Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปฏิกิริยาของกรดกับเบส

ปฏิกิริยาของกรดกับเบส

Published by จรัญญา ตามรัมย์, 2021-12-12 15:33:03

Description: ปฏิกิริยาของกรดกับเบส

Search

Read the Text Version

กรด กรด เบส กรดหรอื เบส กรด เบส



กรด คืออะไร เบส คืออะไร การตรวจสอบหาความเป็ นกรด/เบส ปฏิกริ ิยาของกรดกับเบส

1. กรด (Acid) กรด หมายถึง สารประกอบทมี่ ีธาตไุ ฮโดรเจนเป็ นองคป์ ระกอบ เมื่อละลายน้าแลว้ สามารถแตกตวั ใหไ้ ฮโดรเจนไอออน ( H+ ) สมบตั ขิ องสารละลายกรด - กรดทกุ ชนิดจะมีรสเปร้ ยี ว -เปลี่ยนสกี ระดาษลติ มสั จากสแี ดงเป็ นสีน้าเงิน (มีค่าpH ตา่ กว่า 7)

2. เบส(Base) เบส คือ สารประกอบทท่ี าปฏิกิรยิ ากบั กรด แลว้ ไดเ้ กลือกบั น้า จะสามารถแตกตวั ใหไ้ ฮดรอกไซดไ์ อออน (OH-) หรือ H3O + สมบตั ขิ องสารละลายกรด - ทุกชนิดจะมีรสฝาดหรอื ขม -เปลี่ยนสกี ระดาษลติ มสั จากสีแดงเป็ นสนี ้าเงิน (มีค่าpH มากกว่า 7)

3 การตรวจสอบหาความเป็ นกรด/เบส การทดสอบความเป็ นกรด – เบสของสารละลาย ความเป็ นกรด - เบส หรือค่า pH ของสารละลายสามารถทดสอบไดโ้ ดยใชอ้ ินดิเคเตอร์ อินดิเคเตอรท์ ่ีใชใ้ นการทดสอบความเป็ นกรด - เบส หรือคา่ pH ของสารละลายไดแ้ ก่ 1. กระดาษลิตมสั แบง่ ได้ 2 สี ดงั น้ ี 1) สีน้าเงิน 2) สีแดง กระดาษลิตมสั จะบอกไดเ้ พียงวา่ สารไหนเป็ นกรดหรือเบส เท่าน้ันไมส่ ามารถบอกไดว้ า่ สารไหนมีความเป็ นกรดมากกวา่ กนั หรือมีความเป็ นเบส มากกวา่ กนั

- สารละลายกรด หรือสารละลายทมี่ คี า่ pH ตา่ กวา่ 7 จะเปลี่ยนสีของกระดาษ ลิตมัสจากสีนา้ เงนิ เป็ นสีแดง แตไ่ ม่เปลี่ยนสีของกระดาษลิตมัสสแี ดง - สารละลายเบส หรือสารละลายทม่ี ีค่า pH สูง กว่า 7 จะ เปล่ียนสีของกระดาษลิตมัสจากสแี ดง เป็ นสีนา้ เงนิ แตไ่ ม่เปลี่ยนสีของกระดาษ ลิตมัสสีนา้ เงนิ - สารละลายเป็ นกลาง หรือสารละลายทมี่ ีค่า pH เทา่ กบั 7 จะไม่เปล่ียนสีของกระดาษลิตมัสทงั้ สี แดงและสีนา้ เงนิ

2. สารละลายฟี นอลฟ์ ทาลีน เป็ นอินดิเคเตอรท์ ่ีไมม่ ีสีเมือ่ หยดสารละลายกรดสีของ สารละลายจะคงเดิม เมือ่ หยดสารละลายเบสสีของ สารละลายฟี นอลฟ์ ทาลีนจะเปล่ียนเป็ นสีชมพมู ว่ ง แต่ถา้ เป็ น เบสแก่จะเปลี่ยนเป็ นสีแดง

3. กระดาษยูนิเวอรซ์ ลั อินดิเคเตอร์ คือ เป็ นการนาอินดิเคเตอรห์ ลายๆชนิด ที่มกี ารเปล่ียนสีในชว่ ง pH ต่างกนั มาผสมกนั ในสดั สว่ นที่เหมาะสม จึงสามารถบอกค่าความเป็ นกรด - เบส ของสารละลายโดยบอกค่า pH ท่ีละเอียด และถูกตอ้ งยง่ิ ข้ นึ ยนู ิเวอรซ์ ลั อินดเิ คเตอร์ แบ่งได้ 2 แบบ ดงั น้ ี 1) แบบเป็ นกระดาษ 2) แบบสารละลาย เป็ นอินดิเคเตอรท์ ี่มกี ารเปลี่ยนสีเกือบทุกค่า pH จงึ ใชท้ ดสอบหาค่า pH ไดด้ ี



4 ปฏิกิรยิ ากรด-เบส กรดและเบส สามารถเกิดปฏิกิรยิ าได้ เกลือกบั น้าเกลือ คือ สารประกอบไอออนิก ไอออนบวกมาจากเบส และ ไอออนลบมาจากกรด กรดแอซิตกิ โซเดียมไฮดรอกไซด์ โซเดียมแอซิเตด น้า CH3COOH(aq)+ NaOH)(aq) CH3COONaaq)+H2O (l) กรด + เบส เกลือ + น้า กรดทาปฏิกิรยิ ากบั เบสไดเ้ กลอื (พวกไอออนิก)กบั น้า เรยี กปฏิกิรยิ าการสะเทนิ สว่ นเกลือทไ่ี ด้ จะมีสมบตั เิ ป็ นเกลอื กรด เกลอื เบส หรอื เกลอื กลาง ข้ ึนอยกู่ บั ชนิดของกรดและเบสว่าแก่หรอื ออ่ น

การเกิดปฏกิ ิริยาเคมจี ะมีสารใหมเ่ กิดข้ นึ นอกจากสงั เกตไดจ้ ากการเปลี่ยน สี กล่ิน หรอื อุณหภูมิ มีฟองแกส๊ หรือมีตะกอนเกิดข้ นึ แลว้ การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมยี งั อาจสงั เกตไดจ้ ากการเปล่ียนแปลงคา่ พีเอชอีกดว้ ย เม่ือเติมสารละลายเบสลงในสารละลายกรด จะพบวา่ สารละลายท่ีไดม้ ีคา่ พีเอชสูงกว่า สารละลายกรดท่ีเป็นตงั้ ตน้ แสดงวา่ เบสท่ีเติมลงไปทาใหส้ ารละลายมคี วามเป็ นกรดน้อยลง ในทางตรงกนั ขา้ มเมื่อเติมสารละกรดลงในสารละลายเบส สารละลายที่ไดจ้ ะ มีคา่ พี่เอชตา่ กว่าสารละลายเบสท่ีเป็ นสารต้งั ตน้ แสดงวา่ กรดที่เติมลงไปทา ใหส้ ารละลายมีความเป็ นเบสนอ้ ยลง










Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook