Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสอนงาน

การสอนงาน

Published by kamon.ut, 2020-01-27 21:16:07

Description: การสอนงาน

Search

Read the Text Version

ก รายงานการศึกษาดว้ ยตนเอง เรื่อง การสอนงาน (Coaching) โดย นายพิสทุ ธศิ กั ด์ิ โรจนหสั ดิน รายงานนเี้ ป็นสว่ นหนึง่ ของการพัฒนาเตรยี มความพรอ้ มสกู่ ารเป็นผูบ้ ริหาร หลักสตู รพัฒนาศกั ยภาพผนู้ ายคุ ใหม่ รุ่นที่ ๒ สานกั งานเลขาธิการคุรสุ ภา

ก คานา รายงานนี้เป็นส่วนหน่ึงของการพัฒนาเตรียมความพร้อมสู้การเป็นผู้บริหาร หลักสูตรพัฒนาศักยภาพ ผู้นายุคใหม่ รุ่นท่ี ๑ ซึ่งผู้ศึกษาได้รับมอบหมายให้ศึกษาในเร่ือง การสอนงาน (Coaching) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง ในหัวข้อ สมรรถนะทางการบริหาร (Management Competency) จุดประสงค์ท่ีจะต้องรู้เร่ืองการสอนงาน เพ่ือให้ผู้เข้ารับการพัฒนาท่ีจะได้รับการแต่งต้ังเป็นผูอ้ านวยการกลุ่ม สามารถนาความรู้จากการศึกษา รายงาน การสอนงานฉบับน้ีไปปรับใช้ในทาหน้าท่ีการสอนงานให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซงึ่ จะส่งผลดีตอ่ การปฏบิ ตั งิ านใหบ้ รรลตุ ามวัตถุประสงคข์ องครุ สุ ภา ขอบเขตเน้ือหาการสอนงานในรายงานฉบับนี้ อาทิเช่น ความหมายของการสอนงาน ความสาคัญของ การสอนงาน ประโยชนข์ องการสอนงาน บทบาทของผ้บู ังคับบัญชาในการสอนงาน ปัจจัยสาคญั ในการสอนงาน คุณสมบัติของผู้สอนงาน เทคนิคการสอนงานท่ีมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้ศึกษาได้เพ่ิมสาระสาคัญในส่วนอ่ืน ๆ ท่ีสาคัญและจาเป็นต้องมีความรู้เกี่ยวกับการสอนงาน เพื่อให้ผู้สนใจได้ศึกษาและได้รับประโยชน์จากรายงาน ฉบับนี้ ผู้ศึกษาหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ให้ผู้เข้ารับการพัฒนา และผู้สนใจศึกษา ได้รับความรู้ และสามารถนาความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในการสอนงาน ต่อไป พสิ ุทธิศกั ด์ิ โรจนหัสดนิ ๒๐ มกราคม ๒๕๖๓

ข บทสรุปสาหรับผบู้ รหิ าร การสอนงาน หมายความวา่ วิธีการเพมิ่ พนู ความรู้ในการปฏิบตั ิงานท่ีถูกตอ้ งใหแ้ ก่ผู้ใต้บงั คับบัญชา ความสาคญั ของการสอนงาน อาทเิ ชน่ ๑. ไม่เกิดการลองผิดลองถูก การสอนงานเป็นไปอย่างถูกต้อง และ มีประสิทธิภาพลดความ ผดิ พลาดเสยี หาย และลดเวลาการทางาน ๒. การเรียนรู้เป็นไปอย่างถูกต้องสมบูรณ์ เกิดการถ่ายทอดงาน และเทคนิคการปฏิบัติงานจาก หัวหน้าไปสผู่ ูร้ ่วมทมี งานชว่ ยใหเ้ กิดความรูใ้ นการทางานที่ถูกต้อง เพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทางาน ๓. ทาใหอ้ งค์ความรู้ไม่ตดิ กับตัวบุคคล เมือ่ มกี ารเขา้ ออกงานก็มีผู้สืบต่องานได้ ประโยชน์ที่เกิดข้ึนจากการสอนงาน มีประโยชน์ทั้งต่อผู้ได้รับการสอนงาน ผู้สอนงาน และต่อองค์กร โดยการสอนงานจะช่วยพฒั นาความร้คู วามเข้าใจ ทักษะในการทางานให้ผ้รู บั การสอนงาน สาหรับผสู้ อนงานนนั้ การสอนงานถือว่าเป็นการมอบหมายงานที่มปี ระโยชน์ และช่วยพฒั นาสัมพนั ธภาพระหว่างผู้ปฏิบัติงานด้วยกัน สาหรับประโยชน์ต่อองค์กรแล้ว เม่ือพิจารณาในเร่ืองค่าใช้จ่าย จะเห็นว่า มีค่าใช้จ่ายน้อยมากเม่ือเทียบกับ ค่าใช้จ่ายทเ่ี กดิ ขึ้นกับการจัดฝึกอบรมในลักษณะเต็มรปู แบบ หลกั ในการสอนงาน อาทเิ ชน่ ๑. ผสู้ อนงานตอ้ งชแี้ จงให้ผู้รบั การสอนงานให้เข้าใจวัตถุประสงค์ของการสอน ๒. ผสู้ อนงานตอ้ งมงุ่ ผลของการสอนงาน โดยคานงึ ถึงผรู้ ับการสอนงานเปน็ สาคญั ๓. ผู้สอนงานต้องให้ผู้รับการสอนงานรู้ว่างานอยู่ในขั้นตอนไหน และจัดการสอนให้มีสภาพเหมือน ปฏิบตั งิ านจรงิ ทาให้ผรู้ บั การสอนงานมสี ่วนร่วมในการเรียนรอู้ ยา่ งสมบูรณ์ บทบาทของผู้บังคับบัญชา คือ การสร้างทีมงานท่ีเข็มแข็ง มอบหมายให้ทุกคนร่วมกันทางานนาไปสู่ จดุ หมายเดียวกัน ปัจจัยสาคัญในการสอนงาน ประกอบด้วย ๔ ปัจจัย คือ ปัจจัยการจัดทาคู่มือและมาตรฐานการทางาน ปัจจัยการจัดฝึกอบรมผู้บังคับบัญชา/ผู้สอนงาน ปัจจัยการสอนงานเป็นส่วนหนึ่งของตัวช้ีวัดผลงานของ ผู้บงั คับบัญชา และปัจจัยการจดั ทาโครงการ Internal Trainer คุณสมบตั ิของผ้สู อนงาน ประกอบดว้ ยทักษะ ดังนี้ ๑. ทักษะในการวางแผนงาน หมายถึง ความสามารถในการจัดลาดับ และความสาคัญของงานที่ เรง่ ด่วน ๒. ทักษะการมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานให้สาเร็จได้ตามเป้าหมายที่ กาหนด ๓. ทักษะในการรับฟัง หมายถึง การแสดงออกถึงความเข้าใจ การรับฟังความคิดเห็น ประเด็น ปญั หา เหตุการณ์ และเร่อื งราวตา่ ง ๆ ของผู้อืน่ ๔. ทักษะในการส่ือสาร หมายถึง การสื่อสารด้วยการใช้คาพูด เพ่ืออธิบาย ชี้แจง โน้นน้าว ชักจูง และแสดงความคดิ เหน็ ต่าง ๆ ใหผ้ ูฟ้ งั เขา้ ใจอย่างชัดเจน ๕. ทักษะในการคาดคะเนการพยากรณ์ หมายถึง การกาหนดกรอบ และปัจจัยที่ควรคานึกถึงในการ พยากรณ์ ๖. ทักษะในการพฒั นาทรัพยากรบคุ คล หมายถงึ การวเิ คราะห์ และประเมนิ จดุ แข็ง และจุดออ่ นของ ผู้ใต้บังคบั บญั ชาแต่ละคน เป็นวธิ ีการ หรอื หนทางทจ่ี ะเสรมิ จดุ แข็ง และพฒั นาจุดออ่ น

