Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore งานที่ 1 ทักษะทางสังคม

งานที่ 1 ทักษะทางสังคม

Published by dudeelovedive, 2021-05-31 08:26:24

Description: งานที่ 1 ทักษะทางสังคม

Search

Read the Text Version

สาขาวชิ าศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั สโุ ขทยั ธรรมาธิราช แขนงวิชาการแนะแนวและการปรกึ ษาเชิงจิตวิทยา ชุดวิชา 25713 การสัมมนาทางการแนะแนวและการปรึกษาเชงิ จิตวิทยา รายงานฉบบั ท่ี 1 ภาคการศึกษาท่ี 2 / 2563 เรือ่ ง ทกั ษะทางสงั คมของนักเรยี นออทิสตกิ ช่อื /สกลุ นักศึกษา นางสาววฤนพร แซตัน รหัสประจาํ ตัวนักศกึ ษา 2632800088 วนั ที่เขา รับการสมั มนาเสรมิ ครัง้ ท่ี 1 (e – learning)

งานที่ 1 ชดุ วิชา 25713 การสมั มนาทางการแนะแนวและการปรึกษาเชงิ จติ วทิ ยา 1) ตวั แปรตาม/ตัวแปรท่ศี ึกษา ทางการแนะแนวหรอื การปรกึ ษาเชิงจติ วทิ ยาทท่ี นั สมัย “ทักษะทางสังคมของนักเรยี นออทสิ ตกิ ” 2) เพราะเหตุใดนักศึกษาจึงสนใจที่จะศกึ ษา นวตั กรรมหรือองคความรใู หมท ไี่ ดจากการศกึ ษาคอื อะไร - เพราะเหตใุ ดนกั ศกึ ษาจงึ สนใจทีจ่ ะศึกษา เดก็ ออทิสติกเปนหนึ่งในประเภทของเด็กพิเศษ ปญหาทีพ่ บในเดก็ ออทสิ ติก คือปญหาในเรื่องของ ปฏิสัมพันธทางสังคม กลาวคือ เด็กไมมีความสนใจรวมกับผูอื่น ไมสบตา ไมสนใจ ขาดทักษะในการอยูร วมกับผูอื่น และไมสามารถสรางความสัมพันธกับผูอื่นได สิง่ เหลา นี้ถือเปนความบกพรองทางดานทักษะทางสงั คม ทําใหเด็กไม สามารถที่จะสื่อสารกับคนรอบขางและสังคมซ่ึงเปนลักษณะสําคัญของภาวะออทิสซึม และการจัดการศึกษาพิเศษ สาํ หรับนักเรียนออทิสติกนั้นก็เหมือนกับการจัดการศกึ ษาพิเศษใหแกเด็กทม่ี ีความตองการพิเศษประเภทอ่ืน ๆ ซ่งึ ใน ปจจบุ ันเด็กออทิสติกไดรับการยอมรับจากสงั คมมากข้ึน รวมท้งั ประเทศไทยไดมีกฎหมายที่กําหนดใหเด็กทุกคนตอ ง ไดรับโอกาสทางการศึกษาอยางเทาเทียมกันตามพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาสําหรับคนพิการ พ.ศ.2551 ทําให เด็กนักเรียนที่มีความตองการจําเปนพิเศษและนกั เรียนออทิสติกสามารถเขารบั การศึกษาไดมากขึ้น เพราะฉะนั้น ทักษะทางสังคมจึงเปนส่ิงท่ีสําคัญอยา งมากสําหรบั เดก็ กลุมน้ี เนื่องจากเด็กกลุมน้ีมีความบกพรองทางดานการสอื่ สาร และดานความสัมพันธกับผูอ่ืน ดงั นั้น การสงเสริมทักษะทางสังคมในเด็กออทิสติกจึงเปนสิ่งจําเปน โดยเร่ิมสอนจาก ทักษะทางสังคมพื้นฐาน เชน การสอบตากับคูสนทนา การเลน การมีความตั้งฟง การแสดงความยินดีกับผูอื่น การ ทาํ งานรว มกับผูอ่ืน เปน ตน ทักษะทางสังคม (Social Skills) เปนกลมุ ของทักษะตาง ๆ ทีใ่ ชใ นการปฏิสัมพันธและการส่ือสารระหวาง กันในสังคม อันไดแก ทักษะการส่ือสาร การพูด การฟง การทาํ งานรว มกันเปนทีม ฯลฯ รวมทั้งความสามารถในการ เขา ใจถงึ สถานการณท ่ีหลากหลาย - นวัตกรรมหรือองคค วามรูใหมที่ไดจ ากการศกึ ษาคืออะไร จากการศึกษาและทบทวนวรรณกรรม และจากสภาพปญหาของนักเรียนออทิสติก จึงไดเห็นปญหาการ ปฏิสัมพันธทางสังคมของนักเรียนออทิสติกไดชัดเจน ซ่ึงนวัตกรรมหรือองคความรูใหมท่ีไดจากการศึกษาในครั้งน้ีคือ รูปแบบ วิธีการ ข้ันตอนและเทคนิคในการชวยใหนักเรียนสามารถมีทักษะทางสังคมท่ีดีข้ึน เพื่อจะไดรวมมือกัน สนับสนุนและสงเสริมเพื่อพัฒนานักเรียนใหมีทักษะทางสังคมท่ีดีขึ้น และสามารถใชชีวิตอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางมี ความสุข 3) สภาพปจ จุบนั สภาพท่พี งึ ประสงคท ่ีเก่ียวขอ งกบั ตัวแปรตาม/ตวั แปรท่ศี ึกษานั้น ออทิสติก (Autistic) เปนหน่ึงในประเภทของบุคลลพิการท่ีทางรัฐไดเล็งเห็นและใหความสําคัญในดาน การศึกษาเพ่ือชวยพัฒนาเด็กกลุมน้ีใหมีพัฒนาการในดานตาง ๆ แบบเด็กปกติทั่วไปทั้งการเรียนรูและการเขาสังคม เพอื่ ใหเ ด็กสามารถชว ยเหลือตนเองในการดาํ เนินชีวิตประจําวนั ไดแบบปกติชนทว่ั ไป เนื่องจากในปจ จุบนั ประเทศไทย มีอัตราการเกิดเด็กออทิสติกเพ่ิมข้ึนเปนจํานวนมากและมีแนวโนมท่จี ะสูงขึ้นในทุก ๆ ป จากผลการสํารวจผูปวยที่มี ภาวะออทสิ ซึม่ ในประเทศไทย และออทิสติก เปน ภาวะความผิดปกตขิ องรา งกายในทางดานพัฒนาการอยางรุนแรง ที่ สงผลตอพัฒนาการที่ลาชาดา นตา ง ๆ ทง้ั ในดานรางกาย ภาษา การส่ือสาร การปฏิสัมพันธทางสังคมและพฤติกรรม ซ่ึงเปนผลมาจากความผิดปกติในการทํางานของระบบประสาทบางสวน ทาํ ใหเกิดผลกระทบตอการทํางานของระบบ ประสาทท่ีไมสัมพันธกับสวนตาง ๆ ของรางกายตนเอง โดยเด็กไมสามารถท่ีจะมีปฏิสัมพันธกับผูอื่นไดและมีการ

พัฒนาการที่ลา ชากวาเด็กปกติทัว่ ไป จะมีการแสดงอาการของความผิดปกติไดห ลายรูปแบบท่ีแตกตางกันออกไป อัน สง ผลกระทบตอการดําเนินชีวิตประจําวนั เด็กออทิสตกิ ท้ังน้ี ทักษะทางสังคมซึ่งเปนทักษะพ้ืนฐานท่จี ําเปนในการดําเนินชีวติ ก็เปนอีกขอบกพรองของเดก็ ออทิสติกที่ สงผลตอการอาศัยอยูในสังคมปจจุบัน โดยเฉพาะอยางย่ิงในดานการสรางปฏิสัมพันธอันดีกับบุคคลอ่ืน การสื่อสาร การอยูรวมกับบุคคลอ่ืนและพฤติกรรมท่ีแสดงออกมาอยางไมเหมาะสมตามสถานการณตาง ๆ ทักษะสังคมเปนกลุม ทกั ษะที่สําคัญอีกกลุมหนึ่งซึ่งเปนสวนประกอบสําคญั ของทักษะชวี ิตที่เกี่ยวกับการดาํ เนนิ ชีวิตของคนในแตละสังคม ที่ซ่ึงจะตองใชความสามารถในการปรับตัวใหสามารถเขาไปอยูรวมกับบุคคลอื่นในสังคมได ความบกพรองของเด็ก ออทิสติกดานพฤติกรรมทางสังคมทั้งในดานการแยกตัวออกจากสังคม การเมินเฉยกับสิ่งรอบขาง การเขินอาย ดว ยความบกพรอ งนีท้ าํ ใหเดก็ ออทสิ ติกไมสามารถที่จะเลนรว มกบั กลุมเพ่ือนได สงผลใหการยอมรับทางสงั คมของเด็ก ออทิสตกิ แตกตางจากบุคคลปกติท่วั ไป 4) แนวคดิ ทฤษฎี และปจ จัยทเ่ี กยี่ วของตัวแปรตาม/ตวั แปรท่ีศกึ ษานน้ั 4.1 แนวคดิ ทฤษฎีเกี่ยวกับทักษะทางสงั คม - ความหมายของทกั ษะทางสังคม - ความสําคญั ของทักษะทางสังคม - ทฤษฎีท่ีเก่ยี วกบั ทกั ษะทางสงั คม 4.2 แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกบั เด็กออทสิ ติก - ความหมายของเด็กออทสิ ตกิ - ลกั ษณะและอาการของเดก็ ออทสิ ตกิ 4.1 แนวคดิ ทฤษฎเี กยี่ วกบั ทกั ษะทางสงั คม ความหมายของทกั ษะทางสังคม คําวา “ทกั ษะทางสังคม” ตรงกับภาษาอังกฤษวา “Social Skills” หมายถึง ทักษะในการอยูรวมกันเปนหมู คณะ ซ่ึงหากพิจารณาตามความหมายแตละคําจากพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542 สําหรับคําวา “ทักษะ” หมายถึง ความชํานาญ สวนคําวา “สังคม” หมายถึง คนจํานวนหนึ่งที่มีความสัมพันธตอเนื่องกันตาม ระเบยี บกฎเกณฑโ ดยมวี ัตถุประสงครว มกันและเม่ือนําทั้ง 2 คาํ มารวมกัน เปน คาํ วา ทกั ษะสังคมหรือทักษะทางสังคม จะหมายถึงการรจู ักสรางปฏิสัมพันธที่ดีกับผูอ่ืนหรือการมีทักษะในการอยูรวมกันเปนหมูคณะสําหรับคํานยิ ามของคํา วาทกั ษะทางสงั คม มนี ักวชิ าการหลายทา นไดใ หความหมายในแงม ุมตา ง ๆ ไวอยา งนาสนใจดังน้ี Westwood (2003) ไดใหความหมายทักษะทางสังคมไววา พฤติกรรมเฉพาะบุคคลท่ีแสดงออกเพื่อการ ส่ือสารและมีปฏิสัมพันธ (เชงิ บวก) กับผอู ืน่ ศศินันท ศิริธาดากุลพัฒน (2552) ไดใหความหมายทักษะทางสังคมไววา ความสามารถของบุคคลในการ ติดตอ สื่อสารกับบุคคลอ่ืนที่เหมาะสม มีความรับผิดชอบตามบทบาทและหนาท่ี สามารถดําเนินกิจกรรมหรือทํางาน รว มกบั บคุ คลอ่นื ไดอ ยางมคี วามสขุ และสามารถสรางประโยชนใ หเ กิดข้ึนกับสวนรว มได เกรียงศักด์ิ เจริญวงศศักด์ิ (2556) ไดใ หความหมายทักษะทางสังคมไววา เปนกลุมของทักษะตาง ๆ ที่ใชใน การปฏิสัมพันธและการส่อื สารระหวางกันสังคม อนั ไดแ ก ทักษะการสอื่ สาร การพดู การฟง การทาํ งานรวมกนั เปนทีม ฯลฯ รวมท้ังความสามารถในการเขาถึงสถานการณที่หลากหลาย กฎกตกิ าตาง ๆ ในสังคม ความสามารถในการรูจัก

ผอู น่ื และการคดิ คาํ นึงถึงคนรอบขางอยา งเขาอกเขา ใจ โดยมวี ัตถปุ ระสงคเพ่ือสรางความสัมพันธในทางบวกใหเกิดขึ้น เปน ทักษะท่สี าํ คัญและจาํ เปน สําหรับทุกเพศทุกวัย ทั้งวยั เด็กทตี่ องการพึ่งพา การเรยี นรูสง่ิ ใหมใ นชีวติ วัยรุนท่ีตอ งการ ยอมรบั จากเพื่อนฝูงคนรอบขาง วัยผใู หญท ี่เร่มิ สรางครอบครัวและตองการความสาํ เรจ็ ในหนาทีก่ ารทํางาน ทักษะทาง สงั คมเปน ทกั ษะทจ่ี ําเปนตอ งไดร บั การฝกฝนอยา งเปนระบบเชนเดยี วกับทกั ษะอน่ื ๆ ความสําคัญของทักษะทางสงั คม ทักษะทางสังคมเปนพ้ืนฐานท่ีสําคัญย่ิงตอการดํารงชีวิตอยใู นสังคมสามารถปรับตัวอยูกับสภาพแวดลอมทาง สังคมที่แตกตางกันออกไป การอยูรวมกับบุคคลอ่ืนและการทํางานรวมกันเพ่ือบรรลุเปาหมายท่ีวางเอาไว โดย ความสาํ คัญของทักษะสงั คม มดี งั นี้ (สขุ มุ าล เกษมสขุ , 2535) 1. ความสําคัญดานบุคคล ชวยใหแตละบุคคลสามารถปรับตัวในการดํารงชีวิตในสังคมตาง ๆ ไดอยางมี ความสุข หากวา ความแตกตางของสภาพแวดลอมทางสังคมท่ีแตกตางกันมาก ทักษะทางสังคมของแตละบุคคลย่ิงมี ความสาํ คัญอยางย่งิ ในการปรับตัวใหเขากับสภาพแวดลอม การสรา งปฏสิ มั พนั ธกับบุคคลอนื่ การสือ่ สารใหผ อู ื่นเขาใจ การสามารถทํางานรวมกับผูอ่ืนและการชวยแกไขปญหาของตนเองและสังคม ส่ิงนเี้ ปนลักษณะการมีทักษะทางสังคม ดา นบคุ คลท่ดี ี อันจะนําไปสคู วามสําเร็จในการดําเนนิ ชีวติ ในสังคมทไี่ ดอยูอาศัย 2. ความสําคัญดานสังคม สังคมที่มีความเจริญกาวหนาเปนท่ีนาอยูอาศัยและการมีความสุขของทุกคนใน สังคมหากสมาชิกในสังคมเปนผูท่ีมีทักษะทางสังคมท่ีดี รูจักเสียสละประโยชนสวนตนเพื่อสวนรวม การคิดริเริ่ม สรางสรรค รวมกันคิดรว มกันทาํ ในการพฒั นาและการชวยเหลือกันในการดูแลสังคมที่อยูใหสงบสุข ส่ิงนี้จะเปน สิง่ ชว ย ใหสังคมท่ีเปนอยูเจริญกาวหนาตอไป ในทางกลับกันหากสมาชิกในสังคมเปนผูที่มีทักษะทางสังคมในทางลบ ยอม กอใหเ กิดปญหาตาง ๆ ในสังคมอยา งมากมายสงผลใหเ ปน สังคมทไี่ มสงบสุขและมคี วามเสอื่ มถอยทางสังคมได พรศริ ิ บรรจงประเสริฐ (2552) ไดก ลาวถึงความสําคญั ของการเสริมสรางทักษะทางสังคมไววาเปนทักษะท่ีมี ความสําคัญทั้งดานการพูด ทาทางและการกระทํา แสดงถึงความรูสึกนึกคิดและพฤติกรรมในสถานการณตาง ๆ ให สามารถปรับตวั และอยูรวมกับบคุ คลอื่นในสงั คมไดอยา งมีความสขุ กุลยา กอสุวรรณ (2553) ไดกลาวถึงความสําคัญของการเสริมสรางทักษะทางสังคมไววาเปนทักษะที่จําเปน ตอการดําเนินชวี ติ ของมนษุ ยท กุ คน เนอื่ งจากทักษะทางสงั คมเปน ปจ จยั ท่ีทาํ ใหบ คุ คลในสังคมยอมรบั กระทรวงศึกษาธิการ (2554) ไดกลาวถึงความสําคัญของทักษะทางสังคม วาผูเก่ียวของไมวาจะเปนพอแม และครู ควรปลูกฝงทักษะทางสังคมใหเกิดขึ้นกับเด็ก รวมกับทักษะดานอ่ืน ๆ อยางเหมาะสม เพ่ือเปนใบเบิกทาง สําคัญสคู วามสุขความสําเร็จของเด็กตอไปในอนาคต รวมทัง้ เพื่อการปฏิบัตติ อกันในสังคมอยางถูกตองเหมาะสมอัน เปนเหตทุ ่ีนํามาซงึ่ ความสงบสุขของสังคมในภาพรวม จากการศกึ ษาความสําคญั ของการเสริมสรางทักษะทางสังคมท่ีกลาวมาขางตนสามารถสรุปไดวา ทักษะทาง สังคมน้มี ีความจําเปนตอบุคคลทุก ๆ คนในเพศทุกวัย ทั้งในวัยเด็กซึ่งเปนวัยท่ีตอ งการการพึ่งพาและการช้ีนําจากคน รอบตัวในการเรียนรสู ิ่งใหมๆ ในชีวิต วัยรุน เปนวัยท่ีตองเรียนรสู ิ่งรอบตัวและตองการการยอมรับจากคนในสังคม วัย ผูใหญ เปนวัยที่ตองทําพบปะผูคนมากมายในการทํางานเพ่ือใชในการเล้ียงชีพและตองการความสําเร็จในการสราง ครอบครัวใหมีความสุข จะเห็นไดวาทักษะทางสังคมนั้นมคี วามสําคัญและจําเปนอยางยงิ่ ที่ควรจะไดร บั การเรยี นรแู ละ ฝกฝนอยา งเปนระบบ เพื่อใหสามารถปรับตัวกับสถานการณที่เปล่ียนแปลงในสังคม ประสบความสําเร็จในสิ่งท่ีตั้งใจ ทําและสามารถอยรู ว มกนั ในสงั คมอยา งมีความสขุ

ทฤษฎีทีเ่ กย่ี วกับทักษะทางสงั คม ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษยต ามแนวคิดของสกนิ เนอร ทฤษฎีพฤติกรรม (Behaviorism) ตามแนวคิดของสกินเนอร เชื่อวามนุษยตกอยูภายใตอิทธิพลของ ส่ิงแวดลอม ซง่ึ ส่ิงแวดลอมในที่น้ีรวมถึงสภาพทางภูมิศาสตรแ ละสภาพสังคมยกตัวอยางเชน คนทีอ่ ยูในชนบทอาจจะ เฉื่อยชากวาคนที่อยูในเมือง หรือเด็กท่ีอยูในครอบครัวที่ อบอุน มักจะมีความเปนตัวของตัวเองสูง รวมถึงการมี พฒั นาการทเ่ี หมาะสมตามวยั จะเห็นไดว าธรรมชาติของมนุษยนั้นเปนผลิตผลผลจากการท่ีมนุษยม ีปฏกิ ิรยิ าโตตอบกับ สิ่งแวดลอม ซึง่ สกินเนอรเคยกลาวไวว า “ ถาเขาสามารถควบคุมส่ิงแวดลอมได เขาก็สามารถท่ีจะกําหนดพฤติกรรม ของมนุษยใหเปนไปตามที่เขาตองการทุกประการ” ฉะน้ัน สรุปไดวาพฤติกรรมของมนุษยลวนตกอยูภายใตอิทธิพล ของสงิ่ แวดลอม (ถวิล ธาราโภชน และศรันย คาํ วสิ ุข, 2544) จากทฤษฎีพฤติกรรมมนุษยตามแนวคิดของสกินเนอร สรุปไดวา พฤติกรรมของมนุษยท่ีแสดงออกมี ความสมั พันธก บั ส่ิงแวดลอ ม การจะเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมตา ง ๆท้งั พฤตกิ รรมที่พึงประสงคและไมพึงประสงค ตองใช ระยะเวลายาวนานในการบมเพาะ การหลอหลอมพฤติกรรมน้ันเริม่ มาจากสถาบันครอบครัวทเี่ ปนแบบอยาง หากเด็ก ไดอยูในครอบครัวที่อบรมส่ังสอนดี ผูปกครองใหความสนใจและเอาใจใส อยูในสภาพแวดลอมที่ดี เด็กก็จะเติบโตเปน ผูใหญท่ีดี มคี ุณภาพ ท้ังนี้การใหแรงเสริม เชน การชมเชย การใหรางวัลจะเปนตวั ชว ยสนับสนุนใหเกิดพฤตกิ รรมท่พี ึง ประสงคไดม ากยง่ิ ขน้ึ ทฤษฎจี ิตสงั คมของอรี ิคสนั (Erikson) ทฤษฎีของอีริคสนั น้มี ีพน้ื ฐานมาจากทฤษฎีจิตวิเคราะหข องฟรอยด (Freud) แตจะเนน การศึกษากระบวนการ ทางสังคมวามีอิทธิพลตอการหลอหลอมทางบุคลิกภาพ จากแนวคิดนี้จะเห็นไดวาแนวคิดของอีริคสันคอนขางจะ แตกตางกับฟรอยดห ลายประการ เชน ความคดิ เก่ียวกับ Ego วามีความสําคัญมากกวา Id รวมถึงการมองพัฒนาการ ทางบุคลิกภาพของมนุษยวาสามารถเกิดขึ้นไดตลอดชวงอายุขัย คือ ไมไดหยุดอยูแคเพียงชวงวัยรุน แตจะมีการ เปล่ียนไปเรื่อย ๆ จนถึงวัยชรา โดยอีริคสันไดแบงพัฒนาการทางบุคลิกภาพของมนุษยออกเปน 8 ข้ันหรือที่เรียกวา Psychosocial Stage ซ่ึงสรุปไดพอสงั เขป ดังนี้ (สรุ างค โคว ตระกูล 2553) จุลมณี สุระโยธิน (2554) อีริคสันไดอ ธิบายถึงพัฒนาการของชีวิตตั้งแตวัยทารกจนถึงวัยชรา ที่มาพรอมกับ การเกิดพฤตกิ รรมท่ีมีการเปล่ียนแปลงมาเรือ่ ย ๆ ในทกุ ชวงวัย ซ่ึงอีริคสันเชื่อวา ชีวิตคนเราแตละวัยมักมีปญหาหรือ ตองประสบปญหาบางเปนธรรมดา แตบุคลิกภาพหรือพฤติกรรมที่เกิดข้ึน ลวนสืบเนื่องมาจากส่งิ แวดลอ มรอบตวั หรือ ประสบการณท่ีสั่งสมทัง้ ในดานบวกและดานลบที่ไดรบั ต้งั แตเดก็ ๆ ซงึ่ จุดนี้ชีใ้ หเหน็ วาการปลูกฝงทักษะชีวิตหรือทักษะ ทางดานสังคมในดานตาง ๆ ต้ังแตแรกเกิดเปนสิ่งจําเปน เพราะส่ิงเหลาน้ีถือเปนปจจัยสําคัญที่จะตองมีการ วางรากฐานใหมั่นคงต้ังแตวัยเยาว โดยเริ่มจากเบาหลอมของสังคมหนวยยอย คอื ครอบครวั มีพอแม ผูปกครอง และ หมูญาตมิ าชวยกันดแู ลประคับประคองไปพรอม ๆกับการใหหลักในการดําเนินชีวิตที่ถูกตองซึง่ ต้ังอยูบนรากฐานของ ศีลธรรมอันดีงาม รวมถึง การจัดสภาวะแวดลอมการเรียนรูทางสังคมที่เหมาะสม เพ่ือชวยใหเด็กเติบโตขึ้นดวย พฒั นาการทมี่ ีคณุ ภาพ ดว ยการสรางพ้นื ฐานใหมั่นคงกอ นที่กา วไปเปน สมาชิกท่ีดขี องสังคมหนว ยใหญตอไป

4.2 แนวคดิ ทฤษฎีเก่ยี วกับเดก็ ออทิสติก ความหมายของเด็กออทสิ ตกิ ผดุง อารยะวิญู (2546) ไดใหค วามหมายของเด็กออทิสติกไววา เดก็ ทม่ี ีพฒั นาการลา ชาแสดงปฏิกริ ิยา ตอบสนองตอสิ่งแวดลอมในลักษณะแปลก ๆ แสดงอาการสนใจตอ ตนเองหรือกระตุน ตนเอง โดยไมใหค วามสนใจตอสง่ิ รอบตัว มปี ญ หาทางการพูดและภาษา ไมสามารถแสดงปฏิกริ ยิ าโตต อบตอผคู น สง่ิ ของ หรอื เหตกุ ารณตา ง ๆ สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (2547) ไดใหความหมายของเด็กออทิสติกไววา ออทิสติก (Autistic) มีรากศัพทมาจากคําวา ออโต (Auto) มีความหมายวา ตัวเอง (Self) เริ่มการวินิจฉัยวาบุคคลเปนออทิสติก ครั้งแรกเมื่อปพุทธศักราช 2523 โดยกําหนดเปนภาวะออทสิ ซึม (Autism) ในเด็กวัยทารก (Infantile Autism) ซง่ึ มี ลักษณะดังตอไปน้ี เกิดกอนอายุ 3 เดือน ขาดการตอบสนองอยางมาก มีความบกพรองทางภาษาและมีลักษณะการ พูดท่ีประหลาด และมีการตอบสนองตอสภาพแวดลอมในลักษณะแปลกๆ ซึ่งในปจจุบันสามารถวินิจฉัยไดดวยการ สงั เกตพฤตกิ รรมเด็กไดโดยตรงโดยนักจิตวทิ ยาหรอื แพทย กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (2546) ไดใหความหมายของเด็กออทิสติกไววา เดก็ ที่มีลักษณะอาการ ที่มคี วามผิดปกตทิ างพฒั นาการเของเด็กท่ีแสดงพฤติกรรมใหเห็นวาเด็กไมสามารถพัฒนาดานสงั คมการส่ือความหมาย และขาดจินตนาการ จะปรากฏใหเห็นไดในระยะ 3 ขวบแรกของชีวิต ซ่ึงเปนผลมาจากความผิดปกติทางหนาท่ีของ ระบบประสาทบางสวนทเ่ี กิดขนึ้ จากหลายสาเหตุ ดารณี อทุ ัยรตั นกจิ (2547) ไดใ หค วามหมายของเดก็ ออทสิ ตกิ ไววา นกั เรยี นท่มี ภี าวะออทสิ ซมึ จะมพี ัฒนาการ ที่ผิดปกติซ่ึงมีจุดกําเนิดจากประสาทชีววิทยา และสงผลกระทบตอความสามารถของบุคคลในการสื่อสาร ความคิด และความรูสึก การใชจินตนาการ การสรางสัมพันธภาพกับผูอื่นการเปล่ียนแปลง การรับสัมผัสและการรับรูความ เปน ไปรอบตวั และยงั ไมม ีทางรักษาใหหายขาดได กระทรวงศึกษาธิการ (2552) ไดใ หค วามหมายของเดก็ ออทสิ ติกไวว า บคุ คลท่ีมคี วามผิดปกติของระบบการ ทาํ งานของสมองบางสว น ซ่งึ สงผลตอความบกพรองทางพัฒนาการ ดานภาษา ดา นสังคมและการการมีปฏิสัมพันธท ด่ี ี กบั เพื่อน และมขี อจํากัดดา นพฤติกรรม หรอื มีความสนใจจํากัดเฉพาะเรื่องใดเรอ่ื งหน่ึง โดยความผดิ ปกตนิ ้นั คน พบได กอนอายุ 30 เดือน กุลยา กอสวุ รรณ (2553) ไดใหความหมายของเด็กออทิสติกไววา นักเรียนออทิสติกจะตองมีความบกพรอง หลัก 3 ดา น คือ ดา นการสือ่ สาร ดานปฏสิ ัมพันธท างสงั คม และดา นพฤติกรรม เชน ชอบแสดงพฤติกรรมซํา้ ๆ ไมชอบ การเปล่ียนแปลงกิจวัตรประจําวัน ไมสบตาผูคนอยูในโลกสวนตัวของตนเองไมสามารถสื่อความหมายกับบุคคลรอบ ขา ง เลนกบั ใครไมเปน สถาบนั ราชานุกลู (2555) ไดใ หค วามหมายของเดก็ ออทสิ ตกิ ไววา บคุ คลท่ีมีความผดิ ปกตขิ องสมองแบบหน่ึง เกดิ ขนึ้ ในวัยเด็กโดยจะแสดงอาการผดิ ปกตอิ อกมาใน 3 ดาน ไดแก 1) ความผิดปกตทิ างสังคมและปฏิสัมพันธกบั ผอู ื่น 2) ความผิดปกติทางภาษาและการสื่อสาร และ 3) ความผิดปกติทางอารมณแ ละพฤติกรรม Jaqueline (2008) ไดใหความหมายของเด็กออทสิ ติกไวว า บุคคลทมี่ ีความผดิ ปกติของพฒั นาการทางสมอง และความผิดปกตทิ ีเ่ กิดในวยั เด็ก มลี ักษณะและพฤติกรรม ไดแ ก 1) ไมสามารถตอบสนองหรอื แสดงออกทางอารมณ เชน ยมิ้ แยม หัวเราะรา เริงตั้งแต 6 เดอื น ขน้ึ ไป 2) ไมสามารถเลยี นแบบการออกเสยี ง การย้มิ แยม หรือการแสดงออก ทางสีหนา ต้งั แต 9 เดือน ขึ้นไป 3) ไมสามารถสะทอนเสยี งหรอื โตต อบโดยการออกเสยี งตงั้ แต 12 เดอื นขึ้นไป 4) ไม สามารถเลยี นแบบทาทาง เชน การชีน้ ้ิวการแสดงออกการสะกิดหรอื เคลอ่ื นไหวตัง้ แต 12 เดอื นขึน้ ไป 5) ไมม ภี าษาและ คลงั คําศัพทต้ังแต 16 เดือนขึ้นไป และ6) ไมสามารถพดู เปนคํา 2 พยางค วลที ่ีมคี วามหมายหรือพูดซา้ํ ๆ จากความหมายของเดก็ ออทิสตกิ ที่กลา วมาขางตน สามารถสรุปไดวา เด็กออทสิ ติกเปนบุคคลทม่ี ีความ บกพรองทางพฒั นาการทางสมอง สงผลใหมีพัฒนาการลา ชากวา บคุ คลปกติกทัว่ ไปมีความบกพรอ งทางพฤติกรรมดาน

สังคม การส่ือความหมายและมีพฤติกรรมซํา้ ๆ อาการจะมีความแตกตางแตล ะบุคคลมากนอยไมเ ทา กนั บุคคลออทิ สติกจะมีปญหาในการใชก ระบวนการความคดิ ทาํ ใหบ ุคคลออทิสติกไมสามารถเรยี นรู มีปญหาในการมีปฏิสัมพนั ธทาง สงั คมและการใชช ีวติ รวมกบั บุคคลอ่นื ลกั ษณะและอาการของเดก็ ออทสิ ตกิ ลักษณะอาการของเด็กออทิสติกสามารถพบเห็นไดชัดเจนตั้งแตเด็กมีอายุกอน 30 เดอื นเดก็ ออทสิ ติกมักจะ แสดงอาการผิดปกตใิ นหลายดานดว ยกัน ท้ังนีข้ ้นึ อยกู ับระดบั ความรนุ แรงของภาวะความผิดปกติ และในเด็กแตละคน จะมีความผิดปกติ ในแตละดานก็ยังมีความรุนแรงท่ีแตกตางกันกลุมอาการท่ีอาจพบไดในเด็กออทิสติกคนไหนมัก พบวา มีการกระทํา และความสนใจซ้ําซากอยางชัดเจน โดยพฤตกิ รรมที่แสดงใหเห็นกระกระทําซ้ํา ๆ เชน การสะบดั มือ เคาะมือ เขยงเทา คลานตามพื้นไปมา หรือการกระโดดขึ้นลงเปนตน และหากเด็กกําลังถือของชิ้นเล็ก ๆ ไวใ นมือ เชน เศษกระดาษ แลวมีใครแอบนําไปทิ้ง เด็กก็จะตามหาทั้งวันจนกวาจะพบ ถาไมพบจะกรีดรองไมยอมหยุดหรือ พฤติกรรมการคิดหมกหมนุ หรือสนใจเฉพาะสวนใดสว นหน่งึ ของสิ่งของ ซงึ่ สามารถศกึ ษาไดจากคมู ือการวนิ ิจฉัยความ ผิดปกติทางจิตโดยสมาคมจิตแพทยชาวอเมริกัน (Diagnostic and Statistical Manual of Mental Disorder) หรือ จากหลักเกณฑในการวินจิ ฉัย ภาวะออทิสซม่ึ (DSM-IN-TR) โดย การสัมภาษณแ ละการสังเกตลักษณะพฤติกรรมตาม ความเหน็ ของพอ แม (กระทรวงศึกษาธิการ 2545 ; กญั ญา ธัญมันตา 2535 ; นริ ชา เรืองดารกานนท, 2551) ศูนยแนะแนวการศึกษาและอาชีพ (กรัยวิเชียร นอยวิบล, 2550) ไดกลาวถึงการแบงระดับออทสิ ตกิ จําแนก ตามระดับอาการได 3 ระดับ ดังนี้ 1. ระดับกลุมที่มีอาการนอยเรียกวา Mild Autism หรือบางครั้งเรียกวากลุมที่มีศักยภาพสูง(High Functioning Autism) ซึง่ จะมีระดับสติปญญาปกติหรอื สูงกวา ปกติ มพี ฒั นาการทางดา นภาษาดกี วากลมุ อ่ืน อาจจะมี ความสามารถบางอยา งแฝงอยูหรือเปนอัจฉรยิ ะแตย งั มีความบกพรองในทักษะดานสังคม การรบั รู อารมณ ความรูสึก ของบุคคลอ่นื หรือเรยี กอกี ชื่อหนึง่ วา แอสเพอรเกอร(Asperger Syndrome) ซึ่งมีหนวยประมาณ 5-20 เปอรเ ซนต 2. ระดับกลุมท่ีมีอาการปานกลางเรียกวา Moderate Autism ในกลุมน้ีจะมีพัฒนาการลาชาในดานภาษา การส่ือสาร ทักษะทางสังคม การเรียนรู รวมทั้งการชวยเหลือตนเอง และมีพฤติกรรมกระตุนตนเองพอสมควร แต สามารถจะพฒั นาจนชว ยเหลือตนเองได และอาจเรียนในระบบโรงเรยี นไดถ งึ ระดับหน่งึ มีประมาณ 5-75 เปอรเซนต 3. ระดับกลุมทม่ี ีอาการรนุ แรงเรียกวา Severe Autism ในกลุมน้ีจะมีความลาชาในพัฒนาการเกือบทุกดาน อาจจะเกิดรวมกับภาวะความพิการอ่ืน ๆ เชน ปญญาออน รวมทั้งมีปญหาพฤติกรรมท่ีรุนแรง มีพัฒนาการลาชา เรียนรอู ะไรไมไ ดมาก หากไมไดร บั การกระตนุ ใหมีพฒั นาการต้งั แตแ รกเดก็ จะมีการพฒั นาไดแ คช ว ยเหลือตนเองไดบาง มีหนว ยประมาณ 20-30 เปอรเ ซน็ ต สรุปไดวา ลักษณะอาการของเด็กออทิสตกิ คือ ลกั ษณะเดน ชดั ของเด็กออทิสติกไดแก ความผิดปกตดิ านการ มีปฏิสัมพันธกับบุคคลอ่ืน การพูดและภาษาในการสื่อสารการเคล่ือนไหวการอยูรวมกับสังคมชอบอยูคนเดียว ไมรจู ัก การปรบั ตัว ทําพฤติกรรมซ้ํา ๆ ชอบเลนของเลนเดิม ๆ กลัวในสิ่งท่ีไมควรกลวั สงเสียงดัง พูดดวยเสียงตาง ๆ ระดับ เดียว ใชค วามคิดแบบจติ นาการไมเปน มีความรูสึกไวหรือไมส มาํ่ เสมอตอการสมั ผัสและไมสามารถเขาใจความรสู ึกของ ผอู ่นื การที่จะดูวาเด็กเปน เด็กออทิสติกหรือไมถาอาการมาก อาการรนุ แรง จะดอู อกไดไ มยาก แตถ า อาการนอ ย ๆ จะ ดยู ากมาก ตอ งอาศัยความเห็นผเู ชย่ี วชาญ

5) งานวจิ ัยท่เี กีย่ วขอ งกับตวั แปรตาม/ตวั แปรท่ีศกึ ษานน้ั ปทมา บันเทิงจิต (2548: บทคัดยอ) ไดศึกษาทักษะทางสังคมดานการเลนกับเพื่อนของเด็กออทสิ ตกิ โดยการ จัดกจิ กรรมการละเลนพ้ืนบานของไทยประกอบกับการสือ่ ดว ยภาพผลการวิจัยพบวา นักเรยี นท่ไี ดร ับการฝกทักษะทาง สังคมดานการเลนกับเพื่อนโดยการจัดกิจกรรมการละเลนพ้ืนบานของไทยประกอบกับการสื่อดวยภาพ มที ักษะทาง สังคมดานการเลนกบั เพ่อื นสงู ข้นึ ชาริณี หวาจีน (2548: บทคัดยอ) ไดศึกษาทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกในช้ันเรียนรวมระดับ ประถมศึกษาปท ่ี 6 จากการจัดกจิ กรรมกลุมเพื่อนชว ยเพอื่ น ผลการวจิ ัยพบวา เด็กออทิสตกิ ทีไ่ ดร บั การสอนทักษะทาง สงั คมโดยกิจกรรมกลุมเพื่อนชว ยเพอ่ื นมีทกั ษะทางสังคมดีขน้ึ พชั รี จิว๋ พฒั นกลุ (2549) ไดท าํ การศกึ ษาการเสริมสรา งทักษะทางสงั คมของเด็กออทสิ ติกเพอ่ื ศึกษาผลของผล ของการเสรมิ สรา งทกั ษะทางสงั คมสําหรับเดก็ ออทสิ ตกิ กลมุ ตัวอยา งที่ใชในคร้ังนี้ไดแ กเ ด็กออทิสติกท่ีมปี ญหาดานการ ควบคุมตนเอง การสื่อความหมายกับบุคคลอ่ืนและการทํางานรวมกับบุคคลอื่น จํานวน 6 คน ทําการเลือกแบบ เจาะจง เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ไดแก แบบตรวจสอบทักษะทางสังคม แบบเสริมสรางทักษะทางสังคม ของเด็กออทิสติกและแบบประเมินทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติก ผลการวิจัย พบวา เด็กออทิสติกท่ีไดรับการ เสรมิ สรา งทักษะทางสงั คมทง้ั 3 ดานมที กั ษะทางสังคมทด่ี ขี ึ้นอยา งชดั เจน ธิดากร มณีรัตน (2553) ไดศึกษาการพัฒนาทักษะทางสังคมสําหรับนักเรียนออทิสติกในโรงเรียนเรียนรวม ระดบั ประถมศึกษา โดยใชเร่ืองราวทางสังคม ผลปรากฏวาการใชเร่อื งราวทางสังคมกับนักเรียนเปาหมาย 1 คน โดย อานเร่ืองราวทางสังคมทีละเรือ่ งทุกวัน วันละ 2 คร้ัง อานเรื่องเขาคิวดกี วานะ เปนเวลา 3 สัปดาห เรื่องเดินเปนแถว ดกี วา 2 สปั ดาห และเรอ่ื งบอกกนั ดี ๆ กไ็ ด 2 สปั ดาห พบวา ทักษะทางสังคมท่ีเปนปญหาระยะเสนฐาน ระยะการจัด กระทําและระยะหยุดการจัดกระทํา มีคาเฉลี่ยดังนี้ 1) การแซงคิวสงงาน มีคาเฉลี่ย 2.67, 0.71 และ 0.00 ตามลําดับ 2) การเดินออกนอกแถว มีคาเฉล่ีย 2.10, 0.30, และ 0.20 ตามลําดับ 3) การตีเพื่อน มีคาเฉล่ีย 0.87, 0.10, และ 0.00 ตามลําดับ ซง่ึ แสดงวา เรือ่ งราว ทางสังคมท่ีผวู จิ ัยพัฒนาขนึ้ สามารถลดพฤตกิ รรมที่เปนปญหา ในการเรยี นรว มของนกั เรียนออทสิ ตกิ ได พิกุล ทําบุญตอบ (2555) ไดศึกษาผลของการใชการเสริมแรงที่เปนกิจกรรมเพื่อลดกิจกรรมการพูดเพอเจอ ของบุคคลออทิสติกเพ่ือเสริมสรางทักษะทางสังคม ผลการวิจัย พบวา การเสริมแรงเปนกิจกรรมท่ีสามารถลด พฤติกรรมการพูดเพอเจอของบุคคลออทิสติกได จากการวิจัยสามารถอธบิ ายผลการวิเคราะหข อมูลที่ได คือ คาเฉลี่ย ของจํานวนชวงเวลาพูดเพอเจอ ของการทดลองในเสนฐานมีคาเทากับ 18 ในระยะทดลอง ซ่ึงเปนระยะท่ีใชแผนการ เสริมแรงท่ีเปนกิจกรรมมีคาเฉล่ียชวงเวลาเทากับ 5.95 และในระยะถอดถอนมีคาเฉลี่ยจํานวนชวงเวลา เทากับ 2.4 สอดคลอ งกับสมมติฐานท่ีต้ังไวว า การใชการเสริมแรงท่ีเปนกิจกรรม สามารถลดพฤติกรรมการพูดเพอเจอของบุคคล ออทิสตกิ ได Sally (2000) ไดศ ึกษาความบกพรองทางสังคมในบุคคลออทสิ ตกิ โดยใชโ ปรแกรมเพื่อพัฒนาทักษะทางสงั คม ผลการใชโปรแกรมกบั บคุ คลออทิสติก พบวา บคุ คลออทิสติกมีการตอบสนองกับบุคคลอนื่ ในกลมุ มากขึน้ มีปฏิสัมพันธ ทางสังคมท่ีดขี นึ้ จากงานวิจัยที่เก่ียวของเก่ียวกับการเสริมสรางทักษะทางสังคมสามารถสรุปไดวา การเสริมสรางทักษะทาง สังคมเปนสิ่งสําคัญตอการพัฒนาบุคคลออทิสติกใหสามารถปรับตัวเพ่ือแสดงหาความรูใหมดวยการมีปฏิสัมพันธก ับ ผูอ นื่ ทาํ ใหบุคคลแสดงบทบาทและทาํ หนา ที่ของตนเองไดอ ยา งเหมาะสม ซง่ึ กจิ กรรมการเสรมิ สรางมีความแตกตางกัน ออกไปหลากหลายวิธีการและรูปแบบ เชน สอนโดยเรื่องราวทางสังคม สอนโดยรปู ภาพ สอนโดยนิทาน เปนตน ซึ่ง กิจกรรมเหลานี้ลว นพัฒนาพื้นฐานการเขาสูสังคม อันสง ผลทาํ ใหบคุ คลออทิสติกสามารถอยรู ว มกันและทาํ งานรวมกัน ไดอยา งมปี ระสิทธิภาพ

6) แนวทางในการสงเสรมิ พฒั นา ปองกันและแกไขปญ หาทเ่ี ก่ยี วขอ งกบั ตัวแปรตาม/ตัวแปรทศ่ี กึ ษานนั้ จากหัวขอท่ีผูวิจัยสนใจที่จะศึกษาการพัฒนาทักษะทางสังคมของนักเรียนออทิสติก โดยใชชุด กิจกรรมแนะแนว ซ่ึงการวิจัยในคร้ังผูวิจัยตองการสง เสริมการพัฒนาทักษะทางสงั คมของนกั เรียนออทิสติกไปในทาง ที่ดีขึ้น และสามารถนําไปใชเปนแนวทางในการพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนชุดกิจกรรมแนะแนว ของนักเรียนออทสิ ตกิ ใหกบั หนว ยงานหรือสถาบันศกึ ษาตาง ๆ หรือองคก รท่ีเก่ียวของในการพัฒนาการจัดการพิเศษ รวมถงึ เปน แนวทางในการขับเคลื่อนการจดั การศึกษาสําหรับนกั เรยี นที่มีความตองการพิเศษตอไป

บรรณานุกรม กรยั วเิ ชยี ร นอ ยวิบล. (2550). ผลของการฝกโดยใชลูกบอลทม่ี ีตอเวลาปฏกิ ิริยาตอบสนองมอื และตาของเด็กออทิสติก. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร. กระทรวงศึกษาธกิ าร. (2545). พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแหงชาติ พทุ ธศักราช 2542 และ แกไขเพิม่ เตมิ (ฉบับท่ี 2) พทุ ธศักราช 2545. สาํ นักงานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ. กลุ ยา กอ สวุ รรณ. (2553). ภาวะบกพรอ งทางสตปิ ญ ญา. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวโิ รฒ. เกรียงศกั ด์ิ เจรญิ วงศศ กั ด.์ิ (2556). การคดิ เชิงสรางสรรค. กรงุ เทพฯ: ซัคเซส มเี ดีย. จุลมณี สรุ ะโยธนิ . (2554). ผลของการจดั กิจกรรมเรียนรูรวมกนั ทางอนิ เทอรเน็ตดว ยการเขียนสะทอนคิดผานส่ือสงั คม ออนไลนท มี่ ตี อทกั ษะทางสงั คมของนักเรียนมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย. กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศลิ ปากร. ชาริณี หวาจีน. (2548). การศึกษาทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกในชั้นเรียนรวม ระดับช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 จากการจัดกิจกรรมเพื่อนชวยเพ่ือน. สารนิพนธ กศ.ม. (การศกึ ษาพเิ ศษ) บณั ฑติ วิทยาลัย มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. ดารณี อุทยั รตั นกจิ . (2547). การจัดการศึกษาสําหรับเดก็ ออทิสตกิ . (เอกสารประกอบคาํ สอน). กรงุ เทพฯ: โครงการ อบรมครูและบุคลากรทางการศกึ ษาพิเศษโดยศนู ยวจิ ัยการศึกษาเพ่ือเดก็ ทตี่ อ งการความชวยเหลือพเิ ศษ โรงเรียนสาธิตแหง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร โดยศนู ยว จิ ยั เพือ่ เด็กทีต่ องการความชว ยเหลอื พิเศษ ศูนยวิจยั และพฒั นาการศึกษา คณะศกึ ษาศาสตร มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตรร ว มกับกรมสขุ ภาพจติ . ธิดากร มณีรตั น. (2553). การพัฒนาทักษะทางสังคมโดยใชเร่อื งราวทางสงั คม สําหรับนกั เรียนออทสิ ตกิ ในโรงเรียน เรยี นรวมระดบั ประถมศึกษา. วารสารวิจยั มหาวิทยาลยั ขอนแกน. ปทมา บนั เทงิ จติ . (2548). ทกั ษะทางสังคมดานการเลน กับเพื่อนของเด็กออทิสตกิ โดยการจดั กิจกรรมการละเลนเพื่อน บานของไทยประกอบการการสื่อดวยภาพ.ปริญญานิพนธ กศ.ม.(การศึกษาพิเศษ). กรุงเทพฯ: บัณฑิต วิทยาลยั มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวิโรฒ. พชั รี จ๋ิวพัฒนากลุ . (2549). การพฒั นาแบบฝก เพื่อเสรมิ สรางทกั ษะทางสงั คมสําหรบั เด็กออทิสตกิ . (วิทยานพิ นธด ษุ ฎีบณั ฑิต). กรงุ เทพฯ: มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครินทรวโิ รฒ. พกิ ลุ ทาํ บญุ ตอบ. (2555). ผลของการใชการเสริมแรงทเี่ ปนกิจกรรม เพื่อลดกิจกรรมการพูดเพอ เจอของเดก็ ออทสิ ติก. การประชุมวิชาการระดับชาตทิ างการศกึ ษาสําหรับนกั เรยี นทีม่ คี วามตองการจาํ เปนพเิ ศษ คร้งั ท่ี 2 “เปล่ยี น หองเรียน เปดโอกาสสูการมีงานทํา” วันท่ี 28-30 สิงหาคม 2556 ณ โรงแรมเฟรส โฮเทล กรุงเทพมหานคร สาํ นกั บริหารงานการศึกษาพิเศษ สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน. พรศิริ บรรจงประเสริฐ.(2552). การสงเสริมและพัฒนาทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกดวยกระบวนการวิจัย ปฏิบัติการแบบมีสวนรวม ในโรงเรียนที่จัดการเรียนรวม: พหุกรณีศึกษา. วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑติ . สาขาวจิ ยั การศึกษา ภาควชิ าวจิ ยั และจติ วิทยาการศกึ ษา คณะครุศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวิทยาลัย. ผดงุ อารยะวญิ .ู (2546). การวจิ ัยแบบกลุมตวั เอยา งเด่ียว: ใน เอกสารประกอบการสอนการวจิ ัยในชัน้ เรยี นการวิจัย ทางการศกึ ษาพิเศษ การศกึ ษาพฤติกรรม การวิจัยทางคลนิ ิก. กรุงเทพฯ: มหาวทิ ยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ. ศศินันท ศิริธาดากุลพัฒน. (2552). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเพื่อเสริมสรางทักษะทางสังคมและความ

ฉลาดทางอารมณสําหรับนักเรยี นชวงชั้นท่ี 2 ท่ีมีความสามารถพิเศษ. ปริญญานิพนธการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลยั ศรีนครนิ ทรวิโรฒ. สขุ ุมาล เกษมสขุ . (2535). การสอนทักษะสงั คมในชั้นประถมศึกษา. กรงุ เทพฯ: คณะศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ. สถาบันราชานกุ ลู . (2555). เดก็ ออทสิ ตกิ คมู ือสาํ หรบั คร.ู กรงุ เทพฯ: บริษทั บยี อนด พับลิสซ่งิ จาํ กดั . สุรางค โควตระกลู . (2553). จติ วิทยาการศกึ ษา. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั . สาํ นกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน. (2547). การพัฒนาหลกั สูตรสาํ หรับบุคคลออทสิ ติก ระดบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2547. กรุงเทพฯ: สาํ นักงาน. Jaqueline, S. (2008). What is Autism?. Woodland Hills.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook