Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore _02-หลักสูตรโรงเรียนวิเวกฯ(ส่วนนำ).doc_

_02-หลักสูตรโรงเรียนวิเวกฯ(ส่วนนำ).doc_

Published by tikno.one, 2019-11-25 22:59:44

Description: _02-หลักสูตรโรงเรียนวิเวกฯ(ส่วนนำ).doc_

Search

Read the Text Version

หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา วดั ธาตุพระอารามหลวง พทุ ธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ความนา การเปล่ียนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมของโลก ซ่ึงเกิดจากความเจริญกา้ วหนา้ ทางวทิ ยาการ ด้านต่างๆ ในยุคโลกาภิวตั น์ (Globalization) ทาให้ประเทศประเทศไทยต้องปรับปรุงหลักสูตร การศึกษาของชาติ ซ่ึงถือเป็ นกลไกสาคญั ในการพฒั นาคุณภาพประชาชนในประเทศ เพ่ือทาให้คนไทย ได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ เป็ นคนดี มีปัญญา สามารถดารงชีพอยู่ในสังคมโลกท่ีมีการ เปล่ียนแปลงไดอ้ ยา่ งมีความสุข มีความพร้อมท่ีจะแข่งขนั และร่วมมือสร้างสรรคใ์ นเวทีโลก รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๐ กาหนดให้คนไทยมีสิทธิเสมอภาคกนั ในการรับการศึกษาข้นั พ้ืนฐานไม่น้อยกว่าสิบสองปี ที่รัฐตอ้ งจดั ให้ทวั่ ถึงและมีคุณภาพโดยไม่เก็บ ค่าใช้จ่าย พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ ไดก้ าหนดให้การจดั การศึกษาตอ้ ง เป็ นไปเพ่ือพฒั นาคนไทยให้เป็ นมนุษยท์ ่ีสมบูรณ์ ท้งั ร่างกาย จิตใจ สติปัญญา ความรู้และคุณธรรม มี จริยธรรมและวฒั นธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกับผูอ้ ื่นได้อย่างมีความสุข โดยการจัด การศึกษาอบรมของรัฐ ตอ้ งคานึงถึงการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนทอ้ งถ่ินและชุมชน เปิ ด โอกาสให้สังคมมีส่วนร่วมในการจดั การศึกษา พฒั นาสาระและกระบวนการเรียนรู้ให้เป็ นไปอย่าง ต่อเนื่อง กระทรวงศึกษาธิการ ไดป้ ระกาศใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ เป็นหลกั สูตรแกนกลางท่ีมีโครงสร้างหลกั สูตรยืดหยนุ่ กาหนดจุดหมายเป็ นมาตรฐาน การเรียนรู้ในภาพรวม ๑๒ ปี กลุ่มสาระการเรียนรู้ มาตรฐาน ตวั ช้ีวดั การเรียนรู้แต่ละกลุ่มสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ช่วงช้นั จดั เฉพาะส่วนที่จาเป็นเพื่อพฒั นาคุณภาพชีวติ ความเป็ นไทย ความเป็น พลเมืองดีของชาติ การดารงชีวติ และการประกอบอาชีพ ตลอดจนเพ่ือการศึกษาต่อ และใหส้ ถานศึกษา ข้นั พ้นื ฐานจดั ทาสาระของหลกั สูตรเป็นรายภาคใหส้ อดคลอ้ งกบั สภาพ ปัญหาในชุมชน สงั คม ภูมิ ปัญญาทอ้ งถ่ิน คุณสมบตั ิองั พึงประสงค์ เพือ่ เป็นสมาชิกท่ีดีของครอบครัว ชุมชน สงั คมและ ประเทศชาติ รวมท้งั การจดั ใหส้ อดคลอ้ งกบั ความถนดั ความสามารถและความสนใจของผเู้ รียนแต่ละ กลุ่มเป้าหมาย อาศยั อานาจตามความในมาตรา ๑๒ และมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบญั ญตั ิระเบียบการบริหาร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๔๖ และคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานไดม้ ีมติให้ใช้หลกั สูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้หลักสูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ คาสั่งท่ี สพฐ ๒๙๓/๒๕๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๑

๒ โดยกาหนดใหโ้ รงเรียนทว่ั ไปใชห้ ลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ ในช้นั ประถมปี ที่ ๑ – ๖ และช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑ และ ๔ ในปี การศึกษา ๒๕๕๓ และใชห้ ลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ ทุกช้นั เรียน ในปี การศึกษา ๒๕๕๕ โรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา วดั ธาตุพระอารามหลวง ไดก้ ่อต้งั มาต้งั แตพ่ ุทธศกั ราช ๒๔๘๖ จดั ต้งั เป็ นโรงเรียนพระปริยตั ิธรรมแผนกธรรม-บาลี ปรับเปลี่ยนการเรียนการสอนโดยเปิ ด สอนท้งั แผนกธรรม-บาลี และในปี พทุ ธศกั ราช ๒๕๓๔ ไดเ้ ปิ ดสอนเพม่ิ เติมแผนกสามญั ศึกษา โดยเปิ ด สอนเฉพาะระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔-๖) ต่อมาปี พุทธศกั ราช ๒๕๓๗ เปิ ด สอนแผนกสามญั ศึกษาระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑-๓) และไดด้ าเนินการสอน มาจนถึงปัจจุบนั โดยเปิ ดสอนท้งั แผนกธรรม-บาลีและแผนกสามญั ศึกษา ตลอดระยะเวลากวา่ หน่ึง ศตวรรษท่ีผา่ นมา โรงเรียนไดย้ ดึ ปรัชญาในการจดั การเรียนการสอนวา่ “สอนปริยตั ิ มุ่งปฏิบตั ิ เสริม ปฏิเวธ” ซ่ึงทาใหผ้ ลการจดั การศึกษาประสบความสาเร็จเป็นท่ีประจกั ษแ์ ก่สงั คม ชุมชนในทุกระดบั จากผลการศึกษาสภาพปัจจุบนั ของโรงเรียนและความตอ้ งการของผปู้ กครอง ผเู้ รียนชุมชนตลอดจน ผเู้ ก่ียวขอ้ ง พบวา่ มีความตอ้ งการใหผ้ เู้ รียนมีความรู้พ้นื ฐาน สามารถเขา้ ศึกษาตอ่ ในระดบั ที่สูงข้ึน มี คุณธรรม จริยธรรม มีวนิ ยั เห็นคุณค่าของตนเอง ของผอู้ ื่นและอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่ืนอยา่ งมีความสุข มุง่ ทา ประโยชนแ์ ละสร้างส่ิงที่ดีงามใหส้ งั คม เพื่อตอบสนองความตอ้ งการของชุมชนและสอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ ในดา้ นการจดั การศึกษา โรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา วดั ธาตุพระอาราม หลวง จึงจัดทาหลักสูตรโรงเรี ยนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา วดั ธาตุพระอารามหลวง พุทธศักราช ๒๕๕๓ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ กระทรวงศึกษาธิการ โดย ได้รับการสนับสนุนด้านความรู้ เอกสารจากแหล่งความรู้ท้งั ในและนอกสถานที่และความร่วมมือ ประสานสัมพนั ธ์อยา่ งดียิ่งจากบุคลากรภายในโรงเรียน คณะกรรมสถานศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ผูป้ กครอง และชุมชนจนสาเร็จเป็ นหลกั สูตรสถานศึกษาโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา พุทธศกั ราช ๒๕๕๓ เพอ่ื เป็นแนวทางการจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนต่อไป วสิ ัยทศั น์หลกั สูตรโรงเรียน หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา วดั ธาตุพระอารามหลวง จดั การศึกษา เพือ่ มุ่งพฒั นาศาสนทายาทท่ีเป่ี ยมปัญญาพุทธธรรมใหม้ ีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ เกิดสมรรถนะ สาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึงประสงคต์ ามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ และวถิ ีชีวติ ตนแบบพอเพยี ง

๓ จุดหมาย หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา วดั ธาตุพระอารามหลวง มุง่ พฒั นาผจู้ บการศึกษา เป็นศาสนทายาทท่ีเปี่ ยมปัญญาพุทธธรรม (ภูมิธรรม) และมีคุณลกั ษณะปริยตั ิสามญั ตามท่ีพึงประสงค์ (ภูมิรู้) จึงกาหนดจุดหมายเพ่อื ใหเ้ กิดกบั ผเู้ รียนเม่ือจบการศึกษา ดงั น้ี ๑. เป็นผทู้ ่ีสมบูรณ์ดว้ ยความรู้ความเขา้ ใจในหลกั ธรรมทางพระพุทธศาสนาอยา่ งแทจ้ ริง ๒. เป็นผมู้ ีคุณธรรม จริยธรรมและวนิ ยั ในตนเอง ๓. เป็นผทู้ ี่กา้ วทนั โลกอยา่ งรู้เทา่ ทนั ดว้ ยการเรียนรู้ตลอดชีวติ ๔. มีความรู้ความสามารถในการสื่อสารการคิดการแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยแี ละมีทกั ษะชีวติ ๕. มีความรักชาติ มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยดึ มน่ั ในวถิ ีชีวติ และการ ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเป็นประมุข ๖. มีจิตสานึกในการอนุรักษว์ ฒั นธรรมและภูมิปัญญาไทย อนุรักษแ์ ละพฒั นาสิ่งแวดลอ้ ม มีจิต สาธารณะท่ีมุง่ ทาประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งที่ดีงามในสงั คมพร้อมอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมอยา่ งมีความสุข สมรรถนะความสาคัญของผู้เรียน หลกั สูตรโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา มุ่งพฒั นาผูเ้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการ เรียนรู้ท่ีกาหนด จะช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดสมรรถนะสาคญั ๕ ประการ ดงั น้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็ นความสามารถในการรับและส่งสารมีวฒั นธรรมในการใช้ ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเขา้ ใจความรู้สึกทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนขอ้ มูลข่าวสารและ ประสบการณ์อนั จะเป็ นประโยชน์ต่อการพฒั นาตนเองและสังคมรวมท้งั การเจรจาต่อรองเพ่ือขจดั และ ลดปัญหาความขดั แยง้ ต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับขอ้ มูลข่าวสารดว้ ยหลกั เหตุผลและความถูกตอ้ ง ตลอดจนการเลือกใชว้ ธิ ีการส่ือสารท่ีมีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบท่ีมีต่อตนเองและสังคม ๒. ความสามารถในการคิด เป็ นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อยา่ งสร้างสรรค์ การคิดอยา่ งมีวิจารณญาณและการคิดเป็ นระบบเพ่ือนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพอื่ การตดั สินใจเกี่ยวกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ยา่ งเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแกป้ ัญหาและอุปสรรคต่างๆ ที่เผชิญได้อย่างถูกตอ้ งเหมาะสมบนพ้ืนฐานของหลกั เหตุผล คุณธรรมและขอ้ มูลสารสนเทศเขา้ ใจ ความสัมพนั ธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ตค์ วามรู้มาใช้ ในการป้องกนั และแกไ้ ขปัญหาและมีการตดั สินใจท่ีมีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดข้ึนต่อ ตนเอง สงั คมและสิ่งแวดลอ้ ม

๔ ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ เป็ นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆไปใชใ้ น การดาเนินชีวิตประจาวนั การเรียนรู้ดว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเน่ืองการทางาน และการอยู่ร่วมกนั ในสังคมดว้ ยการสร้างเสริมความสมั พนั ธ์อนั ดีระหวา่ งบุคคลการจดั การปัญหาและ ความขดั แยง้ ต่างๆอยา่ งเหมาะสม การปรับตวั ใหท้ นั กบั การเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอ้ ม และการรู้จกั หลีกเล่ียงพฤติกรรมไมพ่ งึ ประสงคท์ ่ีส่งผลกระทบต่อตนเองและผอู้ ื่น ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ ง ๆและมีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยเี พ่ือการพฒั นาตนเองและสงั คมในดา้ นการเรียนรู้ การส่ือสาร การทางาน การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรคถ์ ูกตอ้ งเหมาะสมและมีคุณธรรม คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา มุ่งพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ เพอ่ื ใหส้ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นในสงั คมไดอ้ ยา่ งมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี ๑. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์ ๒. ซ่ือสตั ยส์ ุจริต ๓. มีวนิ ยั ๔. ใฝ่ เรียนรู้ ๕. อยอู่ ยา่ งพอเพียง ๖. มุง่ มนั่ ในการทางาน ๗. รักความเป็นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ คุณลกั ษณะเฉพาะ หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา มุง่ พฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณลกั ษณะเฉพาะ ดงั น้ี ๑. เป็นศาสนทายาทที่เปี่ ยมปัญญาพุทธธรรม ๒. สามารถธารงและสืบตอ่ พระพทุ ธศาสนาใหเ้ จริญสถาพร ๓. เมื่อลาสิกขาไปแลว้ สามารถเขา้ ศึกษาตอ่ ในสถานศึกษาของรัฐไดห้ รือเขา้ รับราชการหรือ สร้างประโยชน์ใหก้ า้ วหนา้ ใหแ้ ก่ตนเองและประเทศชาติสืบตอ่ ไป

๕ ระดับการศึกษา หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา จดั การศึกษาระดบั มธั ยมศึกษา ดงั น้ี ๑. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๑ – ๓) เป็ นช่วงสุดทา้ ยของการศึกษาภาค บงั คบั มุ่งเน้นให้ผูเ้ รียนไดส้ ารวจความถนดั และความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพฒั นาบุคลิกภาพ ส่วนตน มีทกั ษะในการคิดวจิ ารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแกป้ ัญหา มีทกั ษะในการดาเนินชีวิต มี ทกั ษะ การใชเ้ ทคโนโลยี เพ่ือเป็ นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุลท้งั ด้านความรู้ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเป็ นไทย ตลอดจนใช้เป็ นพ้ืนฐานในการ ประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ่ ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔ – ๖) การศึกษาระดบั น้ีเน้นการเพิ่มพูน ความรู้และทกั ษะเฉพาะดา้ น สนองตอบความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียนแต่ละคน ท้งั ดา้ นวิชาการและวิชาชีพ มีทกั ษะในการใช้วิทยาการและเทคโนโลยี ทกั ษะกระบวนการคิดข้นั สูง สามารถนาความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ ห้เกิดประโยชน์ในการศึกษาต่อและการประกอบอาชีพ มุ่งพฒั นาตน และประเทศตามบทบาทของตน สามารถเป็นผนู้ า และผใู้ หบ้ ริการชุมชนในดา้ นต่าง ๆ การจัดเวลาเรียน หลกั สูตรโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยา จดั โครงสร้างเวลาเรียนพ้ืนฐาน ให้เป็ นไปตามท่ี กาหนดและสอดคลอ้ งกบั เกณฑก์ ารจบหลกั สูตร ซ่ึงไดเ้ พ่ิมเติมตามความพร้อมและจุดเนน้ ให้เหมาะสม ตามบริบทของโรงเรียนและสภาพนกั เรียน ดงั น้ี ๑. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ ( ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๑-๓) จดั เวลาเรียนเป็นรายภาค มีเวลาเรียนวนั ละไม่เกิน ๖ ชว่ั โมง คิดน้าหนกั ของรายวชิ า ท่ีเรียนเป็นหน่วยกิต ใชเ้ กณฑ์ ๔๐ ชว่ั โมงต่อภาคเรียนมีค่าน้าหนกั วชิ าเทา่ กบั ๑ หน่วยกิต ๒. ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ( ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๔-๖ ) จดั เวลาเรียนเป็ นรายภาค มีเวลาเรียนวนั ละไม่น้อยกว่า ๖ ชั่วโมง คิดน้าหนักของ รายวชิ าที่เรียนเป็นหน่วยกิต ใชเ้ กณฑ์ ๔๐ ชวั่ โมง / ภาคเรียน มีค่าน้าหนกั วชิ าเทา่ กบั ๑ หน่วยกิต สาหรับกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนไดจ้ ดั สรรเวลาใหผ้ เู้ รียนไดป้ ฏิบตั ิกิจกรรม ดงั น้ี ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตอ้ น ( ม.๑-๓ ) รวม ๓ ปี จานวน ๔๕ ชวั่ โมง ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔-๖) รวม ๓ ปี จานวน ๖๐ ชวั่ โมง

๖ โครงสร้างหลกั สูตรสถานศึกษา ๑. โครงสร้างเวลาเรียน หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียน ดงั น้ี

๗ โครงสร้างเวลาเรียนม.ตน้

๘ โครงสร้างเวลาเรียน ม.ปลาย

๙ ๒. โครงสร้างหลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา ๒.๑ ช้ันมธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.๑-๓) ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ ๑ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวิชา/กจิ กรรม รายวิชา/กจิ กรรม หน่วยกติ /ชม. รายวชิ าพืน้ ฐาน หน่วยกติ /ชม. ท21102 ภาษาไทย 2 11.0/440 รายวิชาพื้นฐาน 11.0/440 ค21102 คณิตศาสตร์ 2 1.5/60 ว21102 วทิ ยาศาสตร์ 2 1.5/60 ท21101 ภาษาไทย 1 1.5/60 ส21103 สังคมศึกษา 2 1.5/60 ส21104 ประวตั ิศาสตร์2 1.5/60 ค21101 คณิตศาสตร์ 1 1.5/60 พ21102 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0.5/20 ศ21102 ศิลปะ 2 1.0/40 ว21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 1.5/60 ง21102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 1.0/40 อ21102 ภาษาองั กฤษ 2 1.0/40 ส21101 สังคมศึกษา 1 1.5/60 รายวชิ าเพม่ิ เติม 1.5 / 60 ส20203 ธรรมวนิ ยั 2 2.5/100 ส21102 ประวตั ิศาสตร์1 0.5/20 ส20204 ศาสนปฏิบตั ิ 2 0.5 / 20 บ20202 บาลีไวยากรณ์ 2 0.5 / 20 พ21101 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 1.0/40 อ20202 ภาษาองั กฤษ 02 1.0 / 40 0.5 / 20 ศ21101 ศิลปะ 1 1.0/40 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ก21902 แนะแนว 2 รวม13.5/540 ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 1.0/40 ก21904 ชุมนุม 2 60 ก21906 กิจกรรมสงฆ์ 2 20 อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 1.5/60 ก21907กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะ 20 20 รายวิชาเพม่ิ เติม 2.5/100 ประโยชน์ 1 15 รวมเวลาเรียน ส20201 ธรรมวนิ ยั 1 0.5 / 20 600 ส20202 ศาสนปฏิบตั ิ 1 0.5 / 20 บ20201 บาลีไวยากรณ์ 1 1.0 / 40 อ20201 ภาษาองั กฤษ 01 0.5 / 20 รวม13.5/540 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 60 ก21901 แนะแนว 1 20 ก21903 ชุมนุม 1 20 ก21905 กิจกรรมสงฆ์ 1 20 ก21907กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณะ 15 ประโยชน์ 1 รวมเวลาเรียน 600 รวมท้งั สิ้น 1,200 ชั่วโมง/ปี หมายเหตุ กิจกรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกในกิจกรรมชุมนุม จานวน 15 ชว่ั โมง/ ปี การศึกษา

๑๐ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๒ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม รายวชิ า/กจิ กรรม หน่วยกติ /ชม. รายวชิ าพื้นฐาน หน่วยกติ /ชม. 11.0/440 รายวชิ าพื้นฐาน 11.0/440 ท22102 ภาษาไทย 4 ค22102 คณิตศาสตร์ 4 1.5/60 ท22101 ภาษาไทย 3 1.5/60 ว22102 วทิ ยาศาสตร์ 4 1.5/60 ส22103 สังคมศึกษา 4 1.5/60 ค22101 คณิตศาสตร์ 3 1.5/60 ส22104 ประวตั ิศาสตร์4 1.5/60 พ22103 สุขศึกษา 4 0.5/20 ว22101 วทิ ยาศาสตร์ 3 1.5/60 ศ22103 ทศั นศิลป์ 4 0.5/20 ง22102 การงานอาชีพเทคโนโลยี 4 0.5/20 ส22101 สังคมศึกษา 3 1.5/60 อ22102 ภาษาองั กฤษ 4 1.0/40 รายวิชาเพมิ่ เตมิ 1.5/60 ส22102 ประวตั ิศาสตร์3 0.5/20 ส20207 ธรรมวนิ ยั 4 2.5/100 ส20208 ศาสนปฏบิ ตั ิ 4 0.5 / 20 พ22101 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 1.0/40 บ20204 บาลีไวยากรณ์ 4 0.5 / 20 อ20204 ภาษาองั กฤษ 04 1.0 / 40 ศ22101 ศิลปะ 3 1.0/40 0.5 / 20 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน รวม13.5/540 ง22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 1.0/40 ก22902 แนะแนว 4 ก22904 ชุมนุม 4 60 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 1.5/60 ก22906 กิจกรรมสงฆ์ 4 20 ก22907 กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะ 20 รายวิชาเพมิ่ เติม 2.5/100 20 ประโยชน์2 15 ส20205 ธรรมวนิ ยั 3 0.5 / 20 รวมเวลาเรียน 600 ส20206 ศาสนปฏิบตั ิ 3 0.5 / 20 บ20203 บาลีไวยากรณ์ 3 1.0 / 40 อ20203 ภาษาองั กฤษ 03 0.5 / 20 รวม13.5/540 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 60 ก22901 แนะแนว 3 20 ก22903 ชุมนุม 3 20 ก22905 กิจกรรมสงฆ์ 3 20 ก22907กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะ 15 ประโยชน์ 2 รวมเวลาเรียน 600 รวมท้งั สิ้น 1,200 ช่ัวโมง/ปี หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกในกิจกรรมชุมนุม จานวน 15 ชวั่ โมง/ ปี การศึกษา

๑๑ ช้ันมัธยมศึกษาปี ท่ี ๓ ภาคเรียนที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 รายวชิ า/กจิ กรรม รายวชิ า/กจิ กรรม หน่วยกติ /ชม. รายวชิ าพื้นฐาน หน่วยกติ /ชม. 11.0/440 รายวชิ าพื้นฐาน 11.0/440 ท23102 ภาษาไทย 6 ค23102 คณิตศาสตร์ 6 1.5/60 ท23101 ภาษาไทย 5 1.5/60 ว23102 วทิ ยาศาสตร์ 6 1.5/60 ส23103 สังคมศึกษา 6 1.5/60 ค23101 คณิตศาสตร์ 5 1.5/60 ส23104 ประวตั ิศาสตร์ 6 1.5/60 พ23102 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 0.5/20 ว23101 วทิ ยาศาสตร์ 5 1.5/60 ศ23102 ทศั นศิลป์ 6 1.0/40 ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 1.0/40 ส23101 สังคมศึกษา 5 1.5/60 อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 1.0/40 1.5/60 ส23102 ประวตั ิศาสตร์ 5 0.5/20 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 2.5/100 พ23101 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 1.0/40 ส20211 ธรรมวนิ ยั 6 ส20212 ศาสนปฏิบตั ิ 6 0.5 / 20 ศ23101 ศิลปะ 5 1.0/40 บ20204 บาลีไวยากรณ์ 6 0.5 / 20 อ20204 ภาษาองั กฤษ 06 1.0 / 40 ง23101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 1.0/40 0.5 / 20 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 1.5/60 รวม13.5/540 ก23902 แนะแนว 6 60 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 2.5/100 ก23904 ชุมนุม 6 ก23906 กิจกรรมสงฆ์ 6 20 ส20209 ธรรมวนิ ยั 5 0.5 / 20 ก23907 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณะ 20 20 ส20210 ศาสนปฏิบตั ิ 5 0.5 / 20 ประโยชน์ 3 15 บ20205 บาลีไวยากรณ์ 5 1.0 / 40 รวมเวลาเรียน 600 อ20205 ภาษาองั กฤษ 05 0.5 / 20 รวม13.5/540 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 60 ก23901 แนะแนว 5 20 ก23903 ชุมนุม 5 20 ก23905 กิจกรรมสงฆ์ 5 20 ก23907กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณะ 15 ประโยชน์ 3 รวมเวลาเรียน 600 รวมท้งั สิ้น 1,200 ช่ัวโมง/ปี หมายเหตุ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกในกิจกรรมชุมนุม จานวน 15 ชวั่ โมง/ ปี การศึกษา

๑๒ ๒.๒ ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย (กลุ่มการเรียนวิทยาศาสตร์–คณติ ศาสตร์) ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๔ ภาคเรียนที่ 1 หน่วยกติ /ชม. ภาคเรียนท่ี 2 หน่วยกติ /ชม. รายวชิ า/กจิ กรรม 12.5/500 รายวชิ า/กจิ กรรม 6.5 /260 รายวชิ าพื้นฐาน รายวชิ าพืน้ ฐาน 1.0/40 1.0/40 ท31101 ภาษาไทย 1 1.5/60 ท31102 ภาษาไทย 2 1.5/60 ค31101 คณิตศาสตร์ 1 1.5/60 ค31102 คณิตศาสตร์ 2 1.0/40 ว30101 ฟิ สิกส์ 1 1.5/60 ส31103 สังคมศึกษา 2 0.5/20 ว30121 เคมี 1 1.5/60 ส30104 ประวตั ิศาสตร์ 2 0.5/20 ว30141 ชีววทิ ยา 1 1.5/60 พ31102 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 0.5/20 ว30161 โลกดาราศาสตร์และอวกาศ1 1.0/40 ศ31102 ศิลปะ 2 0.5/20 ส31101 สังคมศึกษา 1 0.5/20 ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 1.0/40 ส31102 ประวตั ิศาสตร์ 1 0.5/20 อ31102 ภาษาองั กฤษ 2 พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 0.5/20 8.5/340 ศ31101 ศิลปะ 1 รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ง31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 0.5/20 1.0/40 1.0/40 ค30202 คณิตศาสตร์ 02 1.5/60 อ31101 ภาษาองั กฤษ 1 3.0/120 ว30201 ฟิ สิกส์ 01 1.5/60 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ว30221 เคมี 01 1.5/60 1.0/40 ว30241 ชีววทิ ยา 01 0.5/20 ค30201 คณิตศาสตร์ 01 0.5/20 ส30203 ธรรมวนิ ยั 2 0.5/20 ส30201 ธรรมวนิ ยั 1 0.5/20 ส30204 ศาสนปฏิบตั ิ 2 1.0/40 ส30202 ศาสนปฏิบตั ิ 1 1.0/40 บ30202 บาลีไวยากรณ์ 2 1.0/40 บ30201 บาลีไวยากรณ์ 1 อ30201 ภาษาองั กฤษ 01 รวม 15.5/620 รวม 15.0/600 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 60 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 60 20 ก31901 แนะแนว 1 ก31902 แนะแนว 2 20 ก31903 ชุมนุม 1 20 ก31904 ชุมนุม 2 ก31905 กิจกรรมสงฆ์ 1 ก31906 กิจกรรมสงฆ์ 2 20 ก31907 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะ 20 ก31907 กิจกรรมเพอื่ สังคม และสาธารณะ 20 ประโยชน์ 1 680 ประโยชน์ 1 660 รวมเวลาเรียน รวมเวลาเรียน รวมท้งั สิ้น 1,340 ช่ัวโมง/ปี หมายเหตุ กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกในกิจกรรมชุมนุม จานวน 20 ชวั่ โมง/ ปี การศึกษา