ค ๗. ทักษะในการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถในการรบั รู้ข้อมูล และรายละเอียดต่าง ๆ ท่ีเก่ียวข้อง กับงานท่ีรับผิดชอบไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ กระบวนการสอนงาน ประกอบด้วย ๔ ขั้นตอน ดงั น้ี ๑. บอกใหฟ้ ง้ คอื การอธิบายความต้องการในการสอนงานใหเ้ ขา้ ใจในวัตถุประสงค์ และความจาเป็น ของการสอนงาน ๒. ตง้ั เปา้ เหมาย คอื ในการสอนงานร่วมกัน ควรมเี ร่ืองอะไรบา้ งทเ่ี ขาควรร้เู พิ่ม หรอื เรื่องอะไรบ้างที่ ควรฝึกฝนเพมิ่ เตมิ โดยเขยี นผลลพั ธ์ท่อี ยากใหเ้ ป็นให้ชัดเจน และเป็นไปได้จรงิ ๓. ร่วมเขียนแผน คือ ท้ังผู้สอนงานและผู้รับการสอนงานร่วมกันวางแผนปฏิบัติการโดยดูจาก วัตถุประสงค์ ๔. แม่นประเมิน คือ ในข้ันตอนน้ีจะต้องให้ผู้รับการสอนงานได้ลองปฏิบัติจริงตามท่ีได้วางแผนไว้ หรือถา้ ปฏิบตั ิจริงแล้วอาจอันตรายตอ่ ผู้อ่นื เทคนคิ การสอนงานอยา่ งมีประสิทธิภาพ ดังนี้ ๑. ผู้สอนงานต้องมีความรู้ความเข้าใจในระบบงานอย่างละเอียด สามารถตอบคาถามของผู้รับการ สอนงานได้ และเขา้ ใจถงึ จดุ มุ่งหมายในการทางาน เพอื่ ท่จี ะบรรลุเปา้ หมายขององคก์ ร ๒. ผสู้ อนงานต้องเตม็ ใจทีจ่ ะให้ความรู้แกผ่ ปู้ ฏิบตั ิงาน ๓. ผู้สอนงานต้องเต็มใจท่ีจะเสียสละเวลาบางส่วนเพ่ือการสอนงาน ซ่ึงในบางครั้งอาจใช้เวลานาน พอสมควร ๔. ผสู้ อนงาน และผู้รบั การสอนงานต้องมคี วามเชื่อใจซ่ึงกนั และกัน และม่ันใจในแนวทางการสอนงาน ข้อจากัดการสอนงาน กล่าวคือ การสอนงานได้ผลมาก หรือน้อย ขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้สอน และเทคนิควิธีการสอนเป็นความสาคัญ การสอนงานต้องใช้เวลา จึงเป็นการยากที่ผู้บังคับบัญชาจะสละเวลา ของตนเป็นเวลานาน ๆ ให้กับการสอนงาน และติดตามผลการสอน และในบางกรณีผู้รับการสอนงาน อาจกลายเปน็ ผทู้ ่แี อบลอกเลียนแบบพฤติกรรมของผู้สอนงานได้ ข้อเสนอแนะสาหรบั การสอนงานของผูอ้ านวยการกล่มุ ในฐานะทีเ่ ป็นผู้อานวยการกลุ่ม ต้องสามารถสอนงานให้กับผู้ใต้บงั คับบัญชา อาทิเช่น ๑. ต้องมีความรอบรู้และเข้าใจส่ิงที่จะสอนอย่างชัดแจ้ง และมีประสบการณ์ ในสิ่งที่จะสอนอย่าง เพียงพอ ๒. ต้องมีทัศนคติท่ีดี กระตือรือร้นที่จะสอน เพราะการสอนงานต้องใช้ความอดทน และความ พยายามเปน็ อยา่ งมาก ๓. ต้องพร้อมทจ่ี ะรับฟงั คาติ ชม จากผู้ใต้บังคับบัญชา ๔. ต้องให้ผ้ใู ตบ้ งั คับบัญชาลงมอื ทาดว้ ยตนเอง และอยา่ ควบคมุ มากจนเกนิ ไป ๕. ต้องให้คาแนะนา และเตือนผู้ใต้บังคับบัญชาก่อนทีจะลงมือปฏิบัติบางคร้ังอันตรายที่เกิดจาก ความผดิ พลาดอาจมผี ลร้ายแรง ๖. ไม่ควรจ้ีจุดผิดพลาดของผู้ใต้บงั คับบัญชา แต่ควรหาวิธีให้ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาได้ไตร่ตรองด้วยตนเอง วา่ สงิ่ ทผี่ ิดพลาดนั้นเกิดจากอะไร และมวี ิธแี กไ้ ขอย่างไร

ง ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา อันไดแ้ ก่ ๑. ผู้ใต้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นผู้รับการสอนงาน ต้องเตรียมตัว และเตรียมใจให้พร้อมสาหรับการรับ การสอนงานจากผู้บงั คับบญั ชา ๒. ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชา ซ่ึงเป็นผรู้ ับการสอนงาน ตอ้ งมีทศั นคติทีด่ ตี ่อผ้บู งั คับบัญชาในขณะรับการสอนงาน ๓. ในขณะที่ผู้บังคับบัญชากาลังสอนงาน ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องไม่ควรพูดสอดแทรก เม่ือผู้บังคับบัญชา สอนงานเสร็จกอ่ น จึงออกความคิดเห็น หรือซกั ถามในประเดน็ ท่ไี ม่เขา้ ใจ

จ สารบัญ คานา................................................................................................................................................................ ก บทสรุปสาหรับผู้บรหิ าร.................................................................................................................................... ข สารบญั ............................................................................................................................................................ จ สว่ นที่ ๑ ความหมาย ความสาคัญ และประโยชนข์ องการสอนงาน ..................................................................๑ ๑.๑ ความหมายของการสอนงาน............................................................................................................๑ ๑.๒ ความสาคัญของการสอนงาน...........................................................................................................๑ สว่ นที่ ๒ หลกั การ บทบาทของผ้บู ังคับบัญชา ปัจจัยสาคัญในการสอนงาน ......................................................๔ ๒.๑ หลกั การในการสอนงาน...................................................................................................................๔ ๒.๒ บทบาทของผูบ้ ังคับบัญชาในการสอนงาน........................................................................................๔ ส่วนท่ี ๓ คณุ สมบตั ขิ องผสู้ อนงาน และกระบวนการสอนงาน...........................................................................๖ ๓.๑ คุณสมบัติของผู้สอนงาน ..................................................................................................................๖ ๓.๒ กระบวนการในการสอนงาน ............................................................................................................๘ สว่ นท่ี ๔ เทคนิคการสอนงานที่มีประสิทธภิ าพ และข้อจากัดการสอนงาน........................................................๙ ๔.๑ เทคนิคการสอนงานที่มปี ระสิทธภิ าพ...............................................................................................๙ ๔.๒ ขอ้ จดั กัดของการสอนงาน.............................................................................................................๑๐ สว่ นท่ี ๕ ขอ้ เสนอแนะสาหรับการสอนงาน ...................................................................................................๑๑ ๕.๑ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั การสอนงานของผอู้ านวยการกล่มุ ................................................................๑๑ ๕.๒ ขอ้ เสนอแนะสาหรบั ผใู้ ต้บงั คับบญั ชา............................................................................................๑๑ เอกสารอ้างองิ ...........................................................................................................................................๑๒ ประวตั ขิ องผศู้ ึกษา....................................................................................................................................๑๓

๑ สว่ นที่ ๑ ความหมาย ความสาคญั และประโยชนข์ องการสอนงาน ๑.๑ ความหมายของการสอนงาน การสอนงาน มีนักวิชาการ นักพัฒนาทรัพยากรบุคคล ได้ให้ความหมายของ คาว่า การสอนงาน อาทิเชน่ การสอนงาน คือ การให้ความรู้แกผ่ ู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาให้รวู้ ิธีทางานที่ถกู ตอ้ ง การสอนงาน คือ วิธีการที่ผู้บังคับบัญชา หรือหัวหน้างานได้สอน แนะนา ช้ีแจง หรือช่วยเหลือ ผู้ใต้บังคบั บัญชา ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ วัตถปุ ระสงค์ และวธิ ีการทางาน เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏิบตั ิงานไดอ้ ยา่ งถูกต้อง การสอนงาน คอื การท่ีผบู้ ังคับบัญชาให้การดแู ลฝึกอบรมให้แก่ผู้ใต้บงั คับบัญชาเพื่อให้สามารถทางาน ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ปลอดภัย รวดเรว็ มีกาลังใจ และมีความกระตือรือร้นในการทางาน กล่าวโดยสรุป การสอนงาน จึงมีความหมายว่า วิธีการเพ่ิมพูนความรู้ในการปฏิบัติงานที่ถูกต้อง ใหแ้ กผ่ ูใ้ ตบ้ งั คับบัญชา ๑.๒ ความสาคญั ของการสอนงาน ในบางคร้ัง การปฏิบัติงานอาจพบกับความท่ีรู้ท่ีมองไม่เห็น หรือความรู้ท่ีมองไม่เห็น หรือความรู้ท่ีแฝง อยู่ในการปฏิบัติ (Tacit knowledge) ฉะน้ัน กิจกรรมบางกิจกรรมต้องอาศัยมากกว่าการสอนงานโดยทั่วไป เพราะการสอนเพียงทฤษฎีคงจะไม่เพียงพอ ต้องมีการฝึกปฏิบัติและการเอาใจใส่ด้วย ดังน้ัน การสอนงาน (Coaching) จึงมคี วามจาเปน็ อยา่ งยิ่งในการปฏบิ ตั ิงาน กลา่ วโดยสรปุ การสอนงาน มคี ณุ ค่าพเิ ศษทาให้เกดิ ผลดี ทาใหก้ ารทางานมีประสทิ ธภิ าพ เป็นการช่วย เพ่มิ ศักยภาพใหแ้ ก่ผูป้ ฏบิ ตั งิ านในทุกระดับ ความสาคญั ของการสอนงาน ดงั ต่อไปนี้ ๑) ไม่เกิดการลองผิดลองถูก การสอนงานเป็นไปอย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพลดความผิดพลาด เสยี หาย และลดเวลาการทางาน ๒) การเรียนรู้เป็นไปอย่างถูกต้องสมบูรณ์ เกิดการถ่ายทอดงาน และเทคนิคการปฏิบัติงานจาก หัวหน้าไปสผู่ ู้รว่ มทมี งานชว่ ยใหเ้ กดิ ความรู้ในการทางานท่ีถกู ต้อง เพมิ่ ประสิทธิภาพในการทางาน ๓) การปฏบิ ัตงิ านสะดวก รวดเร็ว และปลอดภัย สามารถปรบั ปรงุ งานใหด้ ีได้ ๔) ไม่เสียเวลาแก้ไขงานท่ีผิดพลาดและบกพร่อง ๕) ผู้บงั คบั บัญชากับผู้ใต้บังคบั บัญชาไวว้ างใจกัน และเปน็ โอกาสทจี่ ะแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ ๖) ทาใหอ้ งค์ความรู้ไมต่ ิดกบั ตัวบคุ คล เมือ่ มกี ารเข้าออกงานกม็ ีผูส้ ืบต่องานได้ ๑.๓ ประโยชน์ของการสอนงาน ประโยชน์ท่ีเกิดขึ้นจากการสอนงาน ส่งผลโดยตรงต่อผู้บังคับบัญชา ต่อผู้ใต้บังคับบัญชา และ ต่อองค์กร ดังต่อไปน้ี ๑.๓.๑ ประโยชน์ทเ่ี กดิ ขน้ึ สง่ ผลตอ่ ผบู้ งั คบั บัญชา ๑) การสอนงาน (Coach) จะช่วยแบ่งเบาภาระงาน เพ่ือให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานได้อย่าง ถกู ต้อง สง่ มอบงานตามเวลาทกี่ าหนด ๒) ช่วยให้มีเวลาเพียงพอท่ีจะคิดพิจารณา ปรับปรุงระบบงาน ขั้นตอนและวิธีการปฏิบัติงาน ให้มีประสทิ ธิภาพย่ิงข้นึ ซึง่ เป็นการชว่ ยเหลอื ผใู้ ต้บังคบั บัญชาอย่างแท้จรงิ ๓) มโี อกาสชแี้ จงจุดเด่น หรือจุดท่ีตอ้ งการใหผ้ ู้ใตบ้ ังคับบัญชาปรบั ปรุงการปฏบิ ัตงิ าน

๒ ๔) มีโอกาสรับรู้ความต้องการที่ผู้ใต้บังคับบัญชาคาดหวัง ปัญหา และอุปสรรคที่เกิดข้ึนในการ ปฏบิ ตั ิงานของผ้ใู ต้บังคับบญั ชา ๕) สร้างสัมพันธภาพท่ดี ใี นการปฏิบัติงานระหว่างผูบ้ งั คบั บัญชา และผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชา ๖) เป็นการกระบวนการหน่ึงที่ใช้ผลักดัน และสนับสนุนให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานให้บรรลุ เป้าหมาย (Performance Goal) ตามแผนการปฏบิ ตั งิ านที่กาหนด ๗) ส่งเสรมิ ให้เกิดบรรยากาศของการปฏิบัตงิ านร่วมกนั เปน็ ทีม ๑.๓.๒ ประโยชนท์ ีเ่ กิดข้ึนสง่ ผลต่อผู้ใต้บงั คบั บญั ชา ๑) เขา้ ใจขอบเขต เป้าหมายของการปฏิบตั ิงาน และความต้องการทผ่ี ู้บังคบั บญั ชาคาดหวงั ๒) ได้รับรู้ถึงสถานการณ์การเปล่ียนแปลง ปัญหา และอุปสรรคขององค์การ ภารกิจที่องค์กรจะทา ในปจั จบุ ัน และตอ้ งการท่ีจะทาต่อไปในอนาคต ๓) ได้รับรู้ปัญหา หรืออุปสรรคท่ีเกิดข้ึนในการปฏิบัติงานร่วมกับผู้บังคับบัญชา และมีส่วนร่วมกับ ผ้บู งั คบั บญั ชาในการพิจารณาแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กิดขน้ึ ๔) มโี อกาสรู้จุดแขง็ จดุ อ่อนตวั เอง เพอ่ื สามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพมากย่ิงข้ึน ๕) รู้จักวางแผน ลาดับความสาคัญของงาน รับรู้เทคนิควิธีการปฏิบัติงานให้ประสบความสาเร็จ ตามเปา้ หมาย และระยะเวลาทผี่ บู้ ังคบั บญั ชากาหนด ๖) สรา้ งขวัญ กาลังใจ ทาใหไ้ มร่ ู้สึกวา่ ตนเองปฏบิ ตั งิ านเพยี งผูเ้ ดียว ๗) เป็นแรงจูงใจ กระตุ้นให้ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาปรบั ปรุงตนเอง สนใจเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ เสมอ ๘) ส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีคุณค่า (Value) ในการปฏิบัติงานมากข้ึน เนื่องจากการสอนงาน ท่ีถูกต้อง ควรเป็นไปตามความต้องการของผู้ใต้บังคับบัญชา และยังเป็นการช่วยตอบสนองให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏบิ ัตงิ านไดบ้ รรลุเป้าหมายของตนเอง และองคก์ ร ๑.๓.๓ ประโยชนท์ ่เี กิดขึ้นส่งผลต่อองคก์ ร ๑) องค์กรมีผลการปฏิบัติงาน (Organization Performance) ที่เป็นไปตามความคาดหวัง หรือ มากกวา่ ความคาดหวงั ท่ตี อ้ งการ ๒) องคก์ รมีความพร้อมกับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ทเ่ี กิดขนึ้ ในโลกยุคโลกาภวิ ฒั น์ เนอ่ื งจากการสอน งาน (Coaching) ทาให้ข้าราชการมีความพร้อมต่อการปรับเปลี่ยนต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นนโยบาย การปฏิบัติงาน กลยทุ ธ์ ขน้ั ตอน วธิ กี ารปฏิบตั งิ าน การนาเอาเทคโนโลยสี ารสนเทศมาใช้ นอกจากนี้ การสอนงาน (Coaching) ยังมีประโยชน์ในเรือ่ งต่าง ๆ อาทเิ ชน่ ๑) ช่วยส่งเสรมิ ความสมั พันธอ์ ันดรี ะหว่างผบู้ งั คบั บัญชากบั ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชา เพราะสถานะจากผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชา จะกลายไปเป็นครูกับลูกศิษย์ ซึ่งโดยสามัญสานึก ของคน โดยเฉพาะคนไทย คาว่า “ครู” นั้นมีความหมายมากกว่าหัวหน้าอย่างแนน่ อน แต่หัวหน้าจะกลายเปน็ ครูทุกคน หรือไม่ ต้องข้ึนอยู่กับความสามารถของผู้บังคับบัญชาคนน้ัน ๆ ว่าสามารถทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ยอมรบั ได้มากน้อยขนาดไหน ๒) ช่วยป้องกนั ความผดิ พลาดดนั เนือ่ งมาจากการลองถูก การสอนงานเปรียบเสมือนการจูงมือคนข้ามถนน เราก็สามารถอธิบายเขาไปด้วยว่าก่อนข้ามถนน จะต้องมองซ้ายมองขวาเพ่ือดูว่ามีรถมาหรือไม่ ระยะห่างแค่ไหนถึงจะสามารถข้ามได้อย่างปลอดภัย และ ในขณะท่ีกาลังเดินข้ามถนนนั้น เราก็สามารถสอนเขาได้ว่าต้องเดินด้วยความเร็วระดับไหน ต้องคอยสังเกตรถ ทั้งซ้ายและขวาต้องเดินตรงทางม้าลาย ก่อนท่ีจะฝึกให้เขาเดินโดยเราไม่ต้องจูงมือ และหลังจากน้ันก็ค่อย ๆ ปลอ่ ยใหเ้ ขาเดินเองโดยท่ีเราไม่จาเปน็ ตอ้ งเดนิ ตามไป แตอ่ าจจะยงั คอยสง่ เสียงสอนเขาเป็นระยะ ๆ

๓ ๓) ชว่ ยใหอ้ งคค์ วามรู้ในองค์กรถูกถา่ ยทอดไปอย่างถูกต้อง การสอนงานที่เป็นระบบจะช่วยให้องค์ความรู้ท่ีเกิดจากเทคโนโลยี ประสบการณ์และทักษะของคน ในองค์การถูกถ่ายทอดไปสู่คนรุ่นต่อ ๆ ไปอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ ลดการพ่ึงพิงความสามารถ เฉพาะตวั ของคนบางคน บางกลุ่มลง กล่าวโดยสรุป การสอนงานมีประโยชน์ท้ังต่อผู้ได้รับการสอนงาน ผู้สอนงาน และต่อองค์กร โดยการ สอนงานจะช่วยพัฒนาความรู้ความเข้าใจ ทักษะในการทางานให้ผู้รับการสอนงาน สาหรับผู้สอนงานน้ัน การสอนงานถือว่าเป็นการมอบหมายงานที่มีประโยชน์ และช่วยพัฒนาสมั พนั ธภาพระหว่างผู้ปฏบิ ตั ิงานด้วยกัน สาหรับประโยชน์ต่อองค์กรแล้ว เมื่อพิจารณาในเรื่องค่าใช้จ่าย จะเห็นว่า มีค่าใช้จ่ายน้อยมากเมื่อเทียบกับ ค่าใชจ้ า่ ยทเ่ี กิดขึ้นกับการจดั ฝึกอบรมในลกั ษณะเต็มรูปแบบ

๔ สว่ นที่ ๒ หลกั การ บทบาทของผบู้ งั คบั บญั ชา ปจั จยั สาคัญในการสอนงาน ๒.๑ หลักการในการสอนงาน หลักในการสอนงานของผ้บู งั คบั บญั ชา ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ผู้สอนงานต้องชแี้ จงให้ผรู้ บั การสอนงานใหเ้ ข้าใจวตั ถปุ ระสงคข์ องการสอน ๒) ผสู้ อนงานตอ้ งทาใหผ้ ้รู บั การสอนงานสนใจเรียนรู้งานทจี่ ะสอน ๓) ผู้สอนงานตอ้ งม่งุ ผลของการสอนงาน โดยคานงึ ถงึ ผูร้ บั การสอนงานเป็นสาคญั ๔) ผู้สอนงานต้องให้ผู้รับการสอนงานรู้ว่างานอยู่ในขั้นตอนไหน และจัดการสอนให้มีสภาพเหมือน ปฏบิ ัติงานจริง ทาใหผ้ รู้ บั การสอนงานมีส่วนร่วมในการเรยี นรอู้ ย่างสมบูรณ์ ๕) ทาโปรมแกรมการสอนงานให้เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรขู้ องผู้รับการสอนงาน ๒.๒ บทบาทของผบู้ งั คบั บญั ชาในการสอนงาน บทบาทของผู้บังคับบัญชา คือ การสร้างทีมงานท่ีเข็มแข็ง มอบหมายให้ทุกคนร่วมกันทางาน นาไป สจู่ ดุ หมายเดียวกนั คอยดแู ลเม่อื มีปัญหาตดิ ขัด และชแ้ี นะแนวทางใหผ้ ู้ใต้บังคบั บญั ชาเกิดแง่คิดในการปรับปรุง วิธีการทางานให้สะดวกข้ึน เบาแรงข้ึน ผู้บังคับบัญชาจะต้องมีความอดทน อดกลั้นในการท่ีจะสอนงานให้แก่ ผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างจริงจัง และจริงใจด้วยความรัก และความหวังดี เพื่อให้เขามีโอกาสก้าวหน้าในหน้าที่ การงาน กล่าวโดยสรุป ผู้บังคับบัญชา มีบทบาทที่เกี่ยวข้องกับการสอนงานที่ควรยึดถือเป็นแนวทางปฏิบัติ หลายประการ อนั ไดแ้ ก่ ๑) สง่ เสริม ซึง่ การสอนงานโดยการส่งเสริมจะแตกต่างกับการสั่งสอน การสง่ เสรมิ จะเปน็ การกระตุ้น ใหผ้ ูร้ บั การสอนงานรจู้ กั คิดและกระทาดว้ ยตนเอง ๒) สร้างสรรค์ โดยการสร้างบรรยากาศของความไว้วางใจ ให้เกิดความเชื่อมั่นว่า สถานท่ีแห่งนี้ คือ ท่ีทางานท่ีเขาสามารถทุ่มเทและทางานได้โดยไม่ต้องกังวลใด ๆ หากเกิดข้อผิดพลาดจากการทางานข้ึนมา น่ันก็เป็นส่งิ ทจี่ ะตอ้ งเรยี นรู้ ๓) กระตนุ้ เพือ่ ใหค้ งความรับผิดชอบในสถานการณ์การเรียนรู้ โดยปรบั ให้สอดคล้องกบั แต่ละบุคคล ๔) ช่วยแกป้ ัญหา ทีเ่ กิดข้นึ จากการปฏิบตั ิและระหว่างการสอนงาน ๒.๓ ปัจจยั สาคญั ในการสอนงาน ปจั จัยสาคัญในการสอนงาน สู่ความสาเรจ็ ดังตอ่ ไปน้ี ๒.๓.๑ จดั ทาคู่มอื และมาตรฐานการทางาน คู่มือ (Manual) และมาตรฐาน (Standard) การทางานถือเป็นรากฐานท่ีสาคัญต่อการสอนงาน เพราะถ้าไม่มีคู่มือ หรือไม่มาตรฐานการทางาน หรือมีแต่ยังไม่เป็นระบบ แม้ว่าการสอนงานจะมีเทคนิคดี เพยี งใด กต็ ามคงไม่สามารถทาให้เกิดประสิทธผิ ลได้อย่างแน่นอน ดังน้ัน ก่อนท่ีจะมีการสอนงานจริง องค์กรต้องม่ันใจว่า ระบบคู่มือ และการมาตรฐานการทางาน ที่เป็นระบบและครบถ้วน การจัดทาคู่มือหรือมาตรฐานการทางานนี้ เป็นจุดเริ่มต้นของการวิเคราะห์งาน เพ่ือการสอนไปในตัวอยู่แล้ว เพราะถ้าผู้ที่จะเป็น Trainer ได้มีโอกาสจัดทา ทบทวน หรือพัฒนาคู่มือและ มาตรฐานการทางานด้วยตัวเองมาแล้ว เมื่อถึงเวลาสอนงานจริงก็จะทาให้ง่ายขึ้น เพราะมีความรู้ลึกรู้จริง ในเรื่องทีจ่ ะสอน

๕ ๒.๓.๒ จัดฝกึ อบรมผู้บงั คับบญั ชา/ผูส้ อนงาน การสอนงานไม่ใช่ว่าจับใครมาสอนก็ได้ ไม่ใช่ทางานเป็น ทางานได้ แล้วจะสอนงานได้ทุกคน เพราะ การสอนงานเป็นกับการทางานเป็นน้ันไม่เหมือนกัน ต้องใช้ทักษะและความสามารถท่ีแตกต่างกัน การทางาน คือ การปฏิบัติงานถูกวิธีได้ผลงานท่ีมีคุณภาพ แต่การสอนงาน คือ การถ่ายทอดสิ่งที่มีไปสู่ผู้เรียน และผลของ การสอน คอื ความรูค้ วามเข้าใจ ทกั ษะและทัศนคตขิ องผู้เรียนที่เปล่ยี นแปลงไปในทางท่ีต้องการ ดังนั้น เพื่อให้ผู้ท่ีทางานเป็น ทางานได้ กลายไปสู่การเป็นผู้สอนงานที่ดี จึงต้องมีการพัฒนาและ ฝึกอบรมให้ผู้บังคับบัญชา หรือผู้สอนงานมีความรู้ความเข้าใจ และมีความสามารถในการวิเคราะห์งาน การ วางแผนการสอน ทกั ษะ และเทคนิคการสอน รวมถึงวิธีการประเมินและตดิ ตามผล ๒.๓.๓ การสอนงานเป็นส่วนหนึ่งของตัวช้ีวัดผลงาน (KPI = Key Performance Indicator) ของ ผบู้ ังคับบญั ชา ผู้บังคับบัญชาหลายคนละเลยการสอนงานลูกน้อง เพราะคิดว่าการสอนงานเป็นภาระมากกว่าเป็น หน้าที่ จึงมัวแต่เอาเวลาไปทางานอ่ืน ทั้งๆที่การสอนงานถือเป็นหน้าที่หลักอย่างหน่ึงของผู้บังคับบัญชา ดังนั้น เพ่ือให้การสอนงานเปน็ ส่ิงสาคัญสาหรับองค์การ จงึ ควรกาหนดตวั ชว้ี ัดผลงานทเ่ี ก่ียวข้องกับการสอนงานให้กับ ผบู้ งั คับบัญชาทุกคน ถอื เปน็ ตวั ชว้ี ดั ทีบ่ ังคับ เช่น ผบู้ ังคบั บญั ชาจะต้องมชี ัว่ โมงสอนงานผู้ใต้บังคบั บัญชาไม่น้อย กว่า ๔ ช่ัวโมงต่อคนต่อปี ผู้ใต้บังคับบัญชาท่ีได้รับการสอนงานจะต้องผ่านการทดสอบ ๑๐๐ เปอร์เซ็นต์ เปน็ ต้น ๒.๓.๔ การจัดทาโครงการ Internal Trainer ในขณะทีต่ วั ชีว้ ดั ผลงานในข้อ ๓ ถอื เปน็ มาตรการบงั คับให้มีการสอนงาน องคก์ ารควรกาหนดมาตรการ ในเชิงบวกเพ่ือการสอนงานไว้ด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งควรจะมีการจัดทาโครงการพัฒนาวิทยากร หรือผู้สอน งานภายในองค์กร มีการวัดประเมินผู้สอนเพื่อเข้าไปอยู่ในทาเนียบวิทยากรขององค์กร อาจจะมีสิ่งจูงใจท่ีเป็น ตัวเงินหรอื ไม่เป็นตัวเงนิ ให้กับผู้ทมี่ ีคุณสมบัตดิ ้านการสอน กล่าวโดยสรุป ในส่วนน้ีผู้ศึกษา ได้ถึงรายละเอียดหลักการในการสอนงาน บทบาทของผู้บังคับบัญชา ในการสอนงาน และปัจจัยสาคัญในการสอนงาน โดยจากศึกษาในส่วนนี้จะนาข้อมูลที่ศึกษาเพื่อนาไปให้ ข้อเสนอแนะการสอนงาน ตอ่ ไป

๖ สว่ นที่ ๓ คุณสมบตั ขิ องผู้สอนงาน และกระบวนการสอนงาน ๓.๑ คณุ สมบัตขิ องผู้สอนงาน ผู้สอนงาน (Coach) หรือ ผู้บังคับบัญชา จะต้องมีภาระหน้าท่ีงานในการบริหารทั้งงานของตนเองและ การบริหารผู้ใต้บังคับบัญชาท่ีตนต้องดูแลรับผิดชอบ หากผู้บังคับบัญชาสามารถบริหารจัดการงานที่ได้รั บ มอบหมาย และบริหารผู้ใต้บังคับบัญชาของตนดีพอแล้ว ผลที่ตามมาก็คือ การปฏิบัติงานที่บรรลุถึงเป้าหมาย ทหี่ น่วยงานและองคก์ รตอ้ งการ ในแง่มุมของการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลน้ันถือได้ว่าเป็นภารกิจ หรือหน้าท่ีสาคัญท่ี ผู้บังคับบัญชาต้องตระหนัก และให้ความสาคัญเป็นอย่างมาก และเพื่อให้การบริหารงาน และบริหาร ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนประสบความสาเร็จ คุณสมบัติ หรือความสามารถหลักที่มีส่วนผลักดัน และเก้ือหนุน ให้ภาระหนา้ ทีข่ องผูบ้ ังคบั บญั ชาบรรลเุ ป้าหมาย และเปน็ คุณสมบตั ิท่ีผบู้ ังคับบญั ชาพงึ มี คณุ สมบัตขิ องผสู้ อนงาน ดงั ตอ่ ไปนี้ ๓.๑.๑ ทักษะในการวางแผนงาน หมายถึง ความสามารถในการจัดลาดับ และความสาคัญของงาน ท่ีเรง่ ดว่ น และการกาหนดแผนการปฏบิ ัตงิ านสาหรบั ท่เี ป็นงานประจา และงานท่เี ร่งด่วนได้ รวมท้ังการกาหนด ผลท่ีคาดหวังของงานท่ีปฏิบัติ และการหาวิธีประเมินผลการปฏิบัติงานของตนเอง และของผู้ใต้บังคับบัญชา ทอ่ี ยู่ในทมี งาน พฤติกรรมที่แสดงออกมา ดังน้ี ๑) ระบไุ ด้ถึงกจิ กรรม หรอื งานทง้ั หมดทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ๒) กาหนดเป้าหมายและความสาเรจ็ ของงาน ๓) จัดเรียงลาดบั ความสาคัญของงานกอ่ นหลังได้ ๔) ปรับเปลี่ยนแผนการปฏบิ ัติงานท่ีกาหนดขน้ึ ไดต้ ามสถานการณ์ หรือความเร่งดว่ นของงาน ๕) ตรวจสอบและประเมินผลแผนงานและเป้าหมายทก่ี าหนดขึน้ ๓.๑.๒ ทักษะการมุ่งเน้นที่ผลลัพธ์ หมายถึง ความสามารถในการปฏิบัติงานให้สาเร็จได้ตาม เป้าหมายที่กาหนด การจัดสรรทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือสร้างประสิทธภิ าพ และประสิทธผิ ล ในการปฏิบัตงิ านของหนว่ ยงานและองค์กร พฤติกรรมทแี่ สดงออกมา ดังน้ี ๑) สามารถปฏบิ ัตงิ านทไี่ ด้รับมอบหมายให้เสรจ็ ตาม หรือเรว็ กวา่ แผนงานทกี่ าหนด ๒) ตรวจสอบคณุ ภาพของผลงานก่อนทจ่ี ะสง่ มอบทกุ ครง้ั ๓) คาดการณถ์ ึงปัญหา และผลกระทบทอ่ี าจจะเกดิ ขึน้ และเสนอแนะวิธกี ารแก้ไขได้ ๔) แสวงหาขอ้ มลู ป้อนกลบั ของผลการปฏิบตั งิ านของตนจากบคุ คลตา่ ง ๆ อยู่เสมอ ๕) แสวงหาโอกาสท่จี ะเพม่ิ และปรบั ปรุงทกั ษะในการปฏิบัตงิ านของตน ๖) ประเมนิ ประสทิ ธภิ าพในผลการปฏิบตั ิงานของตน และหาวธิ ีการปรับปรุงแกไ้ ขอยู่เสมอ ๓.๑.๓ ทักษะในการรับฟัง หมายถึง การแสดงออกถึงความเข้าใจ การรับฟังความคิดเห็น ประเด็น ปัญหา เหตกุ ารณ์ และเรือ่ งราวตา่ ง ๆ ของผอู้ ่ืน รวมทงั้ ความสามารถในการโต้ตอบผฟู้ งั ได้อย่างเหมาะสม พฤตกิ รรมทแี่ สดงออกมา ดังน้ี ๑) เปิดโอกาสให้ผู้ฟังต้ังคาถามเพ่ือสอบถามข้อสงสยั ตา่ ง ๆ ๒) กระตุ้นใหผ้ ฟู้ งั นาเสนอประเด็นปญั หา หรอื ขอ้ กังวลใจตา่ ง ๆ ทเ่ี กดิ ขน้ึ

๗ ๓) รบั ฟังความคิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะตา่ ง ๆ จากผูอ้ ่ืนอยา่ งต้งั ใจ ๔) ไม่พูดสอดแทรกในขณะท่ีมกี ารนาเสนอคาถาม หรือประเดน็ ปัญหาตา่ ง ๆ ๓.๑.๔ ทักษะในการส่ือสาร หมายถึง การสื่อสารด้วยการใชค้ าพูดเพื่ออธิบาย ชี้แจง โน้นน้าว ชักจูง และแสดงความคิดเหน็ ต่าง ๆ ให้ผู้ฟังเข้าใจอย่างชัดเจน รวมทัง้ การปรับเปล่ียนวธิ ีการ และลักษณะของคาพูด ที่ใช้ให้เหมาะสม และสอดคลอ้ งกบั กลมุ่ ผฟู้ งั ในระดบั ท่แี ตกตา่ งกนั ได้ พฤตกิ รรมที่แสดงออกมา ดงั น้ี ๑) อธิบาย และชแี้ จงประเด็นต่าง ๆ ได้อยา่ งชัดเจนและเป็นระบบ ๒) ยกตัวอยา่ ง และประสบการณ์ท่ีบรรลุผลสาเรจ็ (Best Practice) เพือ่ สร้างภาพและความเข้าใจที่ ตรงกัน ๓) ตอบคาถามของผูฟ้ ังในแง่มมุ ตา่ ง ๆ ได้อย่างตรงประเด็น ๔) โน้นนา้ วให้ผู้ฟังแลกเปลย่ี นประสบการณ์ และแสดงความคิดเห็นซงึ่ กนั และกนั ๕) ปรับเปล่ียนระดับนา้ เสยี ง และวิธกี ารในการพดู ตามพฤตกิ รรมทแ่ี สดงออกของบคุ คลต่าง ๆ ๖) สรุปประเด็น และสาระสาคัญต่าง ๆ ของเร่ืองที่พูดไดอ้ ยา่ งชัดเจน ๓.๑.๕ ทักษะในการคาดคะเนการพยากรณ์ หมายถึง การกาหนดกรอบ และปัจจัยท่ีควรคานึกถึง ในการพยากรณ์ รวมท้ัง ความสามารถในการวิเคราะห์แนวโน้มของเหตุการณ์ ผลกระทบ และปัญหาท่ีอาจจะ เกิดขึน้ จากการตัดสินใจทม่ี ีต่อเรอื่ งใดเรื่องหนง่ึ ได้ พฤตกิ รรมท่แี สดงออกมา ดังนี้ ๑) วิเคราะหไ์ ดถ้ ึงประโยชน์ และผลกระทบท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ จาการตดั สนิ ใจทีม่ ีต่อเร่ืองใดเรื่องหน่ึง ๒) ระบุได้ถงึ หลักการรปู แบบ หรอื ปัจจัยทจ่ี ะต้องตระหนักถงึ ในการพยากรณเ์ หตุการณท์ เ่ี กิดขึน้ ๓) อ้างอิงประสบการณ์ของตนท้ังทางดา้ นดี และไมด่ ปี ระกอบการคาดคะเนได้ ๔) แสวงหาข้อมลู ประกอบการคาดคะเนถึงสถานการณ์ หรอื ปัญหาท่ีอาจจะเกดิ ขน้ึ กบั ทีมงาน ๕) ประเมินประสทิ ธิภาพของตนในการพยากรณ์ถงึ เหตุการณ์ หรือปัญหาท่เี กิดขึน้ ๓.๑.๖ ทักษะในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล หมายถึง การวิเคราะห์ และประเมินจุดแข็ง และ จุดอ่อนของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน เป็นการหาวิธีการ หรือหนทางที่จะเสริมจุดแข็ง และพัฒนาจุดอ่อน ซ่งึ เปน็ จดุ ท่ตี อ้ งปรับปรุงของผใู้ ต้บังคับบัญชาให้ดีข้นึ พฤติกรรมทแ่ี สดงออกมา ดงั นี้ ๑) ระบไุ ด้ถงึ จดุ แข็ง และจุดอ่อนท่จี าเปน็ ตอ้ งพฒั นาของผู้ใต้บงั คับบัญชาแตล่ ะคน ๒) ช้ีแนะแนวทาง และวิธีการในการพฒั นาความรู้ และทักษะในการปฏิบตั ิงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ ๓) ปรับเปล่ยี นเทคนิค และวธิ กี ารทจี่ ะพฒั นาความรู้ และทักษะของใหเ้ หมาะสมกบั แตล่ ะคน ๔) ประเมนิ ความสามารถ และศักยภาพในการปฏบิ ัตงิ านของผใู้ ตบ้ ังคับบัญชาแต่ละคน ๕) ใหข้ ้อมลู ปอ้ นกลับแกผ่ ใู้ ต้บังคับบัญชาถงึ ความรู้ และทกั ษะท่ีจาเปน็ ตอ้ งพฒั นาเพ่ิมเติม ๓.๑.๗ ทักษะในการเรียนรู้ หมายถึง ความสามารถในการรับรู้ข้อมูล และรายละเอียดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานที่รับผิดชอบได้อย่างรวดเร็ว รวมทั้ง ความกระตือรือร้น และความพยายามที่จะแสวงหา โอกาสในการเรยี นรู้งานที่ตนรับผดิ ชอบทง้ั งานในปัจจุบนั และงานใหม่ ๆ อยเู่ สมอ พฤติกรรมทีแ่ สดงออกมา ดงั น้ี ๑) แสดงออกถึงความตั้งใจทจ่ี ะเรยี นรูง้ านที่รับผิดชอบอยใู่ นปจั จบุ นั และงานใหม่ ๆ ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ ๒) สามารถเรียนรู้ขอ้ มูล และรายละเอยี ดของงานจากผสู้ อนงานไดอ้ ย่างรวดเร็ว

๘ ๓) แสวงหาโอกาสที่จะเรียนรูง้ านทีร่ บั ผดิ ชอบจากผู้อืน่ ทงั้ ภายใน และภายนอกหน่วยงาน ๔) แสดงออกถึงความมุ่งมั่งท่ีจะพัฒนาตนเองจากการเรียนรู้งานท้ังสายงานของตน และสายงานอ่ืน ทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๕) ค้นควา้ หาขอ้ มลู ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกับสายวิชาชพี ของตนจากแหล่งข้อมลู ตา่ ง ๆ ๓.๒ กระบวนการในการสอนงาน กระบวนการสอนงาน (Coaching) ประกอบดว้ ย ๔ ขัน้ ตอน ดังตอ่ ไปนี้ ๓.๒.๑ บอกให้ฟง้ (Clarifying Needs) การอธิบายความต้องการในการสอนงานให้เข้าใจในวัตถุประสงค์ และความจาเป็นของการสอนงาน ท่ีสาคัญคือ ต้องระวังในการพูด เพื่อไม่ให้ผู้รับการสอนงานต่อต้าน โดยต้องพูดไม่ให้เป็นการตาหนิ แต่เน้นให้ ผลเสียของการกระทา และประโยชน์ท่ีจะเกิดขนึ้ จากการสอนงาน ๓.๒.๒ ตั้งเป้าเหมาย (Objective Setting) ภายหลังจากที่ความเข้าใจกันดีแล้ว ถัดมาจะเป็นการกาหนดเป้าหมาย ในการสอนงานร่วมกัน ควรมี เร่ืองอะไรบ้างทเี่ ขาควรรู้เพ่ิม หรือเรื่องอะไรบ้างที่ควรฝึกฝนเพ่ิมเติม โดยเขยี นผลลพั ธ์ที่อยากให้เปน็ ให้ชัดเจน และเป็นไปได้จริงลองสารวจดูกันด้วยว่าใครเป็นผู้มีส่วนได้เสียกับงานน้บี ้าง เราจะทาให้งานอะไรท่ีจะออกมาดี สาหรับทุกคน ๓.๒.๓ ร่วมเขียนแผน (Action Plan Designing) ท้ังผู้สอนงานและผู้รับการสอนงานร่วมกันวางแผนปฏิบัติการโดยดูจากวัตถุประสงค์ และผลลัพธ์ ท่ีต้องการว่าควรมีกิจกรรมอะไรท่ีจะทาเพ่ือการสอนงาน ให้เจาะจงพฤติกรรมที่ควรแก้ไข ทักษะที่ควรฝึกฝน เพิ่มเติม รู้สึกแค่ไหน เข้าใจ ทาได้ หรือแม่นยา ให้เวลาเท่าไหร่ ทาเม่ือใด จะประชุมตามผลกันอีกเมื่อไร ลงในแผนงานชัดเจน ๓.๒.๔ แม่นประเมิน (Checking Activities) ในข้ันตอนนีจ้ ะต้องใหผ้ ูร้ บั การสอนงานไดล้ องปฏิบัติจริงตามท่ีได้วางแผนไว้ หรอื ถา้ ปฏิบัติจริงแล้วอาจ อนั ตรายตอ่ ผูอ้ ่นื เช่น การขับเครื่องบินกค็ วรใหล้ องทาในแบบจาลอง (Simulation) เปน็ ตน้ ผูส้ อนงานมีหน้าที่ สังเกตการณ์ในขณะปฏบิ ัติงานจริง ตรวจประเมินดกู ิจกรรมท่ีทา ประเมินดูผลลัพธ์ และความคืบหนา้ ตามแผน ทว่ี างไว้ อาจเข้าแทรกแซงถา้ จะก่อให้เกิดความเสียหายได้ แลว้ ใหข้ อ้ มลู ยอ้ นกลับ (Feed back) ในแต่ละวัน หรือในวันนัดประชุม การให้ข้อมูลย้อนกลับ หรือผลการประเมินน้ีผู้สอนงานอาจเป็น ผปู้ ระเมิน หรอื ขอข้อมูลยอ้ นกลับจากคนอน่ื เช่น ผู้ร่วมงาน (ทอี่ าวโุ สกวา่ ) หรอื ใหผ้ ูถ้ กู สอนประเมินตนเอง และ วนกระบวนการนไ้ี ปเรอื่ ย ๆ จนกระทง่ั ผรู้ ับการสอนงานมคี วามสามารถมีทกั ษะได้อย่างทรี่ ่วมกนั ต้งั เป้าหมายไว้ กล่าวโดยสรุป ในส่วนนี้ผู้ศึกษา ได้ถึงรายละเอียดคุณสมบัติของผู้สอนงาน และกระบวนการสอนงาน โดยจากศกึ ษาในสว่ นนจ้ี ะนาข้อมลู ที่ศึกษาเพอ่ื นาไปให้ข้อเสนอแนะการสอนงาน ตอ่ ไป

๙ ส่วนท่ี ๔ เทคนิคการสอนงานที่มีประสทิ ธภิ าพ และขอ้ จากดั การสอนงาน ๔.๑ เทคนิคการสอนงานทมี่ ีประสิทธภิ าพ เทคนิคการสอนงานอย่างมีประสิทธิภาพ เป็นเทคนิคท่ีมุ่งเน้นไปท่ีผู้บังคับบัญชาที่มีหน้าท่ีในการ สอนงาน ดงั ต่อไปน้ี ๔.๑.๑ เทคนิคการสงั เกต (Observation) ในการสอนงาน (Coaching) หลายครั้งท่ีผู้สอนงานต้องการข้อมูลเชิงพฤติกรรมของผู้รับการสอนงาน (Coachee) ซึ่งไม่สามารถหาได้จากรายงาน จึงจาเป็นต้องสังเกตดูวา่ พฤติกรรมของเขาเป็นอย่างไรในเร่ืองนั้น ๆ เช่น น้าเสียงในการตอบรับโทรศัพท์กับผู้มาติดต่องานที่ฟังดูแล้วไม่น่าฟัง ผู้สอนงานอาจเป็นผู้สังเกตเห็น พฤติกรรมน้ันเอง หรืออาจถามจากคนที่ไว้ใจได้ ท้ังในแง่ของการที่เขาเป็นนักสังเกตท่ีดูแบบเป็นกลาง คือ เห็นข้อมูลที่แท้จริง มีอาการอย่างไร ทาอย่างไร ๆไม่ใช่เติมอารมณ์สีสันมากเกินจริง หรือเอาเร่ืองที่เราถามไป เล่าต่อ ๆ กันจนผู้รับการสอนงาน อาจเข้าใจผิดนึกว่ากาลังถูกจับผิดอยู่ก็เป็นได้ ท้ังที่จริงแล้วเป็นการพยายาม ชว่ ยใหเ้ ขาพัฒนาศักยภาพมากข้นึ การสังเกตทาเพื่อไม่ให้เราเพียงแต่คาดเดาเอาว่าเขาเป็นอย่างไร ซึ่งเป็นการด่วนตัดสินไป เราสังเกต เพ่ือให้เห็นว่าเขาทาอะไร ได้ผลหรือไม่ อย่างไร แค่ไหน มีผลกระทบต่อผู้อ่ืน หรืองานอย่างไร และท่ีสาคัญตัว เราเองซึ่งอาจเป็นผู้บังคับบัญชาของเขาเป็นส่วนหน่ึงของปัญหาด้วยหรือเปล่า ไม่ว่าจะเป็นโดยต้ังใจ หรือไม่ ต้งั ใจกต็ าม ๔.๑.๒ เทคนคิ การให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ (Feedback) โดยท่ัวไปเน้นการให้ข้อมูลย้อนกลับกับผู้รับการสอนงาน (Coachee) โดยการบรรยายให้เห็นภาพ ชัดเจนว่าเขาทาอะไรอย่างไร มากกว่าทาให้รู้สึกอย่างไร เพื่อลดความขัดแย้งกันในเรื่องที่ไม่เป็นรูปธรรม และ ไม่ชัดเจน หากคุยเน้นกันท่ีลักษณะพฤติกรรมและผลที่เกิดข้ึนแทน ผู้รับการสอนงานก็จะสามารถนาข้อมูล ยอ้ นกลบั น้ีไปปรบั ปรงุ พฤตกิ รรมของตัวเองได้ โดยเฉพาะถา้ สามารถระบุเฉพาะเจาะจงลงไปในข้อท่ีควรปรบั ปรุงให้ย่งิ ชดั เจนกจ็ ะยง่ิ ง่ายต่อการพัฒนา เชน่ “เสียงของนอ้ งเวลาที่พูดอาจจะหว้ น และต่าไปนดิ ถา้ น้องสามารถลากหางเสียงให้ยาวขึน้ และนุ่มนวลขึ้น” ผ้ฟู ังอาจจะรู้สกึ ดมี ากข้นึ ไม่ใชบ่ อกวา่ “เสยี งเธอนพ้ี ดู แล้วฟังไมไ่ ด้ ฟังแลว้ บาดหทู กุ ทีซิ” เป็นต้น ๔.๑.๓ เทคนคิ ในการทาให้พ้องกนั ในความเป็นจริงแล้วไม่จาเป็นต้องให้ผู้รับการสอนงาน (Coachee) เห็นพ้องกับผู้สอนงานทุกเรื่อง เพียงแต่ในเร่ืองท่ีเห็นชัดว่าจาเป็นต้องทาแบบนี้แบบน้ัน หากผู้ถูกประเมินยังไม่อยากเปล่ียนแปลง ผู้สอนงาน จาเป็นต้องใช้วิธีค่อย ๆ พูดคุยชี้แจงให้เขาเข้าใจในความสาคัญของการพัฒนาตรงส่วนนี้ อาจโดยการดึงให้คู่ สนทนาเขา้ รว่ มการอภปิ รายกบั ผ้สู อนงานในเรอ่ื งทคี่ วรปรับปรุง เพื่อให้ผู้รับการสอนงานได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับผู้สอนงาน ซึ่งในบางครั้งอาจพบว่าที่เขามี พฤติกรรมอย่างนั้นเป็นเพราะข้อจากัดต่าง ๆ จริง ๆ มิใช่เขาไม่อยากทาในแบบท่ีควรก็ได้ ซ่ึงผู้สอนงานควรจะ ได้นาข้อมูลไปใช้ในการแก้ไขปัญหาจริงตามนั้น ซึ่งอาจเป็นเร่ืองของระบบที่ไม้เข้าที่ วิธีการปฏิบัติงานของคน หลากหลาย หรือแมแ้ ต่ตัวเราเอง ผู้รับการสอนงาน (Coachee) บางคนชอบให้ผู้สอนงานพูดตรง ๆ ว่าต้องการจะให้ปรับปรุงในเรื่องใด อย่างไร แต่ในขณะท่ีบางคนชอบให้พดู อ้อม ๆ ผสู้ อนงานคงตอ้ งสงั เกต ถามจากคนใกลช้ ดิ หรือถามตัวผ้รู ับการ สอนงาน (Coachee) เองดว้ ยวา่ ชอบแนวไหน จะได้นามาปรับใหเ้ ข้ากบั การสอน

๑๐ คนท่ีชอบพูดตรง ๆ แต่ผู้สอนงานกลับไปพูดอ้อมค้อมด้วย อาจทาให้ผู้รับการสอนเข้วใจผิดไปได้ว่า ผู้สอนงานไม่จริงใจ มีอะไรก็ไม่คุยกันตรง ๆ หรือบางคนอาจเกิดความราคาญพาลให้หงุดหงิดกันไป กับคนที่ ชอบให้พูดอ้อม ๆ ถ้าผู้สอนงานพูดตรง ๆ มาอาจตกใจทนรับคาพูดไม่ได้ บางคนถึงขนาดน้อยใจร้องไห้บ้างก็มี ทาให้เรอื่ งบานปลายกันไปได้ ซงึ่ ทจ่ี รงิ แล้วมาจากเพยี งแค่ “พูดตรง หรอื พดู อ้อม” เทา่ น้ันเอง กล่าวโดยสรุป เทคนิคการสอนงานอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ดงั น้ี ๑) ผู้สอนงานต้องมีความรู้ความเข้าใจในระบบงานอย่างละเอียด สามารถตอบคาถามของผู้รับ การสอนงานได้ และเข้าใจถึงจดุ มุง่ หมายในการทางาน เพ่อื ที่จะบรรลเุ ปา้ หมายขององค์กร ๒) ผู้สอนงานตอ้ งเตม็ ใจท่จี ะให้ความรแู้ ก่ผู้ปฏบิ ัตงิ าน ๓) ผู้สอนงานต้องเต็มใจท่ีจะเสียสละเวลาบางส่วนเพ่ือการสอนงาน ซ่ึงในบางคร้ังอาจใช้เวลานาน พอสมควร ๔) ผู้สอนงาน และผู้รับการสอนงานต้องมีความเชื่อใจซึ่งกันและกัน และม่ันใจในแนวทาง การสอนงาน ๔.๒ ข้อจากดั การสอนงาน ขอ้ จากดั การสอนงาน มดี งั นี้ ๑) การสอนงานได้ผลมาก หรือน้อย ข้ึนอยู่กับความสามารถของผู้สอน และเทคนิควิธีการสอนเป็น ความสาคญั ๒) การสอนงานต้องใช้เวลา จึงเป็นการยากที่ผู้บังคับบัญชาจะสละเวลาของตนเป็นเวลานาน ๆ ให้กบั การสอนงาน และตดิ ตามผลการสอน ๓) ในบางกรณีผู้รบั การสอนงาน อาจกลายเปน็ ผูท้ ่ีแอบลอกเลยี นแบบพฤติกรรมของผสู้ อนงานได้

๑๑ ส่วนที่ ๕ ข้อเสนอแนะสาหรบั การสอนงาน ๕.๑ ข้อเสนอแนะสาหรบั การสอนงานของผูอ้ านวยการกลุม่ ผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลเก่ียวกับการสอนงาน และในฐานะท่ีเป็นผู้อานวยการกลุ่ม ตอ้ งสามารถสอนงานใหก้ บั ผ้ใู ต้บังคับบัญชา ดงั ตอ่ ไปน้ี ๑) ผู้อานวยการกลุ่ม ต้องมคี วามรอบรู้และเข้าใจส่งิ ท่ีจะสอนอย่างชัดแจ้ง และมีประสบการณ์ ในส่ิง ทจ่ี ะสอนอย่างเพียงพอ ๒) ผู้อานวยการกลุ่ม ต้องมีทัศนคติทด่ี ี กระตือรือรน้ ทจี่ ะสอน เพราะการสอนงานต้องใช้ความอดทน และความพยายามเปน็ อย่างมาก ๓) ผู้อานวยการกลมุ่ ตอ้ งพร้อมทีจ่ ะรบั ฟงั คาติ ชม จากผู้ใต้บังคับบญั ชา ๔) ผูอ้ านวยการกลุ่ม ตอ้ งคานึงถงึ ทฤษฎีการเรียนรขู้ องผใู้ หญ่ในการสอนงาน ๕) ผอู้ านวยการกลุ่ม ตอ้ งให้ผใู้ ต้บังคับบัญชาลงมือทาดว้ ยตนเอง และอย่าควบคุมมากจนเกนิ ไป ๖) ผู้อานวยการกลุ่ม ต้องให้คาแนะนา และเตือนผู้ใต้บังคับบัญชาก่อนที่จะลงมือปฏิบัติบางคร้ัง อนั ตรายท่ีเกิดจากความผิดพลาดอาจมีผลร้ายแรง ๗) ผู้อานวยการกลุ่ม ต้องสังเกตข้อบกพร่องของผู้ใต้บังคับบัญชาไว้ และพิจารณาให้คาแนะนา และ ขอ้ แก้ไขท่จี ะช่วยอานวยประโยชนท์ ่สี ุด ๘) ผู้อานวยการกลุ่ม ต้องช่วยเหลือเฉพาะที่จาเป็นเน้นให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบถึงหน้าท่ีความ รับผิดชอบในงานที่ปฏบิ ตั อิ ยู่ ๙) ผู้อานวยการกลุ่ม ไม่ควรจ้ีจุดผิดพลาดของผู้ใต้บังคับบัญชา แต่ควรหาวิธีให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้ ไตรต่ รองด้วยตนเองว่าส่ิงที่ผดิ พลาดนัน้ เกิดจากอะไร และมีวธิ แี ก้ไขอย่างไร ๕.๒ ขอ้ เสนอแนะสาหรับผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชา ๑) ผู้ใต้บังคับบัญชา ซ่ึงเป็นผู้รับการสอนงาน ต้องเตรียมตัว และเตรียมใจให้พร้อมสาหรับการรับ การสอนงานจากผู้บังคับบัญชา ๒) ผู้ใต้บังคับบัญชา ซึ่งเป็นผู้รับการสอนงาน ต้องมีทัศนคติท่ีดีต่อผู้บังคับบัญชาในขณะรับ การสอนงาน ๓) ในขณะทผ่ี ูบ้ ังคบั บัญชากาลังสอนงาน ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชาต้องไมค่ วรพูดสอดแทรก ให้ผบู้ ังคับบัญชา สอนงานเสรจ็ ก่อน จึงแสดงความคิดเห็น หรือซกั ถามในประเดน็ ท่ไี มเ่ ขา้ ใจ

๑๒ เอกสารอา้ งองิ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถน่ิ . “เอกสารความรู้ เรอ่ื ง การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM) กับการบริหารราชการสมยั ใหม่ ตอน การสอนงาน เพ่ือการถ่ายทอดความร้ใู นองคก์ ร.” กองฝึกอบรม กรมที่ดนิ . การสอนงาน/สอนแนะงาน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑. กรุงเทพมหานคร: พิมพท์ ่ี กองฝึกอบรม กรมท่ดี ิน อาคารรฐั ประศาสนภักดี ศูนย์ราชการ(อาคาร บี),๒๕๕๘. ณรงคว์ ิทย์ แสนทอง.(๒๕๖๐). “ระบบการสอนงานในองค์กรท่มี ีประสิทธิภาพ.”, ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓ ละเอียด พุ่มพู. “การสอนงานบลุ ากรในองค์กร.” http://www.acn.ac.th/articles/mod/forum/discuss.php?d=100, ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓ สานักงาน ก.พ.. “หลักสูตรท่ี ๓ การสอนงาน.” เปดิ โลกความรู้ พฒั นาทนุ มนุษย.์ http://www.ocsc.go.th, ๑๓ มกราคม ๒๕๖๓ สมติ สชั ฌกุ ร. “เทคนิคการสอนงาน”. http://silpakornkm.blogspot.com/2016/08/blog-post.html?m=0, ๑๔ มกราคม ๒๕๖๓

ชื่อ - นามสกุล ๑๓ ประวัติการศึกษา ประวตั ิของผูศ้ กึ ษา ตาแหนง่ และสถานท่ีทางานปจั จุบนั นายพสิ ทุ ธศิ กั ด์ิ โรจนหสั ดิน ความรคู้ วามสามารถพเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๔๘ นติ ิศาสตรบัณฑิต มหาวทิ ยาลัยรามคาแหง การดงู าน พ.ศ. ๒๕๖๒ นติ ศิ าสตรมหาบัณฑิต ๒๔ พ.ย. ๖๐ สาขากฎหมายมหาชน ๑๕ ธ.ค. ๖๐ มหาวทิ ยาลยั ธรุ กจิ บณั ฑิตย์ ๒๒ ธ.ค. ๖๐ พ.ศ. ๒๕๕๐ ประกาศนยี บัตร การฝกึ อบรม หลกั สตู รวิชาวา่ ความของสานักฝกึ อบรม ๓๐ - ๓๑ ก.ค. ๕๒ วชิ าว่าความแห่งสภาทนายความ ร่นุ ที่ ๒๗ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓ - ๕ ก.ค. ๕๕ นติ ิกรปฏิบตั ิการ กลุ่มกฎหมาย สานักจรรยาบรรณวิชาชพี และนติ กิ าร สานกั งานเลขาธิการครุ ุสภา รา่ งกฎหมาย อนั ได้แก่ ร่างพระราชบญั ญตั ิสภาครู และบคุ ลากรทางการศึกษา พ.ศ. .... ร่างขอ้ บังคับครุ สุ ภา ว่าดว้ ยใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (ฉบบั ที่ ๒) พ.ศ. .... เป็นต้น การสืบสวนขอ้ เทจ็ จรงิ การสอบสวนวินัย การสอบข้อเทจ็ จริงความรบั ผิดทางละเมดิ ศึกษาดูงานและฝกึ ภาคปฏิบัติดา้ นกฎหมาย สาหรับผเู้ ข้ารับ การอบรมหลักสตู รประกาศนียบตั รกฎหมายมหาชน รุน่ ๔๔ ณ สานักงานคณะกรรมการกฤษฎกี า ศกึ ษาดงู านและฝกึ ภาคปฏบิ ัติด้านกฎหมาย สาหรบั ผเู้ ขา้ รับ การอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน รุ่น ๔๔ ณ สานกั งานศาลปกครอง ศึกษาดงู านและฝึกภาคปฏิบตั ิด้านกฎหมาย สาหรบั ผู้เข้ารบั การอบรมหลักสตู รประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน รุ่น ๔๔ ณ สานกั งานคณะกรรมการการเลือกตงั้ เทคนคิ การสืบสวนสอบสวนและมาตรการบังคบั ทางปกครอง สาหรับมหาวิทยาลัยและสถาบัน ณ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยี พระจอมเกล้าธนบุรี การเขียนหนงั สือราชการ หนังสอื โต้ตอบ และรายงานการประชมุ ณ มหาวิทยาลยั สโุ ขทัยธรรมาธิราช

๑๖ - ๒๖ ก.ค. ๕๕ ๑๔ ๒๙ - ๓๐ ส.ค. ๕๕ การดาเนินการทางวนิ ยั อย่างร้ายแรง และกฎหมายปกครอง ๒๖ - ๒๘ ม.ี ค. ๕๗ สาหรบั ผู้จะเป็นกรรมการสอบสวน ๒ ต.ค.๖๐ - ๑๓ ม.ค.๖๑ จัดโดยสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน รางวัลทไ่ี ด้รบั ณ โรงแรมเอเวอร์ กรนี ฮลิ ล์ กอลฟ์ คลบั แอนด์ รสี อรท์ จงั หวดั กาญจนบุรี การดาเนินการทางจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชพี ทางการศึกษา จัดโดยสานักงานเลขาธกิ ารครุ ุสภา ณ โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ กรุงเทพมหานคร การอบรมหลักสตู รเผยแพร่ความรู้และพัฒนากฎหมาย ทีเ่ ก่ียวข้องกับการจดั การศึกษาของประชาคมอาเซียน จดั โดยกระทรวงศึกษาธิการ ณ โรงแรมไอยรา แกรนด์ จังหวดั ชลบรุ ี โครงการอบรมหลกั สูตรประกาศนียบัตรกฎหมายมหาชน รุ่น ๔๔ จดั โดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เกียรตบิ ตั ร พนักงานเจ้าหน้าที่ไดม้ าปฏิบตั งิ านด้วยความอุตสาหะ มไิ ด้ลาป่วย ลากิจ และมาสาย ตดิ ตอ่ กนั เปน็ เวลา ๔ ปี ตัง้ แต่ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๖ – ๒๕๕๙


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook