Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่3 วิกฤตด้านทรัพยากรธรรมชาติ

หน่วยที่3 วิกฤตด้านทรัพยากรธรรมชาติ

Published by kingmanee2614, 2021-02-04 04:31:13

Description: หน่วยที่3 วิกฤตด้านทรัพยากรธรรมชาติ

Search

Read the Text Version

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 วกิ ฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ ม แบง่ เป็ น 3 เรอ่ื ง ความสมั พนั ธข์ อง วิกฤตการณด์ า้ น วกิ ฤตการณด์ า้ น ทรพั ยากรธรรมชาติและ ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละ ส่งิ แวดลอ้ ม ของประเทศไทย ส่ิงแวดลอ้ มของโลก วกิ ฤตการณด์ า้ น ทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม 1



ความสมั พนั ธข์ องทรพั ยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม ทรพั ยากรธรรมชาติ หมายถึง สง่ิ ทเ่ี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และ มนุษยส์ ามารถนาํ มาใชป้ ระโยชนใ์ นการดาํ รงชวี ติ แบง่ ออกเป็น 3 ประเภท ทรพั ยากรทใ่ี ชแ้ ลว้ หมดไป คอื สง่ิ ทใี่ ชแ้ ลว้ หมดไปไมส่ ามารถเกดิ ข้นึ มาทดแทนได้ เชน่ นาํ้ มนั กา๊ ซธรรมชาติ แรธ่ าตุตา่ ง ๆ 3

ทรพั ยากรทใ่ี ชแ้ ลว้ เกิดทดแทน คอื สง่ิ ทนี่ าํ มาใชแ้ ลว้ สามารถเกิดข้นึ ทดแทนไดห้ ากใชอ้ ยา่ ง ถูกวธิ ี มีการอนุรกั ษแ์ ละบาํ รุงรกั ษา เชน่ สตั ว์ ป่ าไม้ ดนิ ทรพั ยากรท่ใี ชแ้ ลว้ ไม่หมดแต่มกี ารหมุนเวียน เป็นสง่ิ ทจี่ าํ เป็นตอ่ การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย์ และมวี ฏั จกั รการ หมุนเวยี นเพ่ือใหท้ รพั ยากรเหลา่ น้ีไมห่ มดไป เชน่ นาํ้ อากาศ แสงอาทติ ย์ สงิ่ แวดลอ้ ม หมายถึง สง่ิ ทอ่ี ยรู่ อบตวั เรา ทงั้ สงิ่ ทม่ี ชี วี ติ และ สง่ิ ไมม่ ีชวี ติ มีความสมั พนั ธก์ บั การดาํ รงชวี ติ ของมนุษย์ 4

ความสมั พนั ธ์ของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม สงิ่ แวดลอ้ มแบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ สง่ิ แวดลอ้ มทางธรรมชาติ คอื สง่ิ ทเี่ กดิ ข้นึ เอง ธรรมชาติ เชน่ ดนิ ป่ าไม้ แร่ สง่ิ แวดลอ้ มท่มี นุษยส์ รา้ งข้นึ คอื สง่ิ ตา่ ง ๆทมี่ นุษยส์ รา้ งข้นึ เพื่อใชป้ ระโยชนใ์ นการ ดาํ เนินชวี ติ เชน่ อาคารบา้ นเรอื น รถยนต์ ถนน เครอื่ งใชต้ า่ ง ๆ 5

วิกฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และสงิ่ แวดลอ้ มของประเทศไทย วิกฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติ ทรพั ยากรป่ าไม้ ป่ าไม้ หมายถงึ บรเิ วณท่ีมีพชื พรรณไม้ ป่ าไม้ จดั เป็ นทรพั ยากร ธรรมชาตทิ ่ีใชแ้ ลว้ เกดิ ทดแทนแต่ตอ้ งใชเ้ วลา ประโยชนท์ ี่มนุษยไ์ ดจ้ ากป่ าไมม้ ีทงั้ ทางตรงและทางออ้ ม ทางตรง คอื การนาํ มาใชป้ ระโยชนต์ ่อการดาํ รงชวี ิต เช่น การนาํ ไมม้ าทาํ เครอื่ งมือเครอ่ื งใชต้ ่าง ๆ ใชเ้ ป็ นเช้อื เพลงิ ส่วนทางออ้ ม คอื ช่วย ปรบั สภาพอากาศใหบ้ รสิ ทุ ธิ์ช่วยอนุรกั ษด์ นิ และนา้ํ ช่วยลดอนั ตราย จากภยั ธรรมชาติและมลพษิ และเป็ นท่ีอยู่ของสตั ว์ป่ า 6

ป่ าไมใ้ นประเทศไทยแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ ป่ าไม่ผลดั ใบ มีความเขยี วชอมุ่ ตลอดปี มพี นั ธ์ุไมผ้ ลดั ใบจาํ นวนนอ้ ย มภี ูมิอากาศแบบป่ าฝน เมืองรอ้ น ดนิ อมุ้ นาํ้ ไดด้ ี และมีความช้นื สงู ป่ าประเภท น้กี ระจายทวั่ ทุกภาคของประเทศไทย แบ่งไดเ้ ป็ น 6 ชนดิ ไดแ้ ก่ ป่ าดบิ ช้นื ป่ าดบิ แลง้ ป่ าดบิ เขา ป่ าสน ป่ าพรุ และป่ าชายหาด 7

ป่ าผลดั ใบ มีการผลดั ใบเป็ นระยะเวลายาวนานในฤดู แลง้ อยูใ่ นภูมอิ ากาศกงึ่ แหง้ แลง้ หรอื ทุ่งหญา้ สะวนั นา สภาพดนิ ค่อนขา้ งต้นื มหี นิ และกรวดทรายผสม อยูใ่ นดนิ ดนิ ไม่อมุ้ นา้ํ ส่วนใหญ่พบในภาคกลาง ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคตะวนั ออก และภาค ตะวนั ตกของประเทศไทย จาํ แนกได้ 3 ชนดิ ไดแ้ ก่ ป่ าเบญจพรรณ ป่ าเตง็ รงั และป่ าหญา้ 8

วกิ ฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติ และสง่ิ แวดลอ้ มของประเทศไทย แผนภมู แิ สดงพน้ื ทปี่ ่ าไมข้ องประเทศไทย พ.ศ. 2504‒2549 ในอดตี ประเทศไทยมปี ่ าไมท้ อ่ี ดุ มสมบรู ณอ์ ยทู่ ่วั ทกุ ภาค จากแผนภมู แิ สดงพน้ื ทป่ี ่ าไมจ้ ะเหน็ ไดว้ า่ สถติ เิ นอื้ ทป่ี ่ าไมข้ องประเทศมแี นวโนม้ ลดลงอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ซง่ึ มาจากหลายสาเหตุ เชน่ การบกุ รกุ พน้ื ทป่ี ่ าเพอ่ื สรา้ งทอ่ี ยอู่ าศัยและเพาะปลกู นําไมม้ าทําเครอ่ื งมอื เครอ่ื งใช ้ และการกอ่ สรา้ ง การตัดไมน้ อกพนื้ ทเี่ ขตสมั ปทาน และการเกดิ ไฟป่ า 9

วิกฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติ จากสถานการณก์ ารลดลงของพ้นื ท่ปี ่ าไมก้ ่อใหเ้ กิดผลกระทบท่ี สาํ คญั ดงั น้ี ผลกระทบต่อธรรมชาตแิ วดลอ้ ม ป่ าไมช้ ว่ ยใหอ้ ากาศมีความช้นื สงู ชว่ ยลดกระแสนาํ้ ไหลบา่ ป้ องกนั การพงั ทลายของหนา้ ดนิ ชว่ ยใหด้ นิ อดุ มสมบูรณ์ เป็นทอ่ี ยูข่ องสตั ว์ ป่ า เม่อื ตน้ ไมเ้ หลือนอ้ ยลง ธรรมชาตกิ ็ถกู ทาํ ลายไปดว้ ย เพราะ ความสมดุลของธรรมชาตไิ ดส้ ญู ส้นิ ไป อากาศมีกา๊ ซคารบ์ อนได ออกไซดม์ ากข้ึน ความรอ้ นและความแหง้ แลง้ เพิ่มข้ึน 10

ผลกระทบทางเศรษฐกิจ เมอ่ื ป่ าไมถ้ ูกทาํ ลาย เศรษฐทรพั ยห์ ลายอย่างในป่ าจะหมดไปโดยเฉพาะไม้ มีค่า เช่น ไมส้ กั ไมเ้ น้อื แขง็ และไมเ้ บญจพรรณ จน เกดิ การขาดแคลน ซงึ่ เป็ นตน้ เหตขุ องการขาดรายได้ ทงั้ ประชาชนและภาครฐั ดว้ ย 11

ผลกระทบทางดา้ นสงั คม การทาํ ลายป่ าไม้ ทาํ ใหเ้ กดิ ปัญหาสงั คม คอื การแย่งกนั ครอบครองถอื กรรมสทิ ธิ์ทด่ี นิ ของป่ าทีถ่ กู ทาํ ลาย เกดิ ความขดั แยง้ ระหว่างเจา้ หนา้ ท่รี ฐั นายทุนผูถ้ อื ครอง ประชาชนทีร่ บั จา้ ง และ ประชาชนผูค้ ดั คา้ นการทาํ ลายป่ า 12

วิกฤตการณด์ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติ การแกไ้ ขวิกฤตการณใ์ หป้ ระสบผลสาํ เร็จมแี นวทางการดาํ เนินการ ดงั น้ี การปลกู ป่ าทดแทน ดาํ เนินการได้ 2 ลกั ษณะ คอื การปลกู ป่ าบริเวณพ้นื ท่ปี ่ าไมเ้ สอ่ื มโทรม สามารถดาํ เนินการไดท้ งั้ ภาครฐั และองคก์ รเอกชนโดยการปลกู ป่ าในรูปแบบโครงการตา่ ง ๆ การทาํ สวนป่ า และการปลกู ป่ าในพ้ืนทป่ี ่ าอนุรกั ษ์ การปลกู ป่ าในพ้นื ท่ที ย่ี งั ไม่เคยเป็ นป่ า รฐั บาลสง่ เสรมิ ใหป้ ระชาชนใชพ้ ้ืนท่ี วา่ งของตนเองปลกู ไมย้ นื ตน้ ไมเ้ ศรษฐกิจ และไมต้ า่ ง ๆ เทา่ ทจ่ี ะมีพ้ืนท่ี อาํ นวย เพื่อใหป้ ระชาชนมสี ว่ นรว่ มในการฟ้ื นฟสู ภาพป่ า ชว่ ยลดปรมิ าณการ ตดั ไมจ้ ากพ้ืนทปี่ ่ าของประชาชน 13