๑๓ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๕ ภาคเรียนที่ 1 หน่วยกติ /ชม. ภาคเรียนที่ 2 หน่วยกติ /ชม. รายวชิ า/กจิ กรรม 6.5/260 รายวชิ า/กจิ กรรม 6.5/260 รายวชิ าพื้นฐาน รายวชิ าพื้นฐาน 1.0/40 1.0/40 ท32102 ภาษาไทย 4 1.5/60 ท32101 ภาษาไทย 3 1.5/60 ค32102 คณิตศาสตร์ 4 1.0/40 ค32101 คณิตศาสตร์ 3 1.0/40 ส32103 สงั คมศึกษา 4 0.5/20 ส32101 สังคมศึกษา 3 0.5/20 ส32104 ประวตั ิศาสตร์ 4 0.5/20 ส32102 ประวตั ิศาสตร์ 3 0.5/20 พ32102 สุขศึกษาและพลศึกษา 4 0.5/20 พ32101 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 0.5/20 ศ32102 ศิลปะ 4 0.5/20 ศ32101 ศิลปะ 3 0.5/20 1.0/40 ง32101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 1.0/40 ง32102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 8.5/340 อ32101 ภาษาองั กฤษ 3 1.0/40 8.5/340 อ32102 ภาษาองั กฤษ 4 1.5/60 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 1.0/40 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 1.5/60 ค30203 คณิตศาสตร์03 1.5/60 ค30204 คณิตศาสตร์04 1.5/60 ว30202 ฟิ สิกส์ 02 1.5/60 ว30203 ฟิ สิกส์ 03 0.5/20 ว30222 เคมี 02 1.5/60 ว30223 เคมี 03 0.5/20 ว30242 ชีววทิ ยา 02 0.5/20 ว30243 ชีววทิ ยา 03 1.0/40 ส30205 ธรรมวนิ ยั 3 0.5/20 ส30207 ธรรมวนิ ยั 4 1.0/40 ส30206 ศาสนปฏิบตั ิ 3 1.0/40 ส30208 ศาสนปฏิบตั ิ 4 บ30203 บาลีไวยากรณ์ 3 1.0/40 บ30204 บาลีไวยากรณ์ 4 รวม 15.0/600 อ30202 ภาษาองั กฤษ 02 รวม 15.0/600 อ30203 ภาษาองั กฤษ 03 60 20 กจิ กรรมพฒั นาผ้เู รียน 60 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ก32901 แนะแนว 3 20 ก32902 แนะแนว 4 20 ก32093 ชุมนุม 3 ก32094 ชุมนุม 4 ก32905 กิจกรรมสงฆ์ 3 20 ก32906 กิจกรรมสงฆ์ 4 20 ก32907 กิจกรรมเพื่อสงั คม และ ก32907 กิจกรรมเพอ่ื สงั คม และ สาธารณะประโยชน์ 2 20 สาธารณะประโยชน์ 2 รวมท้งั สิ้น 1,320 ชั่วโมง/ปี หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกในกิจกรรมชุมนุม จานวน 20 ชว่ั โมง/ ปี การศึกษา

๑๔ ช้ันมธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖ ภาคเรียนที่ 1 หน่วยกติ /ชม. ภาคเรียนที่ 2 หน่วยกติ /ชม. รายวชิ า/กจิ กรรม 4.5/180 รายวชิ า/กจิ กรรม 4.5/180 รายวชิ าพื้นฐาน 1.0/40 รายวชิ าพืน้ ฐาน 1.0/40 ท33101 ภาษาไทย 5 1.0/40 ท33102 ภาษาไทย 6 1.0/40 ส33101 สงั คมศึกษา 5 0.5/20 ส33102 สงั คมศึกษา 4 0.5/20 พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 0.5/20 พ33102 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 0.5/20 ศ33101 ศิลปะ 5 0.5/20 ศ33102 ศิลปะ 6 0.5/20 1.0/40 1.0/40 ง33101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 10.5/420 ง33102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 10.5/420 2.5/100 2.5/100 อ33101 ภาษาองั กฤษ 5 1.5/60 อ33102 ภาษาองั กฤษ 6 1.5/60 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 1.5/60 รายวชิ าเพมิ่ เตมิ 1.5/60 ค30205 คณิตศาสตร์ 05 1.5/60 ค30206 คณิตศาสตร์06 1.5/60 ว30204 ฟิ สิกส์ 04 0.5/20 ว30205 ฟิ สิกส์ 05 0.5/20 ว30224 เคมี 04 0.5/20 ว30225 เคมี 05 0.5/20 ว30244 ชีววทิ ยา 04 1.0/40 ว30245 ชีววทิ ยา 05 1.0/40 ส30209 ธรรมวนิ ยั 5 1.5/60 ส30211 ธรรมวนิ ยั 4 1.5/60 ส30210 ศาสนปฏิบตั ิ 5 ส30212 ศาสนปฏิบตั ิ 4 บ30205 บาลีไวยากรณ์ 5 รวม 15.5/620 บ30204 บาลีไวยากรณ์ 4 รวม 15.0/600 อ30204 ภาษาองั กฤษ 04 60 อ30205 ภาษาองั กฤษ 05 60 20 20 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ก33901 แนะแนว 5 20 ก33902 แนะแนว 6 20 ก33903 ชุมนุม 5 ก33904 ชุมนุม 6 ก33905 กิจกรรมสงฆ์ 5 20 ก33906 กิจกรรมสงฆ์ 6 20 ก33907กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะ ก33907 กิจกรรมเพือ่ สังคมและสาธารณะ ประโยชน์ 3 ประโยชน์ 3 รวมท้งั สิ้น 1,320 ชั่วโมง/ปี หมายเหตุ กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณะประโยชน์ จดั แทรกในกิจกรรมชุมนุม จานวน 20 ชวั่ โมง/ ปี การศึกษา

๑๕ โครงสร้างรายวชิ ากล่มุ สาระการเรียนรู้ ๑. กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๑.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ท21101 ภาษาไทย 1 60/1.5 ท21102 ภาษาไทย 2 60/1.5 ท22101 ภาษาไทย 3 60/1.5 ท22102 ภาษาไทย 4 60/1.5 ท23101 ภาษาไทย 5 60/1.5 ท23102 ภาษาไทย 6 60/1.5 ๒) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ การอ่านและพิจารณาวรรณกรรมไทย 20/0.5 รหัสวชิ า การเขียนภาษาไทยเชิงสร้างสรรค์ 20/0.5 ท20201 เสริมทกั ษะภาษาไทย 01 20/0.5 ท20202 หลกั ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร 20/0.5 ท20203 นิทานพ้ืนบา้ นไทย 20/0.5 ท20204 การวจิ ารณ์วรรณกรรม 20/0.5 ท20205 ท20206 ๑.๒. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ ท31101 ภาษาไทย 1 40/1 ท31102 ภาษาไทย 2 40/1 ท32101 ภาษาไทย 3 40/1 ท32102 ภาษาไทย 4 40/1 ท33101 ภาษาไทย 5 40/1 ท33102 ภาษาไทย 6 40/1

๒) รายวชิ าเพม่ิ เติม ช่ือรายวชิ า ๑๖ การเขียนภาษาไทย รหัสวชิ า การพดู จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ ท30201 ประวตั ิวรรณคดี 40/1 ท30202 วรรณกรรมไทยปัจจุบนั 40/1 ท30203 วรรณกรรมทอ้ งถ่ินอีสาน 20/0.5 ท30204 การพินิจวรรณคดีมรดกเฉพาะเร่ือง 40/1 ท30205 20/0.5 ท30206 20/0.5 ๒. กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ๒.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ ค21101 คณิตศาสตร์ 1 60 / 1.5 ค21102 คณิตศาสตร์ 2 60 / 1.5 ค22101 คณิตศาสตร์ 3 60 / 1.5 ค22102 คณิตศาสตร์ 4 60 / 1.5 ค23101 คณิตศาสตร์ 5 60 / 1.5 ค23102 คณิตศาสตร์ 6 60 / 1.5 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 01 20/0.5 รหสั วชิ า กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 02 20/0.5 ค20201 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 03 20/0.5 ค20202 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 04 20/0.5 ค20203 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 05 20/0.5 ค20204 กระบวนการทางคณิตศาสตร์ 06 20/0.5 ค20205 ค20206

๑๗ ๒.๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณติ ศาสตร์ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔ – ม.๖ ) ๑)รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ค31101 คณิตศาสตร์ 1 60 /1.5 ค31102 คณิตศาสตร์ 2 60 /1.5 ค32101 คณิตศาสตร์ 3 60 /1.5 ค 32102 คณิตศาสตร์ 4 60 /1.5 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ คณิตศาสตร์ 01 40/1 รหัสวชิ า คณิตศาสตร์ 02 40/1 ค30201 คณิตศาสตร์ 03 40/1 ค30202 คณิตศาสตร์ 04 40/1 ค30203 คณิตศาสตร์ 05 100/2.5 ค30204 คณิตศาสตร์ 06 100/2.5 ค30205 ค30206 ๓. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ๓.๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง / หน่วยกติ ว21101 วทิ ยาศาสตร์ 1 60 /1.5 ว21102 วทิ ยาศาสตร์ 2 60 /1.5 ว22101 วทิ ยาศาสตร์ 3 60 /1.5 ว22102 วทิ ยาศาสตร์ 4 60 /1.5 ว23101 วทิ ยาศาสตร์ 5 60 /1.5 ว23102 วทิ ยาศาสตร์ 6 60 /1.5 ๒) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง / หน่วยกติ วทิ ยาศาสตร์ 01 20 /0.5 รหัสวชิ า วทิ ยาศาสตร์ 02 20 /0.5 ว20201 ว20202

ว20203 วทิ ยาศาสตร์ 03 ๑๘ ว20204 วทิ ยาศาสตร์ 04 ว20205 วทิ ยาศาสตร์ 05 20 /0.5 ว20206 วทิ ยาศาสตร์ 06 20 /0.5 20 /0.5 20 /0.5 ๓.๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง / หน่วยกติ ว31101 ฟิ สิกส์ 1 60 /1.5 ว31121 เคมี 1 60/1.5 ว31141 ชีววทิ ยา1 60/1.5 ว31161 โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ 60/1.5 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เติม ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง / หน่วยกติ ฟิ สิกส์ 01 60/1.5 รหสั วชิ า ฟิ สิกส์ 02 60/1.5 ว30201 ฟิ สิกส์ 03 60/1.5 ว30202 ฟิ สิกส์ 04 60/1.5 ว30203 ฟิ สิกส์ 05 60/1.5 ว30204 เคมี 01 60/1.5 ว30205 เคมี 02 60/1.5 ว30221 เคมี 03 60/1.5 ว30222 เคมี 04 60/1.5 ว30223 เคมี 05 60/1.5 ว30224 ชีววทิ ยา 01 60/1.5 ว30225 ชีววทิ ยา 02 60/1.5 ว30241 ชีววทิ ยา 03 60/1.5 ว30242 ชีววทิ ยา 04 60/1.5 ว30243 ชีววทิ ยา 05 60/1.5 ว30244 ว30245

๑๙ ๔. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ๔ ๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น (ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/ หน่วยกติ ส21101 สงั คมศึกษา 1 60/1.5 ส21102 ประวตั ิศาสตร์ 1 20/0.5 ส21103 สังคมศึกษา 2 60/1.5 ส21104 ประวตั ิศาสตร์ 2 20/0.5 ส22101 สังคมศึกษา 3 60/1.5 ส22102 ประวตั ิศาสตร์ 3 20/0.5 ส22103 สังคมศึกษา 4 60/1.5 ส22104 ประวตั ิศาสตร์ 4 20/0.5 ส23101 สงั คมศึกษา 5 60/1.5 ส23102 ประวตั ิศาสตร์ 5 20/0.5 ส23103 สงั คมศึกษา 6 60/1.5 ส23104 ประวตั ิศาสตร์ 6 20/0.5 ๒) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง / หน่วยกติ ธรรมวนิ ยั 1 20 /0.5 รหสั วชิ า ศาสนปฏิบตั ิ 1 20 /0.5 ส20201 ธรรมวนิ ยั 2 20 /0.5 ส20202 ศาสนปฏิบตั ิ 2 20 /0.5 ส20203 ธรรมวนิ ยั 3 20 /0.5 ส20204 ศาสนปฏิบตั ิ 3 20 /0.5 ส20205 ธรรมวนิ ยั 4 20 /0.5 ส20206 ศาสนปฏิบตั ิ 4 20 /0.5 ส20207 ธรรมวนิ ยั 5 20 /0.5 ส20208 ศาสนปฏิบตั ิ 5 20 /0.5 ส20209 ธรรมวนิ ยั 6 20 /0.5 ส20210 ศาสนปฏิบตั ิ 6 20 /0.5 ส20211 ส20212

๒๐ ๔.๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรมระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/ หน่วยกติ ส31101 สังคมศึกษา 1 40/1 ส31102 ประวตั ิศาสตร์ 1 20/0.5 ส31103 สงั คมศึกษา 2 40/1 ส31104 ประวตั ิศาสตร์ 2 20/0.5 ส32101 สงั คมศึกษา 3 40/1 ส32102 ประวตั ิศาสตร์ 3 20/0.5 ส32103 สงั คมศึกษา 4 40/1 ส32104 ประวตั ิศาสตร์ 4 20/0.5 ส33101 สังคมศึกษา 5 40/1 ส33102 สังคมศึกษา 6 40/1 ๒)รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง / หน่วยกติ ธรรมวนิ ยั 1 20 /0.5 รหสั วชิ า ศาสนปฏิบตั ิ 1 20 /0.5 ส30201 ธรรมวนิ ยั 2 20 /0.5 ส30202 ศาสนปฏิบตั ิ 2 20 /0.5 ส30203 ธรรมวนิ ยั 3 20 /0.5 ส30204 ศาสนปฏิบตั ิ 3 20 /0.5 ส30205 ธรรมวนิ ยั 4 20 /0.5 ส30206 ศาสนปฏิบตั ิ 4 20 /0.5 ส30207 ธรรมวนิ ยั 5 20 /0.5 ส30208 ศาสนปฏิบตั ิ 5 20 /0.5 ส30209 ธรรมวนิ ยั 6 20 /0.5 ส30210 ศาสนปฏิบตั ิ 6 20 /0.5 ส30211 เศรษฐศาสตร์ครอบครัว 20 /0.5 ส30212 ทอ้ งถิ่นของเรา 20 /0.5 ส30213 ส30214

๒๑ ๕. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ๕.๑ กล่มุ สาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/ หน่วยกติ พ21101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 1 40/1 พ21102 สุขศึกษาและพลศึกษา 2 40/1 พ22101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 3 40/1 พ22102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 4 40/1 พ23101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 5 40/1 พ23102 สุขศึกษาและพลศึกษา 6 40/1 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ ทกั ษะชีวติ ปัญหาส่ิงเสพติด และ 20/0.5 พ20201 การมีเพศสมั พนั ธ์ก่อนวยั อนั ควร 20/0.5 สุขภาพและสิ่งแวดลอ้ ม พ20202 ๕.๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ( ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ พ31101 สุขศึกษาและพลศึกษา 1 20 /0.5 พ31102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 2 20 /0.5 พ32101 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 3 20 /0.5 พ32102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 4 20 /0.5 พ33101 สุขศึกษาและพลศึกษา 5 20 /0.5 พ33102 สุขศึกษาและพลศกึ ษา 6 20 /0.5 ๒) รายวชิ าเพมิ่ เติม ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ คุม้ ครองผบู้ ริโภค 20/0.5 รหัสวชิ า วทิ ยาศาสตร์สุขภาพ 20/0.5 พ30201 พ30201

๒๒ ๖. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ๖.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/ หน่วยกิต ศ21101 ศิลปะ 1 40/1 ศ21102 ศิลปะ 2 40/1 ศ22101 ศิลปะ 3 40/1 ศ22102 ศิลปะ 4 40/1 ศ23101 ศิลปะ 5 40/1 ศ23102 ศิลปะ 6 40/1 ๒) รายวชิ าเพมิ่ เติม ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/ หน่วยกติ รหสั วชิ า การเขียนภาพการ์ตูน 20/0.5 ศ20201 ๒.๖ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ ศ31101 ศิลปะ 1 20/0.5 ศ31102 ศิลปะ 2 20/0.5 ศ32101 ศิลปะ 3 20/0.5 ศ32102 ศิลปะ 4 20/0.5 ศ33101 ศิลปะ 5 0/0.5 ศ33102 ศิลปะ 6 20/0.5 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เติม ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ รหสั วชิ า การเขียนภาพคนเหมือน 20/0.5 ศ30201

๒๓ ๗. กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ๑. ๗ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ง21101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 40 /1 ง21102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 40 /1 ง22101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 40 /1 ง22102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 40 /1 ง23101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 40 /1 ง23102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 40 /1 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ง20201 การออกแบบผลิตภณั ฑ์ 20/0.5 ง20202 การนาเสนอส่ือผสม 20/0.5 ง20203 การสร้างภาพเคลื่อนไหว 20/0.5 ง20204 การเขียนโปรแกรม 20/0.5 ๗.๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ง31101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 20 /0.5 ง31102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 20 /0.5 ง32101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 20 /0.5 ง32102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 20 /0.5 ง33101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 20 /0.5 ง33102 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 20 /0.5 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เตมิ รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ง30201 งานออกแบบเวบ็ เพจ 40 / 1 ง30202 การใชโ้ ปรแกรมกราฟิ ก 40 / 1 ง30203 ระบบเครือขา่ ยคอมพวิ เตอร์ 40 / 1 ง30204 การสร้างเวบ็ มลั ติมีเดีย 40 / 1

๒๔ ๘. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ๘.๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ อ21101 ภาษาองั กฤษ 1 60/1.5 อ21102 ภาษาองั กฤษ 2 60/1.5 อ22101 ภาษาองั กฤษ 3 60/1.5 อ22102 ภาษาองั กฤษ 4 60/1.5 อ23101 ภาษาองั กฤษ 5 60/1.5 อ23102 ภาษาองั กฤษ 6 60/1.5 ๒) รายวชิ าเพม่ิ เติม ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ ภาษาองั กฤษ 01 20/0.5 รหัสวชิ า ภาษาองั กฤษ 02 20/0.5 อ20201 ภาษาองั กฤษ 03 20/0.5 อ20202 ภาษาองั กฤษ 05 20/0.5 อ20203 ภาษาองั กฤษ 06 20/0.5 อ20205 บาลีไวยกรณ์ 1 40/1 อ20206 บาลีไวยกรณ์ 2 40/1 บ20201 บาลีไวยกรณ์ 3 40/1 บ20202 บาลีไวยกรณ์ 4 40/1 บ20203 บาลีไวยกรณ์ 5 40/1 บ20204 บาลีไวยกรณ์ 6 40/1 บ20205 บ20206 ๘.๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖ ) ๑) รายวชิ าพืน้ ฐาน รหัสวชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ อ31101 ภาษาองั กฤษ 1 40/1 อ31102 ภาษาองั กฤษ 2 40/1 อ32101 ภาษาองั กฤษ 3 40/1 อ32102 ภาษาองั กฤษ 4 40/1

อ33101 ภาษาองั กฤษ 5 ๒๕ อ33102 ภาษาองั กฤษ 6 40/1 ๒) รายวชิ าเพมิ่ เตมิ ช่ือรายวชิ า 40/1 รหสั วชิ า ภาษาองั กฤษ 01 อ30201 ภาษาองั กฤษ 02 จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ อ30202 ภาษาองั กฤษ 03 40/1 อ30203 ภาษาองั กฤษ 04 40/1 อ30204 ภาษาองั กฤษ 05 40/1 อ30205 บาลีไวยกรณ์ 1 60/1.5 บ30201 บาลีไวยกรณ์ 2 60/1.5 บ30202 บาลีไวยกรณ์ 3 40/1 บ30203 บาลีไวยกรณ์ 4 40/1 บ30204 บาลีไวยกรณ์ 5 40/1 บ30205 บาลีไวยกรณ์ 6 40/1 บ30206 40/1 40/1 ๙. กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ๙.๑ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ( ม.๑ – ม.๓ ) ๑) กจิ กรรมแนะแนว รหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง/ หน่วยกติ 20/0 ก21901 กิจกรรมแนะแนว 20/0 20/0 ก21902 กิจกรรมแนะแนว 20/0 20/0 ก22901 กิจกรรมแนะแนว 20/0 ก22902 กิจกรรมแนะแนว จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ 20/0 ก23901 กิจกรรมแนะแนว 20/0 20/0 ก23902 กิจกรรมแนะแนว ๒) กจิ กรรมนักเรียน ช่ือรายวชิ า กิจกรรมชุมนุม 1 รหสั วชิ า กิจกรรมชุมนุม 2 ก 21903 กิจกรรมชุมนุม 3 ก 21904 ก 22903

๒๖ ก 22904 กิจกรรมชุมนุม 4 20/0 ก 23903 กิจกรรมชุมนุม 5 20/0 ก 23904 กิจกรรมชุมนุม 6 20/0 ก 21905 กิจกรรมสงฆ์ 1 20/0 ก 21906 กิจกรรมสงฆ์ 2 20/0 ก 22905 กิจกรรมสงฆ์ 3 20/0 ก 22906 กิจกรรมสงฆ์ 4 20/0 ก 23905 กิจกรรมสงฆ์ 5 20/0 ก 23906 กิจกรรมสงฆ์ 6 20/0 ๓) กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รหัสวชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ ก 21907 กิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 1 15/0 ก 22907 กิจกรรมเพอ่ื สังคมและสาธารณประโยชน์ 2 15/0 ก 23907 กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ 3 15/0 ๙.๒ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม.๖ ) ๑) กจิ กรรมแนะแนว รหสั วชิ า ชื่อรายวชิ า จานวนช่ัวโมง/หน่วยกติ 20/0 ก31901 กิจกรรมแนะแนว 1 20/0 20/0 ก31902 กิจกรรมแนะแนว 2 20/0 20/0 ก32901 กิจกรรมแนะแนว 3 20/0 ก32902 กิจกรรมแนะแนว 4 ก33901 กิจกรรมแนะแนว 5 ก33902 กิจกรรมแนะแนว 6 ๒) กจิ กรรมนักเรียน ชื่อรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ กิจกรรมชุมนุม 1 20/0 รหสั วชิ า กิจกรรมชุมนุม 2 20/0 ก 21903 กิจกรรมชุมนุม 3 20/0 ก 21904 กิจกรรมชุมนุม 4 20/0 ก 22903 กิจกรรมชุมนุม 5 20/0 ก 22904 ก 23903

๒๗ ก 23904 กิจกรรมชุมนุม 6 20/0 ก 21905 กิจกรรมสงฆ์ 1 20/0 ก 21906 กิจกรรมสงฆ์ 2 20/0 ก 32905 กิจกรรมสงฆ์ 3 20/0 ก 32906 กิจกรรมสงฆ์ 4 20/0 ก 33905 กิจกรรมสงฆ์ 5 20/0 ก 33906 กิจกรรมสงฆ์ 6 20/0 ๓) กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ รหสั วชิ า ช่ือรายวชิ า จานวนชั่วโมง/หน่วยกติ ก 31907 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 1 15/0 ก 32907 กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ 2 15/0 ก 33907 กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ 3 15/0 การจัดการเรียนรู้ การจดั การเรียนรู้เป็ นกระบวนการสาคญั ในการนาหลกั สูตรสู่การปฏิบตั ิ หลกั สูตรแกนกลาง การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เป็ นหลกั สูตรที่มีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสาคญั และคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคข์ องผเู้ รียน เป็นเป้าหมายสาหรับพฒั นาเดก็ และเยาวชน ในการพฒั นาผเู้ รียนใหม้ ีคุณสมบตั ิตามเป้าหมายหลกั สูตร โรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา พยายามคดั สรรกระบวนการเรียนรู้ จดั การเรียนรู้โดยช่วยใหผ้ เู้ รียนเรียนรู้ผา่ นสาระที่กาหนดไวใ้ น หลกั สูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้งั ปลูกฝังเสริมสร้างคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ พฒั นาทกั ษะ ตา่ งๆ อนั เป็ นสมรรถนะสาคญั ใหผ้ เู้ รียนบรรลุตามเป้าหมาย ๑. หลกั การจัดการเรียนรู้ การจัดการเรี ยนรู้เพื่อให้ผู้เรี ยนมีความรู้ ความสามารถตามมาตรฐานการเรี ยนรู้ สมรรถนะสาคญั และคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ตามที่กาหนดไวใ้ นหลกั สูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พ้ืนฐาน โดยยึดหลกั วา่ ผูเ้ รียนมีความสาคญั ท่ีสุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพฒั นา ตนเองได้ ยึดประโยชน์ที่เกิดกบั ผูเ้ รียน กระบวนการจดั การเรียนรู้ตอ้ งส่งเสริมใหผ้ ูเ้ รียน สามารถพฒั นา ตามธรรมชาติและเต็มตามศกั ยภาพ คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพฒั นาการทางสมอง เนน้ ใหค้ วามสาคญั ท้งั ความรู้ และคุณธรรม

๒๘ ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ี หลากหลาย เป็ นเคร่ืองมือที่จะนาพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลกั สูตร กระบวนการเรียนรู้ท่ีจาเป็ น สาหรับผูเ้ รียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปั ญหา กระบวนการเรี ยนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทาจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพฒั นาลกั ษณะนิสยั กระบวนการเหล่าน้ีเป็ นแนวทางในการจดั การเรียนรู้ท่ีผูเ้ รียนควรไดร้ ับการฝึ กฝน พฒั นา เพราะจะสามารถช่วยให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังน้ัน ผู้สอน จึงจาเป็ นต้องศึกษาทาความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจดั กระบวนการเรียนรู้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ๓. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ผสู้ อนตอ้ งศึกษาหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ ขา้ ใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวดั สมรรถนะ สาคัญของผูเ้ รียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับผูเ้ รียน แล้วจึง พิจารณาออกแบบการจดั การเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวดั และประเมินผล เพ่อื ใหผ้ เู้ รียนไดพ้ ฒั นาเตม็ ตามศกั ยภาพและบรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนด ๔. บทบาทของผู้สอนและผ้เู รียน การจดั การเรียนรู้เพ่ือให้ผูเ้ รียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลกั สูตร ท้งั ผูส้ อนและผูเ้ รียน ควรมีบทบาท ดงั น้ี ๔.๑ บทบาทของผ้สู อน ๑) ศึกษาวเิ คราะห์ผเู้ รียนเป็นรายบุคคล แลว้ นาขอ้ มูลมาใชใ้ นการวางแผน การจดั การเรียนรู้ ที่ทา้ ทายความสามารถของผเู้ รียน ๒) กาหนดเป้าหมายที่ตอ้ งการใหเ้ กิดข้ึนกบั ผเู้ รียน ดา้ นความรู้และทกั ษะ กระบวนการ ท่ีเป็ นความคิดรวบยอด หลกั การ และความสัมพนั ธ์ รวมท้งั คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่าง บุคคลและพฒั นาการทางสมอง เพื่อนาผูเ้ รียนไปสู่เป้าหมาย ๔) จดั บรรยากาศที่เอ้ือตอ่ การเรียนรู้ และดูแลช่วยเหลือผเู้ รียนใหเ้ กิดการเรียนรู้ ๕) จดั เตรียมและเลือกใชส้ ่ือใหเ้ หมาะสมกบั กิจกรรม นาภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น เทคโนโลยที ่ีเหมาะสมมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการจดั การเรียนการสอน ๖) ประเมินความกา้ วหนา้ ของผเู้ รียนดว้ ยวธิ ีการที่หลากหลาย เหมาะสมกบั ธรรมชาติของวชิ าและระดบั พฒั นาการของผเู้ รียน ๗) วเิ คราะห์ผลการประเมินมาใชใ้ นการซ่อมเสริมและพฒั นาผเู้ รียน รวมท้งั

๒๙ ปรับปรุงการจดั การเรียนการสอนของตนเอง ๔.๒ บทบาทของผ้เู รียน ๑) กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถึงแหล่งการเรียนรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้งั คาถาม คิดหาคาตอบหรือหาแนวทางแกป้ ัญหาดว้ ยวธิ ีการตา่ ง ๆ ๒) ลงมือปฏิบตั ิจริง สรุปสิ่งทีไ่ ดเ้ รียนรู้ดว้ ยตนเอง และนาความรู้ไปประยกุ ตใ์ ช้ ในสถานการณ์ต่าง ๆ ๓) มีปฏิสัมพนั ธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกบั กลุ่มและครู ๔) ประเมินและพฒั นากระบวนการเรียนรู้ของตนเองอยา่ งต่อเน่ือง ส่ือการเรียนรู้และแหล่งเรียนรู้ สื่อการเรียนรู้เป็ นเคร่ืองมือส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การกระบวนการเรียนรู้ ให้ผูเ้ รียนเขา้ ถึง ความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ ส่ือการเรียนรู้มีหลากหลายประเภท ท้ังสื่อธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ ส่ือเทคโนโลยี และเครือข่าย การเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในทอ้ งถ่ิน การเลือกใชส้ ื่อควรเลือกให้มีความเหมาะสมกบั ระดบั พฒั นาการ และ ลีลาการเรียนรู้ท่ีหลากหลายของผเู้ รียน การจดั หาสื่อการเรียนรู้ ผเู้ รียนและผสู้ อนสามารถจดั ทาและพฒั นาข้ึนเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้ อยา่ งมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยูร่ อบตวั เพื่อนามาใชป้ ระกอบในการจดั การเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริม และสื่อสารให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจดั ให้มีอย่างพอเพียง เพื่อพฒั นาให้ผูเ้ รียนเกิด การเรียนรู้อยา่ งแทจ้ ริง สถานศึกษา เขตพ้ืนที่การศึกษา หน่วยงานที่เกี่ยวขอ้ งและผมู้ ีหนา้ ท่ีจดั การศึกษา ข้นั พ้นื ฐาน ควรดาเนินการดงั น้ี ๑. จดั ให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนยส์ ื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ท่ีมีประสิทธิภาพท้งั ในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาคน้ ควา้ และการแลกเปลี่ยน ประสบการณ์การเรียนรู้ ระหวา่ งสถานศึกษา ทอ้ งถ่ิน ชุมชน สังคมโลก ๒. จดั ทาและจดั หาส่ือการเรียนรู้สาหรับการศึกษาคน้ ควา้ ของผูเ้ รียน เสริมความรู้ให้ผูส้ อน รวมท้งั จดั หาสิ่งท่ีมีอยใู่ นทอ้ งถ่ินมาประยกุ ตใ์ ชเ้ ป็นสื่อการเรียนรู้ ๓. เลือกและใช้สื่อการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคลอ้ ง กบั วธิ ีการเรียนรู้ ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ และความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน ๔. ประเมินคุณภาพของสื่อการเรียนรู้ท่ีเลือกใชอ้ ยา่ งเป็ นระบบ ๕. ศึกษาคน้ ควา้ วจิ ยั เพ่ือพฒั นาส่ือการเรียนรู้ใหส้ อดคลอ้ งกบั กระบวนการเรียนรู้ของผเู้ รียน

๓๐ ๖. จดั ให้มีการกากับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกบั ส่ือและการใช้สื่อ การเรียนรู้เป็นระยะๆ และสม่าเสมอ ในการจัดทา การเลือกใช้ และการประเมินคุณภาพส่ื อการเรี ยนรู้ที่ใช้ในสถานศึกษา ควรคานึงถึงหลกั การสาคญั ของส่ือการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกบั หลกั สูตร วตั ถุประสงค์การ เรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจดั ประสบการณ์ให้ผูเ้ รียน เน้ือหามีความถูกต้องและ ทนั สมยั ไมก่ ระทบความมนั่ คงของชาติ ไม่ขดั ต่อศีลธรรม มีการใชภ้ าษาท่ีถูกตอ้ ง รูปแบบการนาเสนอ ท่ีเขา้ ใจง่าย และน่าสนใจ กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน กิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียน มุ่งให้ผูเ้ รียนไดพ้ ฒั นาเองตามศกั ยภาพ พฒั นาอย่างรอบดา้ น เพื่อความ เป็ นมนุษย์ท่ีสมบรูณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็ นผูม้ ีศีลธรรม จริยธรรม มีระบบ วินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกของการทาประโยชน์เพ่ือสังคม สามารถจดั กา ร ตนเองได้ และอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ื่นอยา่ งมีอยา่ งมีความสุข กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน แบ่งเป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั น้ี ๑. กจิ กรรมแนะแนว เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพฒั นาผูเ้ รียนเป็ นบุคคลท่ีมีคุณภาพเหมาะสมตามความแตกต่าง ระหว่างบุคคล คน้ พบและพฒั นาตนเองตามศกั ยภาพ มีทกั ษะดาเนินชีวิต มีวุฒิทางอารมณ์ ศีลธรรม สามารถเรียนรู้ในเชิงพหุปัญญา มีทกั ษะในการคิด วิเคราะห์ ตดั สินใจและแกป้ ัญหาอย่างเหมาะสม วางแผนการศึกษาต่อ พฒั นาตนเองสู่โลกอาชีพ การมีงานทาและดาเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมี ความสุข โดยเนน้ กระบวนการแนะแนวแบบมีส่วนร่วมอยา่ งกลั ยาณมิตร ภายใตบ้ ริบทของวฒั นธรรม ไทยและวถิ ีชีวติ แบบพอเพียง นกั เรียนทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมแนะแนว จานวน ๒๐ ชวั่ โมงตอ่ ภาคเรียน แนวการจัดกจิ กรรมแนะแนว การจดั กิจกรรมแนะแนว ให้นกั เรียนมีการส่งเสริมและสนบั สนุนเพื่อพฒั นาผูเ้ รียนให้เกิดการ เรียนรู้อนั จะนาไปสู่สมรรถนะท่ีสาคัญ ๕ ประการ และคุณลักษณะพึงประสงค์ ๘ ประการ และ คุณลกั ษณะเฉพาะของนักเรียนโรงเรียนวิเวกธรรมประสิทธ์ิวิทยาโดยมุ่งจดั กิจกรรมให้สอดคลอ้ งกบั สภาพปัญหา ความตอ้ งการ ความสนใจ ธรรมชาติผูเ้ รียนและวิสัยทศั น์ของสถานศึกษา ท่ีตอบสนอง จุดมุ่งหมายหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช ๒๕๕๑ คลอบคลุมท้งั ดา้ นการศึกษา การงานและอาชีพ ชีวิต สังคม เน้นผูเ้ รียนเป็ นสาคญั โดยผูเ้ รียนมีอิสระในการคิดและตดั สินใจด้วย ตนเอง และครูทุกคนมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม โดยมีครูแนะแนวเป็นพเ่ี ล้ียงและประสานงาน

๓๑ ๒. กจิ กรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพฒั นาความมีระเบียบวนิ ยั ความเป็ นผนู้ าตามที่ดี ความรับผิดชอบ การทางาน ร่วมกนั การรู้จกั แกป้ ัญหา การตดั สินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปันกนั เอ้ืออาทร และสมานฉันท์ โดยจดั ให้สอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนดั และความสนใจของผูเ้ รียน ให้ได้ ปฏิบตั ิด้วยตนเองในทุกข้นั ตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ ปรับปรุงทางานเน้นทางานร่วมกนั เป็ นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคลอ้ งกบั วุฒิภาวะของผูเ้ รียน บริบทของสถานศึกษาและทอ้ งถ่ิน กิจกรรมนกั เรียนประกอบดว้ ย ๒.๑ กิจกรรมชุมนุม นกั เรียนทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมชุมนุม จานวน ๒๐ ชว่ั โมงต่อภาคเรียน ๒.๒ กิจกรรมของสงฆ์ ๓. กจิ กรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็ นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผเู้ รียนบาเพญ็ ตนให้เป็ นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และทอ้ งถิ่นตาม ความสนใจในลกั ษณะอาสาสมคั ร เพือ่ แสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคมมีจิต สาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสาพฒั นาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรคส์ งั คม กิจกรรมปลูกป่ าเป็นตน้ นกั เรียนทุกคนตอ้ งเขา้ ร่วมกิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ โดยระดบั มธั ยมศึกษา ตอนตน้ (ม.๑– ม. ๓) รวม ๓ ปี จานวน ๔๕ ชว่ั โมง และ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (ม.๔ – ม. ๖) รวม ๓ ปี จานวน ๖๐ ชวั่ โมง แนวการจัดกจิ กรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ การจดั กิจกรรมเพ่อื สังคมและสาธารณประโยชน์ไม่จาเป็ นตอ้ งแบง่ แยกเวลาเรียนเป็นการ เฉพาะจากกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนอื่นๆ ผเู้ รียนอาจทากิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์ ในกิจกรรมชุมนุมต่างๆ กิจกรรมของสงฆ์ หรือแมแ้ ต่สอดแทรกในการเรียนการสอนในรายวิชาต่างๆ ได้ ท้งั ในเวลาและนอกเวลาเรียน โดยมีหลักฐานที่สามารถยืนยนั เวลา สถานท่ี ท่ีผูเ้ รียนได้ปฏิบตั ิ กิจกรรม โดยครูทุกคนที่สอนในระดบั ที่นกั เรียนเรียนมีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู้และเกณฑ์การจบหลกั สูตร การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ของผูเ้ รียนต้องอยู่บนหลักการพ้ืนฐานสองประการคือ การประเมินเพ่ือพฒั นาผูเ้ รียนและเพื่อตดั สินผลการเรียน ในการพฒั นาคุณภาพการเรียนรู้ของผูเ้ รียน ให้ประสบผลสาเร็จน้ัน ผูเ้ รียนจะตอ้ งได้รับการพฒั นาและประเมินตามตัวช้ีวดั เพื่อให้บรรลุตาม มาตรฐานการเรียนรู้ สะท้อนสมรรถนะสาคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รียนซ่ึงเป็ น เป้าหมายหลักในการวดั และประเมินผลการเรียนรู้ในทุกระดับไม่ว่าจะเป็ นระดับช้ันเรียน ระดับ สถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนท่ีการศึกษา และระดบั ชาติ การวดั และประเมินผลการเรียนรู้ เป็ นกระบวน

๓๒ การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียนโดยใช้ผลการประเมินเป็ นข้อมูลและสารสนเทศที่แสดงพฒั นาการความ กา้ วหน้าและความสาเร็จทางการเรียนของผูเ้ รียน ตลอดจนขอ้ มูลท่ีเป็ นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ ผเู้ รียนเกิดการพฒั นาและเรียนรู้อยา่ งเตม็ ตามศกั ยภาพ การวัดแล ะป ระเมิ น ผล ก ารเรี ยน รู้ แบ่ งออก เป็ น ๔ ระดับ ได้แก่ ระดับ ช้ัน เรี ยน ระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพ้นื ที่การศึกษา และระดบั ชาติ มีรายละเอียด ดงั น้ี ๑. การประเมินระดับช้ันเรียน เป็ นการวดั และประเมินผลท่ีอยู่ในกระบวนการจดั การเรียนรู้ ผูส้ อนดาเนินการเป็ นปกติและสม่าเสมอ ในการจดั การเรียนการสอน ใช้เทคนิคการประเมินอย่าง หลากหลาย เช่น การซกั ถาม การสังเกต การตรวจการบา้ น การประเมินโครงงาน การประเมินชิ้นงาน/ ภาระงาน แฟ้มสะสมงาน การใช้แบบทดสอบ ฯลฯ โดยผูส้ อนเป็ นผูป้ ระเมินเองหรือเปิ ดโอกาส ให้ผูเ้ รียนประเมินตนเอง เพ่ือนประเมินเพื่อน ผูป้ กครองร่วมประเมิน ในกรณีท่ีไม่ผ่านตวั ช้ีวดั ให้มี การสอนซ่อมเสริม การประเมินระดับช้ันเรียนเป็ นการตรวจสอบว่า ผูเ้ รียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าใน การเรียนรู้ อนั เป็ นผลมาจากการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนหรือไม่ และมากน้อยเพียงใด มีสิ่งที่ จะตอ้ งไดร้ ับการพฒั นาปรับปรุงและส่งเสริมในดา้ นใด นอกจากน้ียงั เป็ นขอ้ มูลให้ผูส้ อนใช้ปรับปรุง การเรียนการสอนของตนดว้ ย ท้งั น้ีโดยสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรียนรู้และตวั ช้ีวดั ๒. การประเมินระดับสถานศึกษา เป็ นการประเมินที่สถานศึกษาดาเนินการเพื่อตดั สินผล การเรียนของผูเ้ รียนเป็ นรายปี /รายภาค ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน คุณลกั ษณะ อนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รียน นอกจากน้ีเพ่ือให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการจดั การศึกษา ของสถานศึกษา วา่ ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผูเ้ รียนตามเป้าหมายหรือไม่ ผูเ้ รียนมีจุดพฒั นาในดา้ นใด รวมท้งั สามารถนาผลการเรียนของผูเ้ รียนในสถานศึกษาเปรียบเทียบกบั เกณฑ์ระดับชาติ ผลการ ประเมินระดบั สถานศึกษาจะเป็ นขอ้ มูลและสารสนเทศเพื่อการปรับปรุงนโยบาย หลกั สูตร โครงการ หรือวธิ ีการจดั การเรียนการสอน ตลอดจนเพ่ือการจดั ทาแผนพฒั นาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา ตามแนวทางการประกนั คุณภาพการศึกษาและการรายงานผลการจดั การศึกษาต่อคณะกรรมการ สถานศึกษา สานกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ผูป้ กครอง และชุมชน ๓. การประเมินระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รียนในระดบั เขตพ้ืนท่ี การศึกษาตามมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพื่อใช้เป็ นข้อมูล พ้ืนฐานในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาของเขตพ้ืนที่การศึกษา ตามภาระความรับผิดชอบ สามารถ ดาเนินการโดยประเมินคุณภาพผลสัมฤทธ์ิของผูเ้ รียนดว้ ยขอ้ สอบมาตรฐานที่จดั ทาและดาเนินการโดย เขตพ้ืนที่การศึกษา หรือดว้ ยความร่วมมือกบั หน่วยงานตน้ สงั กดั ในการดาเนินการจดั สอบ นอกจากน้ียงั ไดจ้ ากการตรวจสอบทบทวนขอ้ มูลจากการประเมินระดบั สถานศึกษาในเขตพ้นื ที่การศึกษา

๓๓ ๔. การประเมินระดับชาติ เป็ นการประเมินคุณภาพผูเ้ รียนในระดับชาติตามมาตรฐาน การเรียนรู้ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน สถานศึกษาตอ้ งจดั ให้ผูเ้ รียนทุกคนที่เรียน ในช้นั ประถมศึกษาปี ที่ ๓ ช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี ๖ ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๓ และช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖ เขา้ รับการประเมิน ผลจากการประเมินใชเ้ ป็ นขอ้ มูลในการเทียบเคียงคุณภาพการศึกษาในระดบั ต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษา ตลอดจนเป็ นข้อมูลสนับสนุน การตดั สินใจในระดบั นโยบายของประเทศ ข้อมูลการประเมินในระดบั ต่าง ๆ ขา้ งต้น เป็ นประโยชน์ต่อสถานศึกษาในการตรวจสอบ ทบทวนพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน ถือเป็ นภาระความรับผิดชอบของสถานศึกษาที่จะตอ้ งจดั ระบบดูแล ช่วยเหลือ ปรับปรุงแก้ไข ส่งเสริมสนับสนุนเพื่อให้ผูเ้ รียนได้พฒั นาเต็มตามศกั ยภาพบนพ้ืนฐาน ความแตกต่างระหวา่ งบุคคลที่จาแนกตามสภาพปัญหาและความตอ้ งการ ไดแ้ ก่ กลุ่มผูเ้ รียนทว่ั ไป กลุ่ม ผเู้ รียนที่มีความสามารถพิเศษ กลุ่มผเู้ รียนท่ีมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนต่า กลุ่มผเู้ รียนท่ีมีปัญหาดา้ นวนิ ยั และพฤติกรรม กลุ่มผูเ้ รียนที่ปฏิเสธโรงเรียน กลุ่มผูเ้ รียนที่มีปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคม กลุ่มพิการ ทางร่างกายและสติปัญญา เป็ นต้น ข้อมูลจากการประเมินจึงเป็ นหัวใจของสถานศึกษาในการ ดาเนินการช่วยเหลือผเู้ รียนไดท้ นั ท่วงที ปิิดโอกาสใหผ้ เู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาและประสบความสาเร็จ ในการเรียน สถานศึกษาในฐานะผู้รับผิดชอบจัดการศึกษา จะต้องจัดทาระเบียบว่าด้วยการวดั และ ประเมินผลการเรียนของสถานศึกษาให้สอดคลอ้ งและเป็ นไปตามหลกั เกณฑ์และแนวปฏิบตั ิท่ีเป็ น ขอ้ กาหนดของหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน เพ่ือให้บุคลากรท่ีเก่ียวขอ้ งทุกฝ่ ายถือปฏิบตั ิ ร่วมกนั เกณฑ์การวดั และประเมนิ ผลการเรียน ๑. การตัดสิน การให้ระดับและการรายงานผลการเรียน ๑.๑ การตดั สินผลการเรียน ในการตดั สินผลการเรียนของกลุ่มสาระการเรียนรู้ การอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ และกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียนน้นั ผสู้ อนตอ้ งคานึงถึงการพฒั นาผเู้ รียนแตล่ ะคน เป็นหลกั และตอ้ งเกบ็ ขอ้ มูลของผเู้ รียนทุกดา้ นอยา่ งสม่าเสมอและต่อเนื่องในแต่ละภาคเรียน รวมท้งั สอน ซ่อมเสริมผเู้ รียนใหพ้ ฒั นาจนเตม็ ตามศกั ยภาพ ระดับมธั ยมศึกษา (๑) ตดั สินผลการเรียนเป็นรายวชิ า ผเู้ รียนตอ้ งมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียนไม่นอ้ ย กวา่ ร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนท้งั หมดในรายวชิ าน้นั ๆ (๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมินทุกตวั ช้ีวดั และผา่ นตามเกณฑท์ ี่สถานศึกษา กาหนด

๓๔ (๓) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการตดั สินผลการเรียนทุกรายวชิ า (๔) ผเู้ รียนตอ้ งไดร้ ับการประเมิน และมีผลการประเมินผา่ นตามเกณฑท์ ่ี สถานศึกษากาหนด ในการอ่าน คิดวเิ คราะห์และเขียน คุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ และกิจกรรมพฒั นา ผเู้ รียน การพจิ ารณาเลื่อนช้นั ท้งั ระดบั มธั ยมศึกษา ถา้ ผเู้ รียนมีขอ้ บกพร่องเพยี งเลก็ นอ้ ย และ สถานศึกษาพิจารณาเห็นวา่ สามารถพฒั นาและสอนซ่อมเสริมได้ ใหอ้ ยใู่ นดุลพินิจของสถานศึกษาท่ีจะ ผอ่ นผนั ใหเ้ ลื่อนช้นั ได้ แต่หากผเู้ รียนไม่ผา่ นรายวชิ าจานวนมาก และมีแนวโนม้ วา่ จะเป็ นปัญหาต่อการ เรียนในระดบั ช้นั ท่ีสูงข้ึน สถานศึกษาอาจต้งั คณะกรรมการพิจารณาใหเ้ รียนซ้าช้นั ได้ ท้งั น้ีใหค้ านึงถึง วฒุ ิภาวะและความรู้ความสามารถของผเู้ รียนเป็ นสาคญั ๑.๒ การให้ระดบั ผลการเรียน ระดับมัธยมศึกษา ในการตดั สินเพอื่ ใหร้ ะดบั ผลการเรียนรายวชิ า ใหใ้ ชต้ วั เลขแสดง ระดบั ผลการเรียนเป็ น ๘ ระดบั การประเมินการอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงคน์ ้นั ให้ระดบั ผล การประเมินเป็น ดีเยยี่ ม ดี และผา่ น การประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน จะตอ้ งพจิ ารณาท้งั เวลาการเขา้ ร่วมกิจกรรม การปฏิบตั ิ กิจกรรมและผลงานของผเู้ รียน ตามเกณฑท์ ่ีสถานศึกษากาหนด และใหผ้ ลการเขา้ ร่วมกิจกรรมเป็นผา่ น และไม่ผา่ น ๑.๓ การรายงานผลการเรียน การรายงานผลการเรียนเป็นการส่ือสารใหผ้ ปู้ กครองและผเู้ รียนทราบความกา้ วหนา้ ในการเรียนรู้ของผเู้ รียน ซ่ึงสถานศึกษาตอ้ งสรุปผลการประเมินและจดั ทาเอกสารรายงานใหผ้ ปู้ กครอง ทราบเป็นระยะ ๆ หรืออยา่ งนอ้ ยภาคเรียนละ ๑ คร้ัง การรายงานผลการเรียนสามารถรายงานเป็ นระดบั คุณภาพการปฏิบตั ิของผเู้ รียนท่ีสะทอ้ น มาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ๒. เกณฑ์การจบการศึกษา หลกั สูตรโรงเรียนวเิ วกธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา กาหนดเกณฑก์ ลางสาหรับการจบการศึกษา ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย ดงั น้ี ๒.๑ เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น (๑) ผเู้ รียนเรียนรายวิชาพ้ืนฐานและเพ่ิมเติมไม่เกิน ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวชิ าพ้ืนฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่มิ เติมตามที่สถานศึกษากาหนด

๓๕ (๒) ผเู้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชา พ้ืนฐาน ๖๓ หน่วยกิต และรายวชิ าเพิม่ เติมไม่นอ้ ยกวา่ ๑๔ หน่วยกิต (๓) ผู้เรียนมีผลการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ในระดับผ่าน เกณฑ์ การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด (๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษากาหนด (๕) ผูเ้ รียนเขา้ ร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามท่ีสถานศึกษากาหนด ๒.๒ เกณฑ์การจบระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย (๑) ผูเ้ รียนเรียนรายวชิ าพ้ืนฐานและเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยกวา่ ๘๑ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวิชา พ้ืนฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวชิ าเพ่ิมเติมตามท่ีสถานศึกษากาหนด (๒) ผูเ้ รียนตอ้ งไดห้ น่วยกิตตลอดหลกั สูตรไม่นอ้ ยกวา่ ๗๗ หน่วยกิต โดยเป็ นรายวชิ า พ้นื ฐาน ๓๙ หน่วยกิต และรายวชิ าเพิ่มเติม ไม่นอ้ ยวา่ ๓๘ หน่วยกิต (๓) ผเู้ รียนมีผลการประเมิน การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียน ในระดบั ผา่ นเกณฑ์ การประเมินตามท่ีสถานศึกษากาหนด (๔) ผเู้ รียนมีผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ผา่ นเกณฑ์การประเมิน ตามท่ีสถานศึกษากาหนด (๕) ผูเ้ รียนเข้าร่วมกิจกรรมพฒั นาผูเ้ รียนและมีผลการประเมินผ่านเกณฑ์การประเมิน ตามที่สถานศึกษากาหนด เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เอกสารหลกั ฐานการศึกษา เป็ นเอกสารสาคญั ท่ีบนั ทึกผลการเรียน ข้อมูลและสารสนเทศ ที่เกี่ยวขอ้ งกบั พฒั นาการของผเู้ รียนในดา้ นตา่ ง ๆ แบ่งออกเป็น ๒ ประเภท ดงั น้ี ๑. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทกี่ ระทรวงศึกษาธิการกาหนด ๑.๑ ระเบียนแสดงผลการเรียน เป็ นเอกสารแสดงผลการเรียนและรับรองผลการเรียนของ ผูเ้ รียนตามรายวิชา ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์และเขียน ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึง ประสงคข์ องสถานศึกษา และผลการประเมินกิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน สถานศึกษาจะตอ้ งบนั ทึกขอ้ มูลและ ออกเอกสารน้ีให้ผเู้ รียนเป็ นรายบุคคล เม่ือผเู้ รียนจบการศึกษาภาคบงั คบั (ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ ๓) จบการ ศึกษาข้นั พ้ืนฐาน(ช้นั มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖) หรือเมื่อลาออกจากสถานศึกษาในทุกกรณี ๑.๒ ประกาศนียบัตร เป็ นเอกสารแสดงวุฒิการศึกษาเพ่ือรับรองศกั ด์ิและสิทธ์ิของผูจ้ บ การศึกษา ท่ีสถานศึกษาให้ไวแ้ ก่ผูจ้ บการศึกษาภาคบงั คบั และผูจ้ บการศึกษาข้นั พ้ืนฐานตามหลกั สูตร แกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน

๓๖ ๑.๓ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา เป็ นเอกสารอนุมตั ิการจบหลกั สูตรโดยบนั ทึกรายชื่อ และขอ้ มูลของผูจ้ บการศึกษาภาคบงั คบั (ช้ันมธั ยมศึกษาปี ที่ ๓) และผูจ้ บการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน (ช้ัน มธั ยมศึกษาปี ท่ี ๖) ๒. เอกสารหลกั ฐานการศึกษาทสี่ ถานศึกษากาหนด เป็ นเอกสารที่สถานศึกษาจดั ทาข้ึนเพ่ือบนั ทึกพฒั นาการ ผลการเรียนรู้ และขอ้ มูลสาคญั เกี่ยวกบั ผูเ้ รียน เช่น แบบรายงานประจาตวั นักเรียน แบบบนั ทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียน สะสม ใบรับรองผลการเรียน และ เอกสารอื่น ๆ ตามวตั ถุประสงคข์ องการนาเอกสารไปใช้ การเทยี บโอนผลการเรียน สถานศึกษาสามารถเทียบโอนผลการเรียนของผูเ้ รียนในกรณีต่างๆไดแ้ ก่ การยา้ ยสถานศึกษา การเปล่ียนรูปแบบการศึกษา การยา้ ยหลักสู ตร การออกกลางคนั และขอกลับเข้ารับการศึกษาต่อ การศึกษาจากตา่ งประเทศและขอเขา้ ศึกษาต่อในประเทศ นอกจากน้ี ยงั สามารถเทียบโอนความรู้ ทกั ษะ ประสบการณ์จากแหล่งการเรียนรู้อื่นๆ เช่น สถานประกอบการ สถาบนั ศาสนา สถาบนั การฝึ กอบรม อาชีพ การจดั การศึกษาโดยครอบครัว การเทียบโอนผลการเรียนควรดาเนินการในช่วงก่อนเปิ ดภาคเรียนแรก หรือตน้ ภาคเรียนแรก ท่ีสถานศึกษารับผูข้ อเทียบโอนเป็ นผูเ้ รียน ท้งั น้ี ผูเ้ รียนท่ีได้รับการเทียบโอนผลการเรียนตอ้ งศึกษา ต่อเน่ืองในสถานศึกษาท่ีรับเทียบโอนอย่างน้อย ๑ ภาคเรียน โดยสถานศึกษาที่รับผู้เรียนจาก การเทียบโอนควรกาหนดรายวชิ า/จานวนหน่วยกิตที่จะรับเทียบโอนตามความเหมาะสม การพิจารณาการเทียบโอน สามารถดาเนินการได้ ดงั น้ี ๑. พิจารณาจากหลกั ฐานการศึกษา และเอกสารอ่ืน ๆ ที่ให้ขอ้ มูลแสดงความรู้ ความสามารถ ของผเู้ รียน ๒. พิจารณาจากความรู้ ความสามารถของผู้เรียนโดยการทดสอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ท้ัง ภาคความรู้และภาคปฏิบตั ิ ๓. พิจารณาจากความสามารถและการปฏิบตั ิในสภาพจริง การเทียบโอนผลการเรียนใหเ้ ป็นไปตาม ประกาศ หรือ แนวปฏิบตั ิ ของกระทรวงศึกษาธิการ การบริหารจดั การหลกั สูตร สถานศึกษามีหนา้ ท่ีสาคญั ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา การวางแผนและดาเนินการใช้ หลกั สูตร การเพิ่มพนู คุณภาพการใชห้ ลกั สูตรดว้ ยการวจิ ยั และพฒั นา การปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตร จดั ทาระเบียบการวดั และประเมินผล ในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาตอ้ งพจิ ารณาให้สอดคลอ้ ง กบั หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน และรายละเอียดท่ีเขตพ้นื ท่ีการศึกษาหรือหน่วยงานตน้

๓๗ สังกดั อื่นๆ ในระดบั ทอ้ งถ่ินไดจ้ ดั ทาเพิ่มเติม รวมท้งั สถานศึกษาสามารถเพม่ิ เติมในส่วนท่ีเก่ียวกบั สภาพปัญหาในชุมชนและสงั คม ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน และความตอ้ งการของผูเ้ รียน โดยทุกภาคส่วนเขา้ มา มีส่วนร่วมในการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา เพื่อให้การบริหารจดั การหลกั สูตรสถานศึกษาบรรลุตามจุดหมายของหลกั สูตรโรงเรียนวิเวก ธรรมประสิทธ์ิวทิ ยา ไดก้ าหนดแผนปฏิบตั ิการเพื่อเป็นแนวปฏิบตั ิ ดงั น้ี ๑. ส่งเสริมและสนับสนุนระดบั สถานศึกษา สถานศึกษาเป็นหน่วยงานท่ีนาหลกั สูตรไปสู่การปฎิบตั ิใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุดแก่ ผเู้ รียนจึงจาเป็ นตอ้ งจดั มาตรการส่งเสริม สนบั สนุนการใชห้ ลกั สูตรในดา้ นต่างๆ ที่สาคญั ไดแ้ ก่ ๑.๑ การพฒั นาบุคลากร การพฒั นาบุคลากรมีความสาคญั มากต่อการพฒั นาหลกั สูตรและ ใชห้ ลกั สูตร ซ่ึงในที่สุดจะ ส่งผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน เพอื่ ส่งเสริมสนบั สนุนการพฒั นาและใช้ หลกั สูตรแบบอิงมาตรฐานใหป้ ระสบความสาเร็จ สถานศึกษาจะตอ้ งพฒั นาบุคลากรอยา่ งเป็นระบบ ต่อเนื่อง เนน้ การสร้างความเขา้ ใจแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษาใหป้ รับเปลี่ยนกระบวนทศั น์ในการ พฒั นาหลกั สูตร การจดั การเรียนรู้ รวมท้งั การวดั ประเมินผลโดยมีมาตรฐานและตวั ช้ีวดั เป็นเป้าหมาย การจดั การเรียนรู้แบบบูรณาการ การฝึกทกั ษะการทางานร่วมกนั เป็ นทีม รูปแบบการพฒั นาบุคลากร จะตอ้ งใชก้ ารนิเทศท้งั แบบกลุ่ม และเป็ นรายบุคคลโดยการสอนแนะ (Coaching) การศึกษาดูงาน การ ฝึกอบรม และจะตอ้ งไดร้ ับการประเมินผลเป็ นระยะ ๆ เพ่ือปรับปรุงการพฒั นาบุคลากรใหม้ ีคุณภาพ และประสิทธิภาพสถานศึกษากาหนดข้นั ตอนการพฒั นาบุคลากร ดงั น้ี ๑) มอบหมายใหม้ ีคณะทางานดา้ นการพฒั นาบุคลากร ซ่ึงตอ้ งดาเนินงานและมีบทบาทใน เรื่องน้ีอยา่ งจริงจงั และตอ่ เนื่อง ๒) ประเมินความตอ้ งการ ความจาเป็นในการพฒั นาบุคลากร และวางแผนการพฒั นา บุคลากรใหเ้ ป็นรูปธรรม ท้งั แผนระยะส้ันและแผนระยะยาว ๓) ดาเนินการพฒั นาบุคลากรตามแผน ซ่ึงอาจดาเนินการไดใ้ นหลายลกั ษณะ เช่น การ ประชุมสัมมนา การอบรมเชิงปฏิบตั ิการ การศึกษาดูงาน โดยเฉพาะเนน้ การพฒั นาครูผสู้ อนซ่ึงเป็น ตวั จกั รที่สาคญั ที่สุดในการนาหลกั สูตรไปใช้ ครูจะตอ้ งสามารถจดั การเรียนการสอนใหส้ อดคลอ้ งกบั ความมุ่งหมายของหลกั สูตร และการเลือกวธิ ีการสอนที่เหมาะสม สิ่งเหล่าน้ีเป็นปัจจยั สาคญั ที่จะ ส่งผลใหก้ ารนาหลกั สูตรไปใชบ้ รรลุเป้าหมาย ๔) ส่งเสริม สนบั สนุนใหม้ ีมุม หรือศูนยร์ วมความรู้เก่ียวกบั หลกั สูตรและการจดั การเรียนรู้ แบบอิงมาตรฐาน เพื่อการศึกษาคน้ ควา้ เพมิ่ เติมดว้ ยตนเอง ๕) ส่งเสริมให้ครูไดม้ ีโอกาสเขา้ อบรม แลกเปล่ียนความรู้อยา่ งตอ่ เน่ือง ผบู้ ริหารจะตอ้ งเป็น ที่ปรึกษาของครูในกรณีที่มีปัญหาทางดา้ นวชิ าการหรือบริหารจดั การ และควรจดั ใหม้ ีการประชุมเพ่ือ แกป้ ัญหา ตลอดจนแลกเปล่ียนความคิดเห็น และแสวงหาวธิ ีการใชห้ ลกั สูตรใหม้ ีประสิทธิภาพ

๓๘ ๑.๒ การสนบั สนุนงบประมาณ ทรัพยากร การพฒั นาหลกั สูตรและการจดั การเรียนรู้แบบอิง มาตรฐาน เป็ นการปรับกระบวนทศั นก์ ารจดั หลกั สูตรการสอนที่แตกตา่ งไปจากเดิม จาเป็นอยา่ งยง่ิ ที่ สถานศึกษาตอ้ งจดั ทรัพยากรและปัจจยั ที่เอ้ือต่อการส่งเสริมและสนบั สนุนใหเ้ กิดความสาเร็จต่อการนา หลกั สูตรไปใชอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ไดแ้ ก่ ๑) จดั สรรงบประมาณอยา่ งเพยี งพอสาหรับการพฒั นาหลกั สูตร และติดตามประเมินผล การใช้ หลกั สูตร รวมท้งั งบประมาณเพ่อื ใชใ้ นการพฒั นาบุคลากรและจดั ซ้ือวสั ดุ อุปกรณ์ตา่ งๆที่จะช่วย ส่งเสริมสนบั สนุนการจดั การเรียนรู้ใหม้ ีประสิทธิภาพ ๒) ส่งเสริมสนบั สนุนใหม้ ีสื่อวสั ดุอุปกรณ์และเอกสารต่างๆ อยา่ งเพียงพอเป็นปัจจุบนั และ สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการ ใหม้ ีหอ้ งเรียน สถานที่เรียน และหอ้ งพเิ ศษตา่ งๆ อยา่ งเพียงพอ เช่น ห้อง ปฏิบตั ิการทางวทิ ยาศาสตร์ หอ้ งเรียนคอมพวิ เตอร์ โรงฝึ กงาน หอ้ งสมุด แหล่งเรียนรู้ท่ีหลากหลาย หอ้ ง ประชุมขนาดต่าง ๆ สนามกีฬา และสถานที่ปฏิบตั ิธรรม เป็นตน้ ๓) จดั สรรการใชท้ รัพยากรของสถานศึกษาไดอ้ ยา่ งเหมาะสมและคุม้ ค่า โดยเฉพาะดา้ นการ ใชอ้ าคารสถานท่ีตา่ ง ๆ เช่น คานึงถึงขนาดของหอ้ งเรียนและจานวนห้องเรียน หอ้ งสมุด ที่เอ้ืออานวย ใหก้ ารเรียนการสอนมีประสิทธิภาพ และบรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมายท่ีตอ้ งการ ๔) บริหารทรัพยากรบุคลากรอยา่ งมีประสิทธิภาพ เช่น การจดั ครูเขา้ สอนเป็ นสิ่งท่ีจะตอ้ ง พิจารณาอยา่ งรอบคอบ เพราะครูจะเป็นผทู้ ่ีมีบทบาทอยา่ งมากในการจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ จึงควร จดั ใหค้ รูไดส้ อนตรงตามความรู้ความสามารถ และความถนดั รวมท้งั การพฒั นาครูอยา่ งต่อเน่ืองตลอด เวลา ๑.๓ การดาเนินงานแบบมีส่วนร่วม การจะส่งเสริมใหก้ ารจดั ทาและใชห้ ลกั สูตรเป็นไปอยา่ งมี คุณภาพและประสิทธิภาพ ตอ้ งคานึงถึงการมีส่วนร่วมของฝ่ ายตา่ งๆ ภายในสถานศึกษา และสร้าง เครือข่ายระหวา่ งสถานศึกษา ๑) ใหฝ้ ่ ายตา่ งๆ ท้งั ผปู้ กครอง ชุมชน ผบู้ ริหาร ครู และนกั เรียนซ่ึงเป็นผไู้ ดร้ ับผลโดยตรงจาก การใชห้ ลกั สูตร ไดม้ ีส่วนร่วมในการวางแผน พฒั นาหลกั สูตร และตรวจสอบคุณภาพการจดั การศึกษา ๒) ผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ้ งสร้างบรรยากาศการร่วมคิด ร่วมทา สถานศึกษาควรจดั สรรเวลา ใหค้ รูไดว้ างแผนการจดั การเรียนรู้ร่วมกนั มีการพูดคุย แลกเปลี่ยนประสบการณ์กนั ทางานโดยใช้ กระบวนการกลุ่ม พยายามลดภาระงานอ่ืนๆ ของครู โดยใหม้ ุง่ ท่ีงานสอนเป็ นหลกั ๓) สร้างเครือข่ายใหเ้ กิดการมีส่วนร่วม และการระดมทรัพยากรเพ่ือการศึกษา ซ่ึงอาจเป็น เครือข่ายภายใน เช่น เครือขา่ ยผปู้ กครอง หรือเครือข่ายภายนอก เช่นเครือข่ายสถานศึกษา เครือขา่ ย หน่วยงานท้งั ภาครัฐและเอกชน ซ่ึงสามารถจะสนบั สนุนและส่งเสริมใหม้ ีทรัพยากรและปัจจยั เพ่มิ ข้ึน ในการบริหารจดั การหลกั สูตรใหม้ ีคุณภาพและประสิทธิภาพ

๓๙ ๑.๔ การส่งเสริมสนบั สนุนทางวชิ าการ ความสาเร็จในการพฒั นาหลกั สูตรและการจดั การ เรียนรู้ข้ึนอยกู่ บั บรรยากาศทางวชิ าการ ซ่ึงสถานศึกษาจะตอ้ งส่งเสริมและสนบั สนุนใหเ้ กิดข้ึน โดย ดาเนินการ ดงั น้ี ๑) จดั ระบบการบริหารงานทางวชิ าการที่มีประสิทธิภาพ ท้งั เร่ืองการจดั กลุ่มผเู้ รียนและ โครงการท่ีจะส่งเสริมการเรียนรู้และคุณธรรม การจดั ตารางสอนของสถานศึกษา การลงโทษและให้ รางวลั ผเู้ รียน ๒) สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ ท้งั หอ้ งสมุด แหล่งการเรียนรู้ มุมคน้ ควา้ แก่ครูผสู้ อนและ นกั เรียน การพฒั นาส่ืออุปกรณ์การเรียนการสอน ๓) สนบั สนุนใหม้ ีระบบขอ้ มูลพ้ืนฐานท่ีจาเป็ นเพ่ือใชใ้ นการพฒั นาหลกั สูตร รวมท้งั ขอ้ มูลเกี่ยวกบั สภาพความเป็ นอยู่ ทรัพยากร เศรษฐกิจ อาชีพ และความตอ้ งการของทอ้ งถ่ิน เพอื่ อานวยความสะดวกในการจดั การเรียนรู้ ครูสามารถนาสภาพปัญหาตา่ งๆ บูรณาการเขา้ สู่ กระบวนการเรียนรู้ในห้องเรียน ๔) ส่งเสริมสนบั สนุนใหม้ ีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหวา่ งครูและบุคลากรทางการศึกษา เพ่อื บริหารจดั การความรู้ในส่วนท่ีเป็นประสบการณ์ในตวั ครู นามาใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์ในการจดั การ เรียนรู้หรือบริหารช้นั เรียนอยา่ งเหมาะสม อีกท้งั เป็นการส่งเสริมใหม้ ีการพฒั นาทกั ษะกระบวนการ ทางานเป็ นทีม ๕) ส่งเสริมสนบั สนุน ใหม้ ีการนาเสนอหรือเผยแพร่ผลงานทางวชิ าการ เพ่ือถ่ายทอด ประสบการณ์ใหเ้ พ่ือนครู และบุคลากรทางการศึกษา ไดเ้ รียนรู้นวตั กรรมใหม่ๆ อีกท้งั ยงั เป็นการ ส่งเสริมความเป็นนกั วชิ าการแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาอีกดว้ ย ๒. การกากบั ดูแลคุณภาพระดบั สถานศึกษา เพือ่ สร้างความมน่ั ใจแก่พอ่ แม่ ผปู้ กครอง และชุมชนวา่ ผเู้ รียนไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ี คุณภาพตามที่คาดหวงั ตามที่กาหนดในมาตรฐานการเรียนรู้ และเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชนตามความคาด หวงั ของสถานศึกษา การกากบั ดูแลคุณภาพของการพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาและการนาหลกั สูตรไป ใชจ้ ึงเป็นส่ิงจาเป็ น สถานศึกษาสามารถดาเนินการไดห้ ลายแนวทาง ไดแ้ ก่ ๒.๑ การนิเทศ ติดตาม การใชห้ ลกั สูตร การนิเทศ ติดตามการใชห้ ลกั สูตร เป็นกระบวนการ สาคญั ที่สถานศึกษาใชใ้ นการควบคุมคุณภาพ โดยใชเ้ ทคนิควธิ ีการท่ีหลากหลาย ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั วตั ถุประสงคข์ องการติดตาม เช่น การตรวจเยยี่ มและการสังเกตการณ์ในช้นั เรียน การสอนแนะ (Coaching) การตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ การบนั ทึกรายงานหลงั การสอน การประเมินผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียน เป็นตน้ สถานศึกษาควรจดั ใหม้ ีแผนนิเทศ กากบั ติดตาม การใชห้ ลกั สูตรอยา่ งเป็นระบบ ดาเนินการใหก้ ระบวนการนิเทศเป็นวฒั นธรรมในการปฏิบตั ิงานของครูและบุคลากรทางการศึกษา บน พ้ืนฐานความรู้สึกท่ีเป็นกลั ยาณมิตร มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้ซ่ึงกนั และกนั และยอมรับการเปล่ียนสถาน

๔๐ ภาพระหวา่ งการเป็นผูน้ ิเทศและเป็นผรู้ ับการนิเทศ ซ่ึงจะเกิดข้ึนไดต้ ลอดเวลาเพ่ือใหเ้ กิดระบบการนิเทศ ติดตาม ท่ีเป็นกลั ยาณมิตรดงั กล่าวแลว้ ควรดาเนินการดงั น้ี ๑) ร่วมกนั กาหนดความตอ้ งการในการรับการนิเทศ หรือกากบั ติดตาม เพ่ือเฝ้าระวงั มิให้ คุณภาพการจดั ทาและใชห้ ลกั สูตรเกิดปัญหา อุปสรรคและส่งผลกระทบตอ่ คุณภาพผเู้ รียน ๒) สร้างความเขา้ ใจและทศั นคติเก่ียวกบั การนิเทศ ติดตามการใชห้ ลกั สูตรในเชิงบวกแก่ครู และบุคลากรทางการศึกษาวา่ มิไดเ้ ป็นกระบวนการจบั ผดิ แต่เป็นกระบวนการดูแล ช่วยเหลือ เพื่อให้ การใชห้ ลกั สูตรที่มีคุณภาพและประสิทธิภาพ ๓) กาหนดขอ้ ตกลงเพ่อื การขบั เคล่ือน การนิเทศติดตามร่วมกนั และมีแผนการดาเนินการอยา่ ง ชดั เจน เป็นรูปธรรม ๔) ผบู้ ริหารสถานศึกษาตอ้ งดาเนินการใหม้ ีการนิเทศ ติดตาม อยา่ งเป็นระบบ ครบวงจร ท้งั ใน ระดบั ช้นั เรียน ระดบั สถานศึกษา อยา่ งต่อเนื่องและครอบคลุม ๒.๒ การประกนั คุณภาพภายใน พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พุทธศกั ราช ๒๕๔๒ กาหนดใหส้ ถานศึกษามีการจดั ระบบการประกนั คุณภาพภายใน และการเตรียมความพร้อมสาหรับ ประกนั คุณภาพภายนอก เป็นระบบควบคุมคุณภาพการศึกษาที่สถานศึกษาตอ้ งใชเ้ ป็นกลไกสาคญั ในการสร้างความมน่ั ใจต่อพอ่ แมผ่ ปู้ กครอง และชุมชนวา่ จะสามารถจดั การศึกษาอยา่ งมีคุณภาพ สถานศึกษาตอ้ งจดั ระบบประกนั คุณภาพที่เนน้ การพฒั นาคุณภาพผเู้ รียน ดงั น้นั ตอ้ งมีการดาเนินการ ประกนั คุณภาพอยา่ งต่อเนื่อง โดยมีแผนพฒั นาคุณภาพ มีเป้าหมายการพฒั นาที่ชดั เจน แผนปฏิบตั ิการ ตอ้ งเนน้ ผลคุณภาพผเู้ รียน มีการรายงานผลเป็ นระยะๆ อยา่ งตอ่ เน่ือง และนาผลมาใชใ้ นการพฒั นา หลกั สูตรการเรียนการสอน ๒.๓ การวจิ ยั และติดตามผลการใชห้ ลกั สูตร การวจิ ยั จะเป็นที่มาของขอ้ มูลขา่ วสารที่แม่นตรง แสดงจุดแขง็ จุดอ่อน ปัญหา สาเหตุ และแนวทางปรับปรุงพฒั นาใหส้ ถานศึกษาสามารถจดั หลกั สูตร การเรียนการสอนไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพดงั น้นั สถานศึกษาควรดาเนินการวจิ ยั ดงั น้ี ๑) การวจิ ยั พฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษา มุง่ เนน้ การวจิ ยั เพ่ือนาผลมาประกอบการพิจารณา ปรับปรุงหลกั สูตรสถานศึกษาใหเ้ หมาะสม สอดคลอ้ งกบั ผเู้ รียน และความตอ้ งการของผปู้ กครอง ชุมชน ๒) การวจิ ยั ประเมินผลการใชห้ ลกั สูตร การประเมินผลการใชห้ ลกั สูตรเป็ นส่วนสาคญั ส่วน หน่ึงของกระบวนการพฒั นาหลกั สูตร ซ่ึงสถานศึกษาจะตอ้ งมีความตระหนกั ในการปรับปรุงหรือ พฒั นาหลกั สูตรอยา่ งต่อเน่ือง เพ่อื เป็ นหลกั ประกนั วา่ ผูเ้ รียนจะไดร้ ับการพฒั นาท้งั ดา้ นสติปัญญา ร่างกาย คุณธรรม บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ระดบั ชาติ และสามารถดารงชีวติ ในสงั คมไดอ้ ยา่ งมี ความสุข กระบวนการประเมินผลการใชห้ ลกั สูตรสามารถดาเนินการไดท้ ้งั ระหวา่ งการใชห้ ลกั สูตร และ เมื่อนาหลกั สูตรไปใชเ้ รียบร้อยแลว้ หรือการติดตามจากผลผลิตของหลกั สูตร คือ ผเู้ รียนที่จบการศึกษา ตามหลกั สูตรนน่ั เองเพอื่ ใหก้ ารประเมินผลการใชห้ ลกั สูตรบรรลุเป้าหมายของการควบคุมคุณภาพ

๔๑ สถานศึกษาควรจดั ใหม้ ีการประเมินท้งั ระบบ คือ ๑) กาหนดใหม้ ีการประเมินการใชห้ ลกั สูตร เป็นกิจกรรมหลกั ของสถานศึกษา ๒) สร้างความเขา้ ใจเก่ียวกบั การประเมินการใชห้ ลกั สูตรดว้ ยตนเองใหเ้ กิดข้ึนกบั คณะครู ๓) วางระบบเครือข่ายการทางาน และมอบหมายงานการประเมินใหค้ ณะผปู้ ฏิบตั ิงานแต่ละ คณะดาเนินการประเมินเป็ นระยะๆ โดยกาหนดใหช้ ดั เจนวา่ คณะใดตอ้ งประเมินรายการใดบา้ ง ๔) สรุปผลการประเมิน และนาผลการประเมินมาปรับปรุงและพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา การประเมินผลการใชห้ ลกั สูตรมีแนวทางการดาเนินการท่ีสาคญั คือ พิจารณาองคป์ ระกอบของหลกั สูตร ที่จะประเมิน พิจารณาหลกั เกณฑท์ ่ีจะใชใ้ นการประเมิน ออกแบบการจดั เกบ็ ขอ้ มูลดาเนิน การเก็บ รวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์ขอ้ มูล เพ่ือใชพ้ จิ ารณาตดั สินใจในการปรับปรุงหลกั สูตรตอ่ ไปสาหรับประเดน็ ในการประเมินน้นั สามารถประเมินไดท้ ้งั เร่ืองปัจจยั ท่ีมีผลตอ่ การใชห้ ลกั สูตร กระบวนการใชห้ ลกั สูตร และผลจากการใชห้ ลกั สูตร อยา่ งไรกต็ าม สถานศึกษาควรมุง่ เนน้ การประเมินส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งต่อ คุณภาพของผเู้ รียนเป็นสาคญั และควรคานึงถึงท้งั ผลสมั ฤทธ์ิการเรียนรู้และคุณลกั ษณะของผเู้ รียน สถานศึกษาจะตอ้ งใหค้ วามสาคญั โดยนาผลการประเมินระดบั สถานศึกษา ระดบั เขตพ้ืนที่การศึกษา และระดบั ชาติ เช่น ผลคะแนน NT, O-NET, A-NET มาพิจารณาท้งั ผลการประเมินในภาพรวม และ ผลการประเมินที่แยกรายวชิ า และแยกรายมาตรฐาน หากผลการประเมินไมเ่ ป็ นไปตามเป้าหมายที่ คาดหวงั ควรศึกษาวเิ คราะห์เพ่ือคน้ หาสาเหตุท่ีแทจ้ ริง ซ่ึงสาเหตุยอ่ มเกิดมาจากปัจจยั และกระบวนการ ใชห้ ลกั สูตรนน่ั เอง จากน้นั จึงหาวธิ ีแกป้ ัญหาเพ่ือพฒั นาคุณภาพตอ่ ไป


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook