ดร.สิรนิ าถ จงกลกลาง ผศ.ดร.ลลติ า ธงภกั ดี หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑติ หลักสูตรปรชั ญาดุษฎีบณั ฑติ หลักสูตรครศุ าสตรมหาบณั ฑิต หลักสูตรประกาศนยี บัตรบัณฑิต สาขาวิชาการศกึ ษาพเิ ศษ สาขาวชิ าบริหารการศกึ ษา สาขาวชิ าหลกั สตู รและการสอน สาขาวชิ าชีพครู ดร.ศิรพิ นั ธ์ ติยะวงคส์ ุวรรณ ดร.วนิ ยั ทองภูบาล ดร.อิสรา พลนงค์ กล่มุ วิชาการวดั ผลการศึกษา กลมุ่ วิชาบรหิ ารการศึกษา กลมุ่ วชิ าหลกั สตู รและการสอน คู่มือนกั ศึกษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสีมา 43
สาขาวิชาท่ีเปดิ สอน 1.ระดับปริญญาตรี หลักสตู รครุศาสตรบณั ฑิต 1. สาขาวิชาการศกึ ษาปฐมวยั 2. สาขาวิชาการศึกษาพิเศษ - ภาษาไทย 3. สาขาวชิ าพลศึกษา 4. สาขาวชิ าเทคโนโลยีและส่ือสารการศกึ ษา 5.สาขาจิตวทิ ยาการปรกึ ษาและแนะแนว 6. สาขาวิชาภาษาไทย 7. สาขาวิชาภาษาอังกฤษ 8. สาขาวชิ านาฏศลิ ปไ์ ทย 9. สาขาวชิ าดนตรศี กึ ษา 10. สาขาวิชาศิลปศึกษา 11. สาขาวชิ าสังคมศกึ ษา 12. สาขาวิชาพุทธศาสนศกึ ษา 13. สาขาวิชาคณิตศาสตร์ 14. สาขาวชิ าฟิสกิ ส์ 15. สาขาวชิ าวิทยาศาสตร์ท่วั ไป 16. สาขาวชิ าเคมี 17. สาขาวิชาชวี วิทยา 18. สาขาวิชาคอมพวิ เตอรศ์ ึกษา 2 ระดบั บณั ฑิตศึกษา หลกั สตู รประกาศนยี บตั รบณั ฑิต 1. วชิ าชพี ครู หลักสตู รครุศาสตรมหาบณั ฑติ 1. การบริหารการศึกษา 2. เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา 3. วจิ ยั และประเมนิ ผลการศึกษา 4. หลักสตู รและการสอน หลกั สูตรครศุ าสตรดษุ ฎีบัณฑิต (ค.ด.) 1. การบรหิ ารการศกึ ษา 2. หลักสูตรและการสอน งานท่ีให้บรกิ าร 1. ฝา่ ยฝกึ ประสบการณ์วิชาชพี : ดแู ลการฝกึ ปฏิบตั กิ ารสอนตามหลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิต 2. ฝ่ายกจิ การนกั ศกึ ษา : ให้บริการงานกจิ กรรมและพฒั นานักศกึ ษา 3. ศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ : ให้บรกิ ารชว่ ยเหลือนักศกึ ษาพิการ 44 คมู่ อื นักศกึ ษา ประจำ�ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า
4. ศูนย์ศกึ ษาการพัฒนาครู : ให้บริการความรว่ มมอื กบั หน่วยงานภายในและภายนอก มหาวิทยาลัยในการ พัฒนาครใู หม้ ีประสทิ ธภิ าพ, อบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา, งานวิจัยและพัฒนาชุมชน 5. ฝ่ายโสตทัศนปู กรณ์ : ใหบ้ รกิ ารดา้ นสอื่ ทศั นูปกรณแ์ ละอมพวิ เตอร์ 6. งานบริการวิชาการ : ใหบ้ ริการงานใบประกอบวิชาชีพคร,ู ผลิตสอ่ื การเรียนการสอน ภาพถ่ายอาคาร/ส�ำนกั งาน สถานท่ีตั้ง อาคาร 17 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า หมายเลขโทรศัพท์ โทรศัพท์ 044-255322 หมายเลขภายใน 1720 โทรสาร 044-255322 เว็บไซต์ www.edu.nrru.ac.th คมู่ อื นกั ศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า 45
คณะมนุษยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ www.human.nrru.ac.th
ประวตั โิ ดยย่อ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ จดั ตงั้ เปน็ คณะวชิ าเมอ่ื วนั ท่ี 29 สงิ หาคม 2518 ตามหลกั สตู รการฝกึ หดั ครู ซง่ึ ไดย้ กฐานะวทิ ยาลยั ครเู ปน็ สถาบนั อดุ มศกึ ษา สอนนกั ศกึ ษาในระดบั ปรญิ ญาตรตี ามพระราชบญั ญตั วิ ทิ ยาลยั ครู พ.ศ. 2518 และท�ำการสอนวิชาชพี อนื่ นอกเหนอื จากวิชาชพี ครู ตามพระราชบญั ญตั วิ ิทยาลยั ครู พ.ศ. 2527 (ฉบบั ปรับปรุงแกไ้ ข) วทิ ยาลัยครูนครราชสมี า เปลี่ยนเปน็ สถาบนั ราชภฏั นครราชสีมา ตามพระราชบัญญตั ิสถาบันราชภฏั พ.ศ. 2538 ซงึ่ ทำ� ใหส้ ามารถเปดิ สอนนกั ศกึ ษาในระดบั ทสี่ งู กวา่ ระดบั ปรญิ ญาตรี ขณะเดยี วกนั คณะวชิ ามนษุ ยศาสตร์ และสงั คมศาสตร์ กไ็ ดป้ รับเปล่ยี นเปน็ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ เพ่อื ให้สอดคลอ้ งกับการปฏบิ ัติภารกจิ ท่ี เปลยี่ นแปลงไปไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ โดยมกี ารบรหิ ารงานแบบภาควชิ า ประกอบดว้ ย ภาควชิ า 11 ภาควชิ า ไดแ้ ก่ ภาควิชาภาษาไทย ภาควชิ าดนตร ี ภาควชิ าภาษาตา่ งประเทศ ภาควชิ านาฏศิลป์ ภาควิชาภมู ศิ าสตร ์ ภาควชิ าสังคมวทิ ยา ภาควิชาประวัตศิ าสตร์ ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์ ภาควิชาศลิ ปะ ภาควิชาปรชั ญาและศาสนา ภาควิชารฐั ศาสตร์และนติ ศิ าสตร์ ในชว่ งเวลาทมี่ กี ารบรหิ ารงานโดยภาควชิ า คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตรม์ ภี ารกจิ ทส่ี ำ� คญั ในการผลติ บณั ฑติ ของสถาบัน ดังนี้ 1. สอนวชิ าพน้ื ฐานในกลมุ่ วชิ ามนษุ ยศาสตรแ์ ละกลมุ่ วชิ าสงั คมศาสตร์ เพอ่ื สรา้ งความเปน็ มนษุ ย์ เสรมิ สรา้ ง การเรยี นรใู้ นการปรบั ตนใหท้ นั ตอ่ สภาพการเปลยี่ นแปลงดา้ นเศรษฐกจิ และสงั คมมวี ธิ กี ารศกึ ษาหาความรใู้ หท้ นั สมยั อยูเ่ สมอ 2. ผลติ บณั ฑติ สาขาศลิ ปศาสตร์ ในโปรแกรมวชิ าการพฒั นาชมุ ชน ออกแบบนเิ ทศศลิ ป์ ออกแบบประยกุ ตศ์ ลิ ป์ บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษและภาษาอังกฤษธุรกิจ ภาษาญี่ปนุ่ ภาษาจีน นาฏศลิ ป์ คมู่ ือนกั ศึกษา ประจำ�ปีการศึกษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภฏั นครราชสีมา 47
3. ผลิตบัณฑิตสาขาวิชาการศึกษาร่วมกับคณะครุศาสตร์ ในโปรแกรมวิชาภาษาอังกฤษ ภาษาไทย สงั คมศกึ ษา ศลิ ปศกึ ษา นาฏศลิ ป์ ดนตรศี ึกษา ศิลปกรรม 4. ผลิตบัณฑิตสาขานิติศาสตร์ ในเดือนสิงหาคม 2541 สถาบันมีนโยบายเปลี่ยนแปลงโครงสร้างการ บริหารทางด้านวชิ าการภายในคณะ จากการบรหิ ารแบบภาควิชาไปเปน็ แบบโปรแกรมวิชา คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละ สงั คมศาสตร์ จงึ ไดจ้ ดั ใหม้ กี ารประชมุ และศกึ ษาดงู านในสถาบนั การศกึ ษาระดบั อดุ มศกึ ษา สงั กดั ทบวงมหาวทิ ยาลยั ของรัฐและสถาบันราชภัฏที่มีการริเร่ิมการบริหารงานแบบโปรแกรมวิชาในหลายสถาบัน หลังจากนั้นได้แต่งตั้ง กรรมการบริหารคณะ และกรรมการบริหารโปรแกรมวิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ตามค�ำส่ังสถาบัน ราชภัฏนครราชสีมา ท่ี 478/2542 ลงวันที่ 27 พฤษภาคม 2542 จึงมีผลท�ำให้การบริหารคณะเปลี่ยนแปลงไปสู่ การบริหารคณะแบบโปรแกรมวิชา อาจารย์ผสู้ อนทกุ คนสังกัดคณะ ทำ� หนา้ ทส่ี อนในรายวิชาต่างๆ ตามความถนัด ความรู้ ความสามารถของแต่ละบุคคล ในโปรแกรมวิชาจะมีกรรมการบริหารโปรแกรมวิชาประกอบด้วยประธาน โปรแกรมวิชาและกรรมการ จ�ำนวน 5-7 คน ท�ำหน้าท่ีรับผิดชอบการผลิตบัณฑิตที่สังกัดโปรแกรมวิชาน้ันๆ และ ในวันที่ 15 มถิ นุ ายน พ.ศ. 2547 สถาบนั ราชภัฏนครราชสีมาได้เปลย่ี นแปลงเป็นมหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา สังกดั ส�ำนกั งานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ตอ่ มาในปีการศึกษา 2548 ไดด้ ำ� เนินการปรับปรุงหลักสตู ร ส่งผลให้ โปรแกรมวชิ าในสังกัดของคณะมนษุ ยศาสตร์และสงั คมศาสตร์ มที ง้ั สิ้น 15 โปรแกรมวชิ า และ 1 กลมุ่ วิชา กระทง่ั เมอ่ื วนั ท่ี 11 กนั ยาน 2559 มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครราชสมี า ไดม้ ปี ระกาศปรบั เปลย่ี นการบรหิ ารงาน วชิ าการจากโปรแกรมวชิ าเปน็ การบรหิ ารวชิ าการแบบหลกั สตู ร ซง่ึ คณะมนษุ ยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ มหี ลกั สตู รท่ี รบั ผิดชอบทง้ั หมด จำ� นวน 7 หลกั สูตร 21 สาขาวิชา 1 กลุ่มวิชา ปรชั ญา สรา้ งคณุ คา่ ความเป็นมนุษย์ เพ่ือความเจริญสูงสดุ ของสงั คม วสิ ัยทศั น ์ เป็นผู้น�ำทางวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ท่ีบูรณาการความรู้กับภูมิปัญญาท้องถิ่น เพ่ือการพฒั นาทย่ี งั่ ยืนได้รบั การยอมรบั ในระดับสากล 48 คู่มอื นักศึกษา ประจ�ำ ปีการศกึ ษา 2563 มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสมี า
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312