การป้ องกนั การเกดิ ไฟป่ า ไฟป่ าถือวา่ เป็นตวั ทาํ ลายพ้ืนทป่ี ่ าทรี่ ุนแรง การเกิดไฟป่ าสว่ นใหญเ่ กิดจากการกระทาํ ของมนุษยม์ ากกวา่ เกิดข้ึน โดยธรรมชาติ การใชม้ าตรการทางกฎหมายในการคุม้ ครองป่ าไม้ กฎหมายถือวา่ เป็นเครอ่ื งมอื สาํ คญั ทชี่ ว่ ยเพิ่มพ้ืนทป่ี ่ าไม้ จากแผนพฒั นาเศรษฐกิจ ฉบบั ท่ี 4 เป็นตน้ มา ไดร้ ะบุนโยบายเกี่ยวกบั การจดั การทรพั ยากร ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม โดยเฉพาะป่ าไมไ้ วใ้ นแผนฯ ตลอดมา การใหก้ ารศกึ ษาและสรา้ งจติ สาํ นกึ ใหแ้ ก่ประชาชน เป็นวธิ ีการป้ องกนั การตดั ไมท้ าํ ลายป่ าทไ่ี ดผ้ ลอยา่ งยง่ั ยนื ทส่ี ุด 14

ทรพั ยากรดนิ ดนิ หมายถึง เทหวตั ถธุ รรมชาตทิ ปี่ ก คลุมพ้ืนผวิ โลกอยเู่ ป็ นชนั้ บาง ๆ เกดิ จากการสลายตวั ของหนิ และแรผ่ สมคลุกเคลา้ กบั อนิ ทรยี วตั ถุ ดนิ เป็น ตวั กลางสาํ คญั ของแหลง่ เพาะปลกู ซงึ่ เป็ นทม่ี าของ ปัจจยั 4 คอื อาหาร เครอื่ งนุ่งหม่ ทอี่ ยอู่ าศยั และยา รกั ษาโรค บางพ้ืนทภี่ มู ทิ ศั นข์ องดนิ มคี วามสวยงาม เชน่ แพะเมอื งผี จงั หวดั แพร่ 15

ปัญหาความเสอ่ื มโทรมของดนิ จากการพงั ทลายของ หนา้ ดนิ เป็ นปัญหาทพี่ บไดใ้ นบรเิ วณทห่ี นา้ ดนิ ไมม่ พี ืช ปกคลุม มลี กั ษณะพ้ืนทล่ี าดชนั เน้ือดนิ เกาะกนั ไมแ่ น่น เมอื่ เกดิ ฝนตกเป็ นระยะเวลานาน ดนิ เกิดการอม่ิ ตวั ไม่ สามารถรบั นาํ้ ไดจ้ งึ เกดิ การพงั ทลายของหนา้ ดนิ นอก จากน้ีภยั ธรรมชาติ เชน่ แผน่ ดนิ ไหว นาํ้ ทว่ ม ยงั ทาํ ให้ เกดิ ดนิ พงั ทลายไดเ้ ชน่ กนั 16

ตารางแสดงระดบั ความรนุ แรงของการพงั ทลายของดนิ ใน ประเทศไทย 17

ความเสอ่ื มโทรมของดนิ จากการสญู เสยี ความ อดุ มสมบูรณ์ เชน่ การปลูกพืชชนิดเดยี วกนั ตดิ ตอ่ กนั นานจนทาํ ใหฮ้ วิ มสั ทเ่ี ป็นสารอาหารใน ดนิ ของพืชลดลง การปลกู พืชโดยขาดการ บาํ รุงรกั ษาดนิ จนทาํ ใหเ้ กิดดนิ สูญเสยี ธาตอุ าหาร ทาํ ใหไ้ ดผ้ ลผลติ ทต่ี าํ่ ไมม่ ีคณุ ภาพ 18

ปัญหาสภาพดนิ ท่ไี ม่เหมาะสมแก่การเพาะปลกู สภาพดนิ ทเ่ี กิด ปัญหาในประเทศไทย ไดแ้ ก่ ดนิ เคม็ หมายถึง ดนิ ทม่ี ปี รมิ าณเกลอื คลอไรด์ แมกนีเซยี มซลั เฟต และโพแทสเซยี มปะปนอยใู่ นเน้ือดนิ สงู ทาํ ใหด้ นิ ไมส่ ามารถ เพาะปลูกได้ หรอื อาจไดผ้ ลผลิตตาํ่ จากการศกึ ษาพบวา่ ภาค ตะวนั ออกเฉยี งเหนือเป็นภาคทป่ี ระสบปัญหาดนิ เค็มมากทส่ี ดุ สาเหตสุ าํ คญั มาจากมีเกลือหนิ กระจายอยูท่ วั่ ไป รองลงมาคอื ภาคกลาง มกั เกิดจากการซมึ ผา่ นของนาํ้ ทะเลหรอื การลกั ลอบสบู นาํ้ ใตด้ นิ เพื่อทาํ เกลอื สนิ เธาว์ การทาํ นากุง้ โดยสบู นาํ้ ทะเลไปใสบ่ อ่ 19

ตารางแสดงระดบั ความเคม็ ของดนิ 20

ดนิ เปร้ยี ว หมายถึง ดนิ ทม่ี ีคา่ pH ตาํ่ กวา่ 6.6 เป็ นดนิ ทม่ี ีคณุ สมบตั ิ เป็ นกรด ดนิ ทมี่ ีคา่ ความเป็ นกรดสงู จะมคี วามอดุ มสมบูรณ์ ตาํ่ ดนิ เปร้ยี วมลี กั ษณะเป็ นดนิ เหนียว มีการระบายนาํ้ เลว พบในบรเิ วณทล่ี ุม่ ตาํ่ พบหญา้ จาํ พวกกกและกระจดู ข้ึนอยู่ ทว่ั ไป แมจ้ ะเพาะปลูกได้ แตไ่ ดผ้ ลผลิตตาํ่ หรอื ไมม่ ีคณุ ภาพ สว่ นใหญพ่ บในพ้ืนทร่ี าบลุม่ ภาคกลางตอนลา่ ง และแถบ ชายฝ่ังทะเลตะวนั ออกเฉยี งใตแ้ ละชายฝ่ังดา้ นตะวนั ออกของ ภาคใต้ 21

แผนทีแ่ สดงขอบเขตดนิ เปร้ียวจดั ของประเทศไทย 22

การแกไ้ ขปัญหาการชะลา้ งพงั ทลายของดนิ เชน่ การปลกู พืช คลุมดนิ ดว้ ยหญา้ ทเ่ี ป็นอาหารสตั ว์ หรอื พืชตระกูลถวั่ ทช่ี ว่ ย เพิ่มแรธ่ าตุในดนิ และสง่ เสรมิ ใหม้ ีโครงการปลูกป่ าตา่ ง ๆ การแกไ้ ขปัญหาดนิ เสอื่ มคณุ ภาพ คอื การแกไ้ ขฟ้ืนฟู ระบบธรรมชาติ และการแกไ้ ขโดยการใหค้ วามรูแ้ ละสรา้ ง จติ สาํ นึกใหก้ บั ประชาชน มแี นวทางในการปฏิบตั ทิ สี่ าํ คญั ดงั น้ี 23

การทาํ ผา้ ห่มคลมุ ดนิ เป็ นอีกวิธที ่ชี ่วยในการป้ องกนั การพงั ทลายของหนา้ ดนิ 24

การแกไ้ ขปัญหาดนิ เคม็ – การสรา้ งอา่ งเก็บนาํ้ ขนาดใหญท่ อ่ี าจกระทบตอ่ ชน้ั เกลือ หนิ ทาํ ใหเ้ กิดการแพรก่ ระจายของดนิ เคม็ มากข้นึ – ควรมีการกาํ หนดขอบเขตการทาํ นาเกลอื สนิ เธาวแ์ ละการ ทาํ บอ่ เล้ยี งกุง้ ทตี่ อ้ งใชน้ าํ้ ทะเล – สนบั สนุนใหป้ ระชาชนปลูกพืชทท่ี นความเค็มและชว่ ยลด ความเค็มของดนิ ได้ เชน่ มะขาม พุทราไทย โมก ซอ้ และ ตนี เป็ ด 25

การแกไ้ ขปัญหาดนิ เปร้ียว โดยการลดความเป็นกรด เชน่ การเตมิ ปูนขาวหรอื หวา่ นปูนมารล์ ลงในพ้ืนทดี่ นิ เปร้ยี ว โดยใชอ้ ตั รา 1‒3 ตนั ตอ่ ไร่ พรอ้ มใสป่ ๋ ุยคอกหรอื ป๋ ุยชวี ภาพ จะชว่ ยลดความเป็ นกรดได้ และสามารถชว่ ยใหผ้ ลผลิตดขี ้นึ การแกป้ ัญหาดนิ ขาดความอุดมสมบูรณ์ เชน่ ป้ องกนั ไมใ่ หเ้ กิดไฟ ป่ าเพราะความรอ้ นจะทาํ ลายฮวิ มสั ซง่ึ เป็นแรธ่ าตุทส่ี าํ คญั ของดนิ ปลกู พืชหมุนเวยี นโดยการปลกู พืชสองชนิด หรอื มากกวา่ ในพ้ืนท่ี เดยี วกนั การบาํ รุงรกั ษาดนิ โดยการใสป่ ๋ ุย 26

ทรพั ยากรนาํ้ นาํ้ เป็นทรพั ยากร ธรรมชาตทิ ม่ี คี วามสาํ คญั ตอ่ การ ดาํ รงชวี ติ ของมนุษย์ เน่ืองจากมนุษย์ นาํ นาํ้ มาใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นตา่ ง ๆ เชน่ ดา้ นการอุปโภคบรโิ ภค การเกษตร อุตสาหกรรม การผลิต กระแสไฟฟ้ า โดยนาํ้ บนโลกแบง่ เป็น นาํ้ เค็มรอ้ ยละ 97 และเป็นนาํ้ จดื รอ้ ย ละ 3 สาํ หรบั แหลง่ นาํ้ ทม่ี นุษย์ นาํ มาใชใ้ นสว่ นตา่ ง ๆ มีดงั น้ี 27

แหล่งนา้ํ ผิวดนิ ไดแ้ ก่ นาํ้ จาก แมน่ าํ้ คลอง บึง หว้ ย หนอง อา่ งเก็บนาํ้ ซง่ึ นบั วา่ เป็นแหลง่ นาํ้ จดื ทสี่ าํ คญั ทส่ี ดุ ปรมิ าณนาํ้ ทม่ี อี ยู่ ตามแหลง่ ตา่ ง ๆ จะมปี รมิ าณมาก นอ้ ยแตกตา่ งกนั ไป ข้ึนอยูก่ บั ปัจจยั ทางกายภาพ นาํ้ จดื จากแหลง่ นาํ้ ผิว ดนิ เป็นแหลง่ นาํ้ ทม่ี นุษยม์ ีการ นาํ มาใชป้ ระโยชนม์ ากทส่ี ดุ 28

แหล่งน้าํ ใตด้ นิ เป็นนาํ้ ทไ่ี หลซมึ อยใู่ นชนั้ ใตด้ นิ เกิดจากนาํ้ ผิวดนิ ซมึ ผา่ นดนิ ชนั้ ตา่ ง ๆ จนถึงชนั้ ดนิ หรอื ชน้ั หนิ ทน่ี าํ้ ไมส่ ามารถซมึ ผา่ น ได้ นาํ้ ใตด้ นิ แตล่ ะแหง่ มคี วามแตกตา่ งกนั ข้นึ อยกู่ บั โครงสรา้ งของ ดนิ หรอื หนิ ทมี่ ีนาํ้ แทรกซมึ อยู่ การนาํ นาํ้ ใตด้ นิ มาใชป้ ระโยชนจ์ ะตอ้ ง ลงทุนสงู แหล่งน้าํ จากทะเล ทะเลและมหาสมุทรเป็นแหลง่ นาํ้ ทมี่ ีขนาด ใหญแ่ ละมีความสาํ คญั ตอ่ การเกิดวงจรนาํ้ ของโลก เป็นแหลง่ ทอ่ี ยอู่ าศยั ของสตั วน์ าํ้ เคม็ ทเ่ี ป็นแหลง่ อาหารของมนุษย์ 29

แหล่งน้าํ จากฟ้ า หรอื นาํ้ ฝนเป็นแหลง่ นาํ้ สาํ คญั ในการอุปโภค และบรโิ ภคอกี ชนิดหนึ่ง ในอดตี เราสามารถนาํ ฝนมาใชไ้ ด้ โดยตรง แตป่ ัจจบุ นั มมี ลพิษมาก ทาํ ใหน้ าํ้ ฝนมสี ารปนเป้ือน ปัจจบุ นั วิกฤตการณท์ รพั ยากรน้าํ ของประเทศไทย ไดแ้ ก่ ความไม่สมา่ํ เสมอของปริมาณฝน สาเหตสุ าํ คญั เกิดจากการตดั ไมท้ าํ ลายป่ าการเกิดนาํ้ เนา่ เสยี เป็นอนั ตรายตอ่ สขุ ภาพอนามยั ของประชาชน เป็นแหลง่ เพาะเช้อื โรคปริมาณนา้ํ ทีจ่ ะใชป้ ระโยชนม์ ี ปริมาณลดลง นาํ้ ฝนนอ้ ยเกินไป ทาํ ใหข้ าดแคลนนาํ้ จาํ นวน ประชากรเพ่ิมข้นึ 30

ทรพั ยากรแร่ แร่ หมายถึง ธาตุหรอื สารประกอบอนินทรยี ์ ทเ่ี กดิ ข้ึนเองตามธรรมชาติ หากจาํ แนกตามประโยชนท์ าง เศรษฐกิจ แบง่ ออกเป็น 2 กลุม่ ไดแ้ ก่ แร่ประกอบหนิ หมายถึง แรท่ เ่ี ป็นสว่ นประกอบของหนิ พบไดใ้ น หนิ ทว่ั ไป เชน่ หนิ แกรนิต เนื่องจากแรก่ ระจายอยูใ่ นเน้ือหนิ และมี ปรมิ าณนอ้ ยจงึ ไมม่ กี ารนาํ แรป่ ระกอบหนิ มาใชป้ ระโยชน์ แตห่ าก เป็นสายแรส่ ามารถนาํ มาใชป้ ระโยชนใ์ นอุตสาหกรรมกอ่ สรา้ งและ อตุ สาหกรรมปูนซเี มนต์ เชน่ หนิ ปูน หนิ ดนิ ดาน หนิ ออ่ น 31

แร่เศรษฐกจิ หรือแร่อตุ สาหกรรม หมายถงึ แร่ทีม่ ี คุณค่าทางเศรษฐกจิ ตวั อยา่ งเช่น กล่มุ แร่โลหะพ้นื ฐาน เช่น แร่ทองแดง ดบี กุ ตะกวั่ กล่มุ แร่โลหะมคี ่า เช่น ทองคาํ ทองคาํ ขาว และ เงนิ กล่มุ แร่รตั นชาติ เช่น เพชร ทบั ทิม แซปไฟร์ เป็ นตน้ 32

วิกฤตการณเ์ กี่ยวกบั ทรพั ยากรแร่มี 2 ประการ คอื ปัญหาจากการลด ปริมาณลงของแร่ และปัญหาทีเ่ ป็ นผลกระทบจากกรรมวิธีการผลิตที่ ไมเ่ หมาะสม การแกไ้ ขวิกฤตการณม์ แี นวทางในการปฏิบตั ดิ งั น้ี – การใชเ้ ครอ่ื งมอื และวธิ ีการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพในการขุด การสกดั แรไ่ ด้ หมด ไมถ่ ูกทาํ ลายหรอื เกิด การสญู เสยี – การรกั ษาคณุ ภาพและปรมิ าณไมใ่ หเ้ กิดการเสยี หาย การผลิตจะตอ้ ง ไมใ่ หค้ ณุ ภาพของแรเ่ สยี ไปเนื่องจากกระบวนการผลิต – การใชอ้ ยา่ งรูค้ ณุ คา่ และประหยดั ผูบ้ รโิ ภคจะตอ้ งใชท้ รพั ยากรแร่ อยา่ งประหยดั 33

– การหมุนเวยี นนาํ มาใชใ้ หม่ แรบ่ างชนิด เชน่ เหล็ก ทองแดง ทองเหลอื ง สามารถนาํ กลบั มา หลอมใช้ ใหมไ่ ด้ – การลดปรมิ าณการใชแ้ รท่ ห่ี ายาก โดยนาํ เทคโนโลยที ก่ี า้ วหนา้ มาใชเ้ พ่ือลดการใชแ้ รใ่ หน้ อ้ ยลง – การสาํ รวจเพ่ิมเตมิ แรบ่ างชนิดจาํ เป็นตอ้ งใชแ้ ละ หาสง่ิ อนื่ ทดแทนไดย้ าก จาํ เป็นตอ้ งสาํ รวจหา แหลง่ ทรพั ยากรแหง่ ใหม่ 34

ทรพั ยากรสตั ว์ป่ า เป็ นทรพั ยากรทสี่ ามารถทดแทน ไดท้ มี่ นุษยพ์ ึ่งพาอาศยั ได้ ตง้ั แตอ่ ดตี มนุษยล์ า่ สตั วเ์ ป็น อาหาร ใชเ้ ป็นเครอื่ งนุ่งหม่ และนาํ สว่ นอนื่ ๆ มาทาํ เครอ่ื งมอื เครอื่ งใชต้ า่ ง ๆ ปัจจบุ นั สตั วป์ ่ ายงั ให้ ประโยชนต์ อ่ มนุษยท์ ง้ั ทางตรงและทางออ้ ม เชน่ มนุษยน์ าํ สตั วป์ ่ าบางชนิดมาเป็ นอาหาร บางชนิดนาํ มา เป็ นสตั วเ์ ล้ยี งไวใ้ ชง้ าน 35

ปัจจบุ นั สตั วป์ ่ ามจี าํ นวนลดลงหรือสญู พนั ธุไ์ ป ดงั น้ี วิกฤตการณข์ องสตั ว์ป่ าในประเทศไทย สาเหตสุ าํ คญั คอื การตดั ไมท้ าํ ลายป่ า ทาํ ใหส้ ตั วป์ ่ าขาดอาหารและทอ่ี ยอู่ าศยั และการลา่ ของ มนุษย์ วิกฤตการณข์ องสตั ว์น้าํ จดื เน่ืองจากการจบั ทผี่ ดิ วธิ ีและผิดฤดูกาล เชน่ ใชอ้ วนตาถ่ี ใชร้ ะเบดิ ในการจบั ปลา จบั ปลาในฤดูวางไข่ วิกฤตการณข์ องสตั ว์น้าํ เคม็ สาเหตเุ กิดจากการจบั สตั วน์ าํ้ เคม็ มากเกินไป และจบั อยา่ งผดิ วธิ ี เชน่ การจบั ปลาในฤดวู างไข่ 36

การเกดิ มลพษิ หมายถึง สภาพของสง่ิ แวดลอ้ มทเ่ี ป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพและชวี ติ เชน่ มลพิษทางอากาศ นาํ้ ดนิ และเสยี ง เป็นพิษ ภยั และเกิดความเสยี หายแกม่ นุษยท์ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม ปัญหา มลพษิ ทีส่ าํ คญั ไดแ้ ก่ มลพษิ ทางอากาศ หมายถึง สภาพอากาศทม่ี มี วลสารเจอื ปนอยู่ มาก ซง่ึ เป็นอนั ตรายทง้ั คน สตั ว์ พืช และสภาวะแวดลอ้ มอน่ื ๆ มวลสารทเี่ จอื ปนอยูใ่ นอากาศทเี่ ป็นพิษเชน่ คารบ์ อนมอนอกไซด์ คารบ์ อนไดออกไซด์ เมือ่ เขา้ สรู่ า่ งกายของมนุษยแ์ ละสตั วจ์ ะเป็น อนั ตราย แมไ้ มเ่ กิดในทนั ทแี ตเ่ มื่อสะสมนาน ๆ อาจเป็นอนั ตราย ถึงชวี ติ 37

สาเหตุของการเกดิ มลพษิ ทางอากาศ มแี หลง่ กาํ เนิด 2 แหลง่ ใหญ่ ดงั น้ี สาเหตจุ ากธรรมชาติ เชน่ ลมทพ่ี ดั ควนั ไฟป่ าซงึ่ มีเขมา่ ควนั และกา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซดม์ า ลมพดั พาฝ่ ุนละออง มา สาเหตจุ ากมนุษย์ เชน่ เครอื่ งยนตท์ ท่ี าํ การเผาไหมไ้ ม่ สมบูรณ์ ทาํ ใหเ้ กิดกา๊ ซและสารพิษเป็นไอเสยี สบู่ รรยากาศ การปลอ่ ยสารพิษของโรงงานอตุ สาหกรรม สารพิษจากการ ใชส้ ารเคมีในการเกษตร การท้งิ ขยะมูลฝอยทาํ ใหเ้ กิดกา๊ ซ มเี ทน 38

มลพษิ ทางเสยี ง หมายถึง เสยี งทไี่ ม่ พึงประสงคแ์ ละเกินขดี ความสามารถท่ี โสตประสาทจะรบั ได้ ในสภาพปกติ เสยี งทม่ี คี วามดงั เกิน 85 เดซเิ บลข้ึน ไป จะรบกวนและเป็นอนั ตรายตอ่ ระบบการไดย้ นิ จนถึงขนั้ หพู ิการ และ เป็นอนั ตรายตอ่ สุขภาพจติ ดว้ ย 39

สาเหตกุ ารเกดิ มลพษิ ทางเสยี ง สว่ นใหญเ่ กดิ จากแหลง่ กาํ เนิดเสยี งทเี่ กดิ จากการ กระทาํ ของมนุษยเ์ ป็ นสว่ นใหญ่ ไดแ้ ก่ เสยี งจาก ยานพาหนะ เสยี งจากเครอื่ งกลทใ่ี ชใ้ นการกอ่ สรา้ ง เสยี งจากเครอื่ งขยายเสยี ง นอกจากน้ีแหลง่ กาํ เนิด เสยี งจากธรรมชาตทิ กี่ อ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย เชน่ เสยี ง ภูเขาไฟระเบดิ เสยี งฟ้ ารอ้ ง เสยี งฟ้ าผา่ 40

มลพษิ ทางนาํ้ หมายถึง นาํ้ ทเ่ี สอื่ มคณุ ภาพ เนื่องจากมีสารพิษ ปนเป้ือนอยูใ่ นนาํ้ จงึ ไมส่ ามารถนาํ นาํ้ ไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ ทาํ ใหร้ ะบบ นิเวศในนาํ้ เปลีย่ นแปลงไป เป็นแหลง่ เช้อื โรคทาํ ใหเ้ กิดโรคระบาด เป็นแหลง่ เพาะพนั ธุย์ ุงซง่ึ เป็นพาหะของโรคมาเลเรยี ไขเ้ ลือดออก สาเหตทุ ่ีทาํ ใหเ้ กดิ มลพษิ ทางนาํ้ มาจากการกระทาํ ของมนุษยเ์ ป็ นสว่ น ใหญ่ บา้ นเรอื นและโรงงานอุตสาหกรรม ปลอ่ ยนาํ้ เสยี ลงสแู่ หลง่ นาํ้ แหลง่ นาํ้ เสยี จากพ้ืนทเ่ี กษตรกรรมทใี่ ชย้ าปราบ ศตั รูพืชทาํ ใหส้ ารพิษตกคา้ งในดนิ เมื่อ ฝนตกจงึ ถกู ชะลา้ งลงสูแ่ หลง่ นาํ้ 41

มลพษิ ในดนิ หมายถึง ดนิ ทมี่ ีสารพิษ ซงึ่ กอ่ ใหเ้ กิดอนั ตราย ตอ่ สง่ิ มชี วี ติ และสงิ่ แวดลอ้ ม เกิดข้นึ จากการทดี่ นิ ถกู ทาํ ลาย คณุ ภาพและความอดุ มสมบูรณล์ ง สาเหตทุ ่ีทาํ ใหเ้ กดิ มลพษิ ในดนิ สว่ นใหญเ่ กิดจากการกระทาํ ของมนุษย์ เชน่ การใชป้ ๋ ุยเคมเี รง่ ผลผลิตทางการเกษตรเป็นระยะเวลานาน อาจทาํ ใหเ้ กิดดนิ เปร้ยี ว หรอื ดนิ เป็นกรด ไมส่ ามารถเพาะปลกู ได้ การเพาะปลูกพืชเพียง ชนิดเดยี วจนทาํ ใหด้ นิ สญู เสยี ธาตุอาหาร การใชส้ ารเคมีกาํ จดั ศตั รูพืชทาํ ใหส้ ารพิษตกคา้ งในดนิ 42

แนวทางแกป้ ัญหาวิกฤตการณด์ า้ นมลพษิ การสง่ เสรมิ เผยแพรค่ วามรูค้ วามเขา้ ใจใหแ้ กป่ ระชาชนเก่ยี ว กบั ปัญหาของแหลง่ กาํ เนิด ผลกระทบ แนวทางป้ องกนั รวมทง้ั การสรา้ งจติ สาํ นึกใหต้ ระหนกั ในความสาํ คญั ของ ปัญหา การใชก้ ฎระเบียบและมาตรการทางกฎหมาย รฐั ควรนาํ กฎระเบียบและมาตรการทางกฎหมาย มาใชอ้ ยา่ งจรงิ จงั 43

การกาํ หนดเขตการใชท้ ด่ี นิ หรอื กาํ หนดผงั เมอื ง เชน่ กาํ หนดใหม้ เี ขตยา่ นทพี่ กั ยา่ นธุรกจิ ยา่ นอตุ สาหกรรม จะชว่ ยใหแ้ กป้ ัญหามลพิษในแตล่ ะแหลง่ ไดง้ า่ ยยงิ่ ข้นึ การสรา้ งความตระหนกั ในปัญหามลพิษสงิ่ แวดลอ้ ม ใหเ้ กดิ ข้นึ กบั ประชาชน โดยการเผยแพรค่ วามรู้ รวมทงั้ เปิดโอกาสใหป้ ระชาชนไดม้ สี ว่ นรว่ มในการทาํ กจิ กรรมเกี่ยวกบั การอนุรกั ษส์ ง่ิ แวดลอ้ ม 44

การเกดิ วิกฤตการณข์ องแหล่งท่องเทย่ี ว ประเทศไทยเป็ นประเทศทมี่ สี งิ่ แวดลอ้ มตา่ ง ๆ สามารถนาํ มาใชเ้ ป็นแหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว ซงึ่ กระจายอยทู่ ว่ั ทกุ ภูมภิ าคของประเทศ ถือไดว้ า่ เป็ นแหลง่ ทที่ าํ รายไดอ้ นั ดบั ตน้ ๆ เหน็ ไดจ้ ากรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ ว ชาวตา่ งชาติ ทไี่ ดเ้ ดนิ ทางเขา้ มาทอ่ งเทยี่ วมแี นวโนม้ เพิ่มข้นึ ทกุ ปี จน ทาํ ใหแ้ หลง่ ทอ่ งเทยี่ วเสอื่ มโทรม 45

ตารางแสดงจาํ นวนนกั ท่องเท่ียวระหว่างประเทศท่ีเดนิ ทางเขา้ ประเทศไทย พ.ศ. 2549‒2550 46

การป้ องกนั และสง่ เสรมิ การแกป้ ัญหาความเสอื่ มโทรมทเ่ี กิดข้ึนกบั แหลง่ ทอ่ งเทยี่ ว และการชว่ ยรกั ษาใหแ้ หลง่ ทอ่ งเทยี่ วมสี ภาพและ ลกั ษณะทเ่ี หมาะสม มีแนวทางในการปฏิบตั ดิ งั น้ี การกาํ หนดเขตพ้นื ท่ีแหล่งท่องเท่ียว โดยกาํ หนดตามลกั ษณะเฉพาะ ของแหลง่ ทอ่ งเทย่ี ว จะชว่ ยใหช้ ุมชนหรอื หน่วยงานทรี่ บั ผดิ ชอบ มี ความชดั เจนในการกาํ หนดแนวทางการพฒั นา การใชม้ าตรการทางกฎหมายในการจดั การแหล่งท่องเที่ยว เป็นแนวทางหน่ึงทจี่ ะชว่ ยใหแ้ หลง่ ทอ่ งเทยี่ วไมไ่ ดร้ บั ผลกระทบจาก กิจกรรมการทอ่ งเทยี่ วจนทาํ ใหเ้ กิดสภาพเสอื่ มโทรม 47

การสาํ รวจและบรู ณะแหล่งท่องเทีย่ ว การสาํ รวจ แหลง่ ทอ่ งเทย่ี วจะทาํ ใหไ้ ดแ้ หลง่ ทอ่ งเทย่ี วเพิ่มข้นึ ซงึ่ จะชว่ ยกระจายนกั ทอ่ งเทย่ี วไมใ่ หก้ ระจกุ ตวั การสรา้ งจติ สาํ นกึ ดา้ นการอนรุ กั ษแ์ หล่ง ท่องเทย่ี วแก่ผูเ้ กยี่ วขอ้ ง เป็นวธิ ีการทชี่ ว่ ยแกไ้ ข ปัญหาวกิ ฤตการณข์ องแหลง่ ทอ่ งเทย่ี วไดอ้ ยา่ ง ยง่ั ยนื 48

วเิ คราะหส์ ภาพสง่ิ แวดลอ้ มจากภาพทกี่ าํ หนดให้ 1. บรเิ วณดงั กลา่ วอาจประสบปญั หา สง่ิ แวดลอ้ มอยา่ งไร บรเิ วณดงั กลา่ วอาจเกดิ ปญั หา มลพษิ ทางอากาศและเสยี งทเี่ กดิ จากยานพาหนะทว่ี ง่ิ ตามทอ้ งถนน 2. ผลกระทบทเี่ กดิ ขนึ้ จากปญั หาสง่ิ แวดลอ้ ม ผลกระทบทเ่ี กดิ จากมลพษิ ทางอากาศ เชน่ กา๊ ซคารบ์ อนมอนอกไซด์ ฝ่ นุ ละอองอาจทาํ ใหม้ ผี ลตอ่ ระบบทางเดนิ หายใจ สว่ นมลพษิ ทางเสยี ง อาจทาํ ใหเ้ กดิ ปญั หาดา้ นการไดย้ นิ และปญั หาสขุ ภาพจติ 49

เรอ่ื งนา่ รู้ “ตวั อยา่ งสตั วท์ สี่ ญู พันธไุ์ ปจากโลก” ชา้ งแมมมอธ (Mammuthus armeniacus) เป็ นชา้ งทอ่ี าศัยอยู่ ในยคุ น้ําแข็งเมอ่ื 20,000 ปีกอ่ น แตส่ ญู พันธไุ์ ปเพราะถกู มนุษยย์ คุ หนิ ลา่ มขี นยาวปกคลมุ เพอ่ื ป้องกนั ความหนาวเย็น มงี ายาวและโคง้ เสอื เขย้ี วดาบ (Smilodon fatalis) สูญพันธุไ์ ปจากโลกเมอ่ื 10,000 ปีกอ่ น อาศัยอยใู่ นทวปี ยโุ รป แอฟรกิ า เอเชยี และอเมรกิ า รปู รา่ ง และขนาดขาหนา้ ยาวกว่าขาหลัง หางสัน้ ฟันเขยี้ วบนยาวแบนและโคง้ แบบมดี ดาบ ขนึ้ ชอ่ื วา่ จโู่ จมดเุ ดอื ด และฉกี กระชากเหยอื่ ดว้ ยฟัน แรดขน (Coelodonta antiquitatis) สญู พันธไุ์ ปราว 10,000 ปี ลําตัวยาวประมาณ 3.7 เมตร นอยาว 1 เมตร เคยอยแู่ ถวยโุ รปเหนือและ ไซบเี รยี เป็ นสัตวด์ รุ า้ ย กนิ หญา้ เป็ นอาหาร แรดชนดิ น้คี นสมัยโบราณเคย วาดไวต้ ามผนังถ้ํา 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook