เอกสารความรู้ฉบับน้ีที่ได้รวบรวมจากคาบรรยาย และการ ถ่ายทอดประสบการณ์ของผู้บริหาร จากโครงการเสริมสมรรถนะในการ ขับเคลื่อนงานของหัวหน้าสานักงานจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งมีลักษณะการแบ่งปันความรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ดีๆ มาเล่าสู่กันฟัง และสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการทางานและการดาเนินชีวิตได้ โดยมีเน้ือหา สาระด้านเทคนิคการทางาน การบริหารจัดการท่ีมีประสิทธิภาพ หลักการ ทางานที่ถูกต้อง หลักธรรมาภิบาล และประเด็นสาคัญต่าง ๆ ท่ีส่งเสริมและ สนับสนุนให้หัวหน้าสานักงานจังหวัด ซ่ึงเป็นผู้บริหารรุ่นใหม่ นาไปปรับใช้และ พัฒนาศักยภาพให้มีความพร้อมสาหรับการปฏิบัติราชการ เพื่อขับเคลื่อน นโยบายของรฐั บาล ยทุ ธศาสตร์ชาติ ยทุ ธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย และพร้อม ท่ีจะปฏิบัติหน้าที่สนับสนุนผู้บังคับบัญชา อันเป็นประโยชน์ต่อประชาชน หนว่ ยงาน และประเทศชาติ ท่นี าไปส่คู วามย่ังยืนตอ่ ไป ประกอบดว้ ย นายฉัตรชยั พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย เร่อื ง “บทบาทหน้าที่ของหัวหนา้ สานักงานจงั หวดั ” นายธนาคม จงจริ ะ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื ง “การบริหารจดั การแก้ไขปัญหาในพ้ืนท่ี” นายปวิณ ชานิประศาสน์ รองปลดั กระทรวงมหาดไทย เรือ่ ง “การขบั เคล่ือนนโยบายไปสู่การปฏิบัตใิ นระดับพน้ื ท่ี” นายบุญธรรม เลศิ สขุ ีเกษม รองปลดั กระทรวงมหาดไทย เรื่อง “การบริหารจัดการในยุคดิจทิ ัล”
นายพรพจน์ เพ็ญพาส รองปลัดกระทรวงมหาดไทย เรอื่ ง “ความคาดหวงั ต่อหัวหน้าสานกั งานจังหวดั ” นายสนิท ขาวสอาด หวั หนา้ ผตู้ รวจราชการ กระทรวงมหาดไทย เร่ือง “การเร่งรัดการแก้ไขปญั หาความเดือดร้อนของ ประชาชนในพนื้ ท่ี” ทั้งน้ีเอกสารความรู้ฉบับน้ีได้จัดเก็บรวบรวมไว้ในระบบคลังความรู้ ของสถาบันดารงราช านุภ าพ สานักงานปลัดกระทรว งมหาดไทย www.stabundamrong.go.th เพือ่ เป็นประโยชนใ์ นการสืบคน้ ต่อไป กลุม่ งานพัฒนาและบริหารจดั การความรู้ สถาบันดารงราชานภุ าพ สป.
สารบญั 1 •บทบาทหน้าท่ขี องหวั หน้าสานักงานจงั หวัด นายฉัตรชัย พรหมเลิศ ปลัดกระทรวงมหาดไทย 11 •การบริหารจดั การแก้ไขปัญหาในพนื้ ท่ี นายธนาคม จงจริ ะ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย 23 •การขบั เคล่ือนนโยบายไปสู่การปฏบิ ัตใิ นระดับพืน้ ท่ี นายปวณิ ชานิประศาสน์ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย 28 •การบริหารจดั การในยุคดจิ ทิ ลั นายบุญธรรม เลิศสุขเี กษม รองปลัดกระทรวงมหาดไทย 33 •ความคาดหวังต่อหวั หน้าสานักงานจงั หวัด นายพรพจน์ เพญ็ พาส รองปลัดกระทรวงมหาดไทย 40 •การเร่งรัดการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพนื้ ท่ี นายสนิท ขาวสอาด หวั หน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงมหาดไทย
นายฉัตรชยั พรหมเลศิ ปลดั กระทรวงมหาดไทย บทบาทฐานะของตาแหน่งหัวหน้าสานักงานจังหวัดเปรียบเสมือนฝ่าย เสนาธิการ แต่เดิมเสมือนเป็นฝ่ายเลขานุการของผู้ว่าราชการจังหวัด ซ่ึงเม่ือใน อดีตหัวหน้าสานักงานจังหวัดยังไม่ได้เป็นหัวหน้าส่วนราชการ แต่ในช่วง 10 ปี ท่ีผ่านมานี้ ได้มีการยกระดับ ยกฐานะจากระดับ 7 เดิม เป็น C 8 ขึ้นไป และเป็นอานวยการสูงในปจั จุบันน้ี
2 ความสาคัญของหวั หนา้ สานกั งานจงั หวดั ประการแรก ตาแหน่งของหัวหน้าสานักงานจังหวัดมีความสาคัญ เป็นเหมือนดาวเคราะห์ทอี่ ยู่ขา้ งดาวฤกษ์ อานาจทั้งหมดของผู้ว่าราชการจังหวัด จะถ่ายทอดผ่านหัวหน้าสานักงานจังหวัดอันเป็นส่วนหน่ึงในการตัดสินใจว่าจะ ทาหรือไม่ทา เพราะท่านคือผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดผู้ว่าราชการจังหวัดมากกว่าส่วน ราชการอ่ืนๆ มากท่ีสุด เนื่องจากเป็นหัวหน้าส่วนราชการท่ีสังกัดสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทยเช่นเดียวกับผู้ว่าราชการจังหวัด ท้ังนี้ ส่ิงท่ีผมมุ่งหวัง มากกว่านั้น คือ ความสาคัญของตัวหัวหน้าสานักงานจังหวัด ไม่ใช่ตาม ความสาคัญของตาแหน่งหัวหน้าสานักงานจังหวัด การท่ีหัวหน้าจะได้รับการ ยอมรับมากน้อยแค่ไหนน้ัน เป็นการผสมผสานท้ังศาสตร์ทั้งศิลป์ในเรื่องของ ตาแหน่งทางกฎหมายและความสามารถเฉพาะตัวของท่าน ซ่ึงอันนี้เป็นสิ่งท่ี เรียนรู้ไม่มีวันจบสิ้น หัวหน้าสานักงานจังหวัดต้องผสมผสานกับการดาเนินงาน การบรหิ ารจัดการ การอานวยการ ตลอดจนการประสานงานตา่ งๆ ส่วนตามหลักการเสริมสมรรถนะหรือเพิ่มประสิทธิภาพ ตาม วัตถุประสงค์ของโครงการนั้นสาหรับผมมองว่าอาจจะเป็นนามธรรม เป็น เป้าหมาย แต่การช้ีวัดเป็นไปได้ยาก ซ่ึงอยู่ท่ีการวัดด้วยความรู้สึกหรือการ ยอมรับ ส่ิงที่สาคัญ คือ จะทาอย่างไรท่ีจะดึงตัวสมรรถนะในตัวของหัวหน้า สานกั งานจังหวัดทมี่ อี อกมาใช้ประโยชน์ให้มากที่สุด ซึ่งเช่ือมั่นว่าผู้ที่มาถึงระดับ นไ้ี ด้ตอ้ งเปน็ คนเก่งงานอยา่ งใดอย่างหนึ่ง และตอ้ งดจี รงิ แต่สว่ นท่วี า่ ใครจะมาว่า เราดมี ากน้อยแคไ่ หนอยทู่ ี่มมุ มองของเขาและอยู่ที่การกระทาของเรา
3 ส่ิ ง แ ร ก ท่ี อ ย า ก พู ด กั บ ท่ า น ใ น วั น นี้ ประการแรก คือ เร่ืองความจริงใจ ขอขอบคุณ พ่ีๆ ทั้ง 9 คน ท่ีจะเกษียณในปีน้ี ซึ่งท่านได้ ทุ่มเทให้กับกระทรวงมหาดไทยมากพอสมควร ในชีวิตราชการมีท้ังสมหวังและผิดหวัง ปะปน กันไปเป็นธรรมดาโลก ไม่มีใครได้อะไรทุก อย่าง และผมเองก็ยืนยันว่าไม่มีใครเสียอะไร ทุกอย่างในตาแหน่งตราบใดที่ผมดารงตาแหน่งปลัดกระทรวงอยู่ สาหรับเพ่ือน ข้าราชการทุกระดับในสังกัดกระทรวงมหาดไทย เพราะฉะน้ันส่ิงท่ีอยากจะบอก ก็คือ วันน้ีท่านมีเวลาอีก 2 เดือนนับถอยหลัง ซึ่งตลอดชีวิตราชการทุกคนล้วน ปรารถนาไม่ว่าจะดารงตาแหน่งใด ไม่ว่าจะเป็นผู้ว่าราชการจังหวัด อธิบดี หรือ ปลัดกระทรวง หรือตาแหน่งอ่ืนใด สุดท้ายความสุขท่ีสุดของการดารงชีวิตใน ราชการ คือ เกษียณอย่างสงบสุข ผู้ที่อยู่ได้จนเกษียณอายุคือผู้ท่ีสุดยอด ชีวิต ของคนเรากม็ ีเพยี งแคน่ ้ที าอย่างไรให้สุขภาพจติ สขุ ภาพกายดีกเ็ พียงพอแลว้
4 จากประสบการณ์ของผมที่ผ่านมาในระบบราชการก็มีความเข้าใจใน ความทกุ ข์ สขุ รรู้ ้อน รู้หนาว ถงึ หัวอกข้าราชการมากพอสมควร คนเรานั้นไม่ว่า จะอยกู่ ับรฐั บาลไหน ใครเปน็ ผ้บู งั คับบัญชา ถ้าเป็นคนทางานเก่ง เข้มแข็งอดทน คนน้ันก็สามารถอยู่กับระบบราชการได้อย่างมีความสุข ซึ่งผมได้แต่คาดหวังว่า พวกท่านคงเป็นเช่นนี้กันต่อไป คือ ขยัน และทุ่มเทการทางาน ต้องทางานให้ สาเร็จ ภารกิจหน้าท่ีท่ีได้รับมอบหมายต้องเรียบร้อยสมบูรณ์ มีมิตรภาพเรียบง่าย ท้ังน้ี จึงอยากจะขอความร่วมมือและเชิญชวนพวกท่านทุกคนท่ียังไม่เกษียณ ช่วยทางานให้เต็มท่ี อย่างปรัชญาของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ และพยายามทาชีวิตให้ง่ายๆ อย่ามากเรื่อง มากความ อย่าเล่นกระบวนท่ามาก เพราะว่าในชีวิตจริงแล้วเม่ือ เราพ้นจากตาแหน่ง เราไม่ได้เป็น ไม่มีหัวโขน เราจะเข้าใจอย่างลึกซ้ึงเลยว่าพอ เราอยู่คนเดียว ได้อยู่กับลูกหลาน อยู่กับครอบครัวน้ัน เราจะมีบทบาทอีกอย่าง หนึ่ง เป็นคนธรรมดาท่ัวไป ฉะนั้น ขอให้ทางานหนักเข้าไว้ ใช้ชีวิตแบบง่ายๆ ไม่ตอ้ งพธิ ีการมาก ซง่ึ ตวั ตนทแ่ี ทจ้ รงิ ของผมก็ชอบแบบเรยี บง่ายเชน่ กัน
5 ประการทสี่ อง หวั หนา้ สานักงานจังหวัด เป็นตาแหน่งท่ีถูกเปรียบเทียบ ระหว่างส่วนราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยด้วยกัน ดังนั้น การจะเข้าสู่ ตาแหน่งท่ีสูงขึ้นก็มักเป็นจุดที่หลายๆ คนเฝ้ามอง หลักคิดของผมในการ บริหารงานบุคคลของกระทรวงมหาดไทยในภาพรวม มีทิศทางว่าจะทาอย่างไร ให้ไดค้ นมาแทนในตาแหน่งสาคัญ กล่าวคือการเข้าสู่ตาแหน่งต้องเปิดกว้าง เมื่อ ไม่ให้คนท่ีเป็นรองอธิบดีขึ้นดารงตาแหน่งเป็นอธิบดีโดยตรงได้ หรือแต่งต้ังผู้ว่า ราชการจังหวัดมาเป็นอธิบดี หรือข้าราชการจากกรมต่างๆ ต้องมีโอกาสได้รับ การแต่งตง้ั เป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัด เช่นเดียวกับสานักงานจังหวัด รวมถึงยึด หลักพื้นฐานต้องผสมผสานระหว่างคนเก่งกับความอาวุโส และเปิดโอกาสให้กับ คนรุ่นใหม่ท่ีมคี วามพร้อมได้เตบิ โตในหน้าท่ี ซ่ึงมีหลายท่านที่มีโอกาสดี จังหวะดี ที่ขึ้นมาดารงตาแหน่ง แต่ท้ังนท้ี กุ คนล้วนข้ึนมาภายใต้หลักเกณฑ์ กฎกติกา และ มีฝีมือเป็นท่ียอมรับทั้งสิ้น ซึ่งหลายคนอาจสงสัยจากการเปรียบเทียบข้อมูล บคุ คลวา่ ทาไมชว่ งระยะของรุ่นพ่ีรุ่นน้องห่างกันมากนัก หลายท่านมีโอกาสได้รับ การแต่งต้ังเป็นรองผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการจังหวัด หรือเป็นอธิบดี เป็นปลัดกระทรวงในลาดับต่อไป การท่ีสามารถดารงตาแหน่งสาคัญเหล่าน้ันได้ ท่านจะต้องใช้ความรู้ความสามารถที่เหมาะสมและจังหวะที่พอดี พร้อมกับมี วาสนาพอสมควร แต่ความจริงนั้นอยากให้เข้าใจว่าคนเรานั้นเริ่มต้นงานไม่ เท่ากัน วัน เวลา โอกาส อาจจะแตกต่างกัน แต่ไม่ว่าจะแตกต่างกันอย่างไรเม่ือ มาอยู่ในตาแหน่งเดียวกัน ท่านต้องอยู่ในมาตรฐานเดียวกัน ทาสิ่งท่ีดีที่สุด ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ได้ตาแหน่งสูงสุดแต่สิ่งท่ีได้ คือ ความภาคภูมิใจ และท่าน สามารถยนื ไดอ้ ยา่ งสง่างาม เป็นทยี่ อมรบั กับคนหลายๆ คน ซ่ึงเปน็ สง่ิ ท่ีน่าชื่นชม ท่สี ุด
6 ทางานต้องจรงิ จัง “เวลาทางานต้องจริงจัง” เ ป็ น ส่ิ ง ห นึ่ ง ท่ี ไ ม่ อ ย า ก ใ ห้ ผู้บังคับบัญชาขาดความเชื่อมั่นจาก พ ว ก เ ร า ทุ ก ค น ก็ คื อ ต้ อ ง ใ ห้ ผู้ บั ง คั บ บั ญ ช า มั่ น ใ จ ว่ า เ ร า เ ป็ น คนทางาน ถึงแม้ท่านจะเป็นคนมี เสน่ห์ มีความดีทุกอย่าง แต่สิ่งท่ีสาคัญคือต้องเก่งงาน เพราะถ้าเก่งงานจะ สามารถอยู่กับผู้อื่นได้ทุกยุคทุกสมัย ถ้าเก่งแค่เฉพาะกิจ บางเรื่อง หรือเป็นครั้ง คราว อาจทาให้สายทางราชการในบางครั้งเกิดสะดุดบ้างเล็กน้อย มีขึ้นลงตาม จังหวะและโอกาส ย่ิงหากไม่ลงแรง ไม่เสียเหงื่อ ไม่ออกกาลังเลย โอกาส ความก้าวหน้าท่ีจะจีรังย่ังยืนในหน้าที่ข้าราชการก็น้อยลง และถ้าใครได้รับ แต่งต้ังในระดับสูงด้วยสายงานของตัวเอง ด้วยฝีมือความรู้ความสามารถของ ตัวเอง ก็จะเป็นความภาคภูมิใจแก่ตนเองและวงศ์ตระกูล อันเป็นที่ยอมรับของ คนท่ัวไป และหากใครได้มาโดยไม่ใช้ฝีมือเลย ก็จะเป็นท่ีรังเกียจในสังคมของ พวกเรากนั เอง และถูกเหยยี ดหยามจากหนว่ ยงานอื่น
7 น้อมนาพระบรมราโชวาท ของรัชกาลท่ี 10 ต้องการให้ทุกท่านน้อมนาพระบรมราโชวาทของในหลวงรัชกาล ท่ี 10 ท่ีพระราชทานไว้ในวันข้าราชการพลเรือน เม่ือวันท่ี 1 เมษายน 2562 ความว่า “ข้าราชการมีสิ่งที่สาคัญที่ควรยึดม่ันอยู่ 2 อย่าง อย่างหน่ึงคือ ผลประโยชน์ของแผ่นดิน อีกอย่างหน่ึงคือความถูกต้องเป็นธรรม ผลประโยชน์ ของแผ่นดินเป็นเป้าหมายสูงสุดของการปฏิบัติราชการ ส่วนความถูกต้องเป็น ธ ร ร ม เ ป็ น ทั้ ง ร า ก ฐ า น แ ล ะ แ น ว ท า ง ป ฏิ บั ติ เ พื่ อ ใ ห้ บ ร ร ลุ ถึ ง เ ป้ า ห ม า ย น้ั น ” เปน็ แนวทางปฏิบัติท่ีต้องนามาปฏิบัติทันที และปฏิบัติให้ได้อย่างจริงจัง โดยยึด ม่ันปฏิบัติตามพระราชดารัสและพระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ด้วยความถูกต้องเป็นธรรม และให้เกิดเป็นรูปธรรม เพื่อประโยชน์ของแผ่นดินเป็นสิ่งสาคัญที่สุด อันเป็นเกราะป้องกันตัวในการ รับราชการ และการดาเนินชวี ติ ได้ การที่จะทางานให้ประสบผลสาเร็จ และสามารถอยู่รอดต่อไปได้ นอกจากต้องรู้และเข้าใจบทบาทหน้าท่ีของตาแหน่งหัวหน้าสานักงานจังหวัด แล้ว อีกประการหน่ึงที่ท่านจะต้องให้ความสาคัญ คือ จะต้องรู้บทบาทหน้าท่ี ของผู้ว่าราชการจังหวัดและรองผู้ว่าราชการจังหวัดว่ามีหน้าที่อะไรบ้าง เพราะ น่ันคือหน้าท่ีอีกอย่างหน่ึงของหัวหน้าสานักงานจังหวัด ท่านเป็นกลไกท่ีสาคัญ ที่ช่วยขับเคล่ือนงานของจังหวัดให้บรรลุผลสัมฤทธ์ิ และนาทุกองคาพยพของ องค์กรยึดม่ันในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน โดยสิ่งแรกคือต้องบริหารงานให้เป็นไปตามระเบียบกฎหมาย และสามารถ
8 ตรวจสอบได้ โปร่งใส อย่างที่สองคือ อย่าอ้างระเบียบกฎหมายเพียงอย่างเดียว โดยไม่รับฟงั นโยบาย ยทุ ธศาสตร์ หรือทศิ ทางของผูบ้ ังคัญบัญชา อย่างคาศัพท์ท่ี เรยี กวา่ need to know เชน่ ผบู้ ังคบั บญั ชาอาจมีข้อมูลเชิงลึก มีรายละเอียดใน ประเด็นต่างๆ ทีผ่ ู้ใต้บังคับบัญชาอาจไม่ทราบ หรือทราบข้อมูลในบางมิติ หรือมี ข้อมูลไม่ครบถ้วน และทาให้การสั่งการหรือการทางานผิดพลาดไม่สามารถ ตอบสนองนโยบาย หรือไม่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ที่กาหนดไว้ ซ่ึงในบางเร่ือง แม้ไม่มีระเบียบกฎหมายบังคับไว้ แต่หากเพ่ือเป็นการแก้ไขปัญหาความ เดอื ดร้อน เรอื่ งปากทอ้ งของประชาชนท่ีกาลังได้รับความทุกข์ยากลาบาก ก็ต้อง รีบเร่งหาวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างเร่งด่วนท่ีจะทาอย่างไรที่ช่วยเหลือเพื่อบาบัด ทกุ ข์ บารงุ สขุ แกป่ ระชาชนได้ การบริหารความคาดหวัง คนต่างกลุ่มต่างฝ่ายมักเรียกร้องในสิ่งที่ตน ต้องการ และอ้างเอาระเบียบกฎหมาย หลักเกณฑ์ กฎธรรมชาติ หรือในเรื่อง ของกฎมนุษยชน ทุกส่ิงทุกอย่าง เพื่ออ้าง เ ป็ น น้ า ห นั ก ใ ห้ เ ข้ า ข้ า ง ต น เ อ ง ท้ั ง น้ี การบริหารความคาดหวัง ควรจะเรียนรู้การ บริหารความรู้สึก สร้างความเข้าใจที่ดีต่อกัน เช่น การท่ีจะปฏิเสธใครสักคน ควรใช้คาพูด และเจรจาอย่างไรให้เขาไม่เจ็บช้าน้าใจ ตอ้ งมีทักษะการพูด
9 ต้องรู้ ต้องรู้ ต้องรู้ ระเบียบ กฎหมาย ยุทธศาสตร์ นโยบาย การบริหารความคาดหวัง การบรหิ ารจัดการ รู้ แ ล ะ เ ข้ า ใ จ ใ น ทิ ศ ท า ง ของคนให้ได้ ต้องหาจุด ตามระเบียบกฎหมาย ของผู้บังคับบัญชาว่าจะ ดลุ ยภาพลงตัวใหไ้ ด้ ต้องใช้ บริหารงานตามนโยบาย ดลุ พนิ จิ และมีศิลปะในการ ยทุ ธศาสตรอ์ ย่างไร พู ด ใ ช้ ทั ก ษ ะ ค ว า ม รู้ ความสามารถ จังหวะ และ โอกาสให้เปน็ ประโยชน์
10 ความสาเร็จในชีวติ ราชการ 4มีหลายปัจจยั แตอ่ ย่างนอ้ ยต้องมี ประการดว้ ยกัน ดงั นี้ 1. ความรู้ ต้องรู้เรอ่ื ง รู้แจง้ รูจ้ ริง ความรูจ้ ะอยูค่ ่กู บั ตัว 2. ความสามารถ มีสุภาษิตที่ว่า ความรู้ท่วมหัว แต่เอาตัวไม่รอด กล่าวคือ มีความรู้มากมาย แต่ไม่มีความสามารถดัดแปลงความรู้ให้มีประโยชน์ ในการทางาน การตดั สนิ ใจ การดารงชีพ 3. มีโอกาส สามารถแสวงหาโอกาสได้ ด้วยการอาสาสมัครด้วยการ ทางาน เปรียบเสมือน มีดที่คม ต้องหมั่นลับบ่อยๆ คือ ต้องฝึกทางาน ท้ังงาน งา่ ย งานยาก โดยเน้นเพื่อประโยชน์ขององค์กร 4. ได้รับการสนับสนุน มีผู้บังคับบัญชาสนับสนุนอย่างจริงจัง การที่จะมี ผใู้ ดสนับสนนุ นั้น เปน็ เครอ่ื งรบั รองอยา่ งหนงึ่ ไดว้ ่า ผนู้ ัน้ จะตอ้ งเปน็ คนดี มคี ุณธรรม ทั้งนี้ จงึ ตอ้ งสะสมความดี ให้เป็นทีป่ ระจกั ษ์ชัด
การบรหิ ารจัดการแกไ้ ขปัญหา ในพ้นื ท่ี นายธนาคม จงจริ ะ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย ประสบการณ์ท้ังหลายจะต้องเริ่มพ้ืนฐานมาจากอานาจหน้าที่ ลาดับตอ่ ไปคือ ขอ้ มูล โดยหัวหน้าสานักงานจังหวัดต้องมีข้อมูล มีความรู้ ซึ่งสามารถหาได้จากเพ่ือนร่วมงานท่ีเก่งจากทีมงาน จากที่ปรึกษา จากกฎหมาย บทบาทหนา้ ทีข่ องหัวหน้าสานกั งานจังหวดั มีความสาคญั ตอ่ ผวู้ า่ ราชการจงั หวัดกบั การบริหารราชการสว่ นภูมภิ าคเป็นอย่างมาก
12 หน้าที่ความรับผิดชอบของตาแหน่งหัวหน้าสานักงาน จังหวัด 1. อานวยการ และประสานการปฏิบัติราชการอันเป็นอานาจหน้าท่ี ของผู้ว่าราชการจงั หวัด หรือท่ีผวู้ า่ ราชการจังหวัดมอบหมาย 2. จดั ทายุทธศาสตรก์ ารพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด โดยทาหน้าที่ เป็นกรรมการและเลขานุการคณะกรรมการบริหารจังหวัดแบบบูรณาการ (กบจ.) สานักงานจังหวัดมีบทบาทเป็นศูนย์กลางการจัดทายุทธศาสตร์ การพฒั นาจังหวัดไปส่กู ารปฏิบตั ิในพืน้ ที่ 3. พัฒนาระบบขอ้ มูลสารสนเทศเพ่ือการบริหารและการตัดสินใจของ ผวู้ ่าราชการจังหวดั 4. สนับสนุนผู้ว่าราชการจังหวัด กฎ ระเบียบ หลักเกณฑ์ และการ บริหารทรัพยากรบุคคล ซงึ่ อยู่ในอานาจหน้าท่ีของผู้ว่าราชการจังหวัด ทาหน้าท่ี ฝา่ ยเลขานุการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการและยุทธศาสตร์กาลังคนของ จงั หวัด การจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์กาลงั คน ฐานขอ้ มลู บุคคลของจงั หวัด รวมถงึ การประสานงานกับสานักงาน ก.พ. และส่วนราชการในการเพ่ิม ขีดความสามารถและเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล ของจังหวัด ดงั น้ัน หัวหน้าสานักงานจงั หวัดจะต้องมีความรอบรู้ทั้งในเรื่องของ งาน งบ ระบบ คน จึงจะนบั ไดว้ ่าประสบความสาเร็จ
13 หน้าทดี่ ้านแผนงาน 1. วางแผนงาน โครงการ หรือแผนการปฏิบัติงานเพ่ือกาหนด เป้าหมายและผลสัมฤทธ์ิของสานักงานจังหวัดให้สอดคล้องกับนโยบายและแผน ยุทธศาสตร์ของจังหวัด กลุ่มจังหวัด กระทรวงมหาดไทย และสานักงาน ปลัดกระทรวงมหาดไทย 2. ประสานการบูรณาการแผนงาน โครงการ กิจกรรมที่ได้รับการ จัดสรรวงเงินจานวนมาก เพ่ือให้เป็นไปตามเป้าหมายและผลสัมฤทธิ์ของ จงั หวัด และกลุ่มจังหวดั ตามท่ีกาหนดไว้ 3. ตดิ ตาม เรง่ รัด การดาเนินกจิ กรรมต่างๆท่ีอยู่ในพ้ืนที่จังหวัดและ กลุ่มจงั หวัดท่ีมีความยุ่งยากและซับซ้อนมาก ให้เป็นไปตามแผนงาน โครงการ หรอื แผนการปฏบิ ัติการ ตลอดจนประเมินผลและรายงานการดาเนินงาน เพ่ือให้ เปน็ ไปตามเป้าหมายและผลสมั ฤทธิ์ตามทีก่ าหนด
14 ดังน้ัน หัวหน้าสานักงานจังหวัดจะต้องเป็นนักคิด นักวางแผน นัก บ ริ ห า ร แ ล ะ นั ก ป ร ะ ส า น ง า น เ พื่ อ ใ ห้ ก า ร ด า เ นิ น ง า น ด้ า น แ ผ น ง า น ป ร ะ ส บ ความสาเร็จ หนา้ ทด่ี า้ นบริหารงาน 1. กาหนดกลยุทธ์ ระบบงาน และวิธีปฏิบัติราชการของสานักงาน จังหวัด เพ่ือเป็นแนวทางปฏิบัติราชการของเจ้าหน้าที่ในสานักงานจังหวัดท่ี รับผดิ ชอบ 2. มอบหมาย กากับดูแล ตรวจสอบติดตามให้คาแนะนาปรับปรุง แก้ไขในเรอื่ งท่ีเกยี่ วกบั แผนพฒั นาจังหวดั และกลุม่ จงั หวัด การบริหารงานบุคคล ของจังหวัด การพัฒนาและใชป้ ระโยชน์จากฐานขอ้ มลู ของจังหวัดเพ่ือการพัฒนา ตลอดจนภารกิจอื่นท่ีอยู่ในความรับผิดชอบของสานักงานจังหวัดเพ่ือให้การ ปฏบิ ตั งิ านบรรลุเปา้ หมายและผลสัมฤทธิต์ ามทีก่ าหนด 3. วินิจฉัย สั่งการ เร่ืองที่เกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดและกลุ่มจังหวัด การบริหารงานบุคคลของจงั หวดั การพฒั นาและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลของ จังหวัดเพ่ือการพัฒนา หรือเรื่องอื่นที่เกี่ยวข้อง ซ่ึงมีผลกระทบในวงกว้าง หรือมี ความซบั ซอ้ นของประเดน็ ปัญหา ซ่งึ ต้องพจิ ารณาอนุมตั ิ อนุญาต การดาเนินการ ต่างๆ ตามภารกิจท่ีสานักงานจังหวัดรับผิดชอบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายและ ผลสมั ฤทธ์ติ ามทกี่ าหนด 4. ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานหรือองค์กรภาครัฐ เอกชน และ บุคคลทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เพือ่ ความร่วมมือหรือบูรณาการงานให้เกิดผลสัมฤทธิ์และเป็น ประโยชน์ตอ่ ประชาชนผ้รู บั บรกิ าร
15 5. ช้ีแจงข้อเท็จจริง พิจารณาให้ความเห็น ข้อเสนอแนะในที่ประชุม คณะกรรมการและคณะทางานตา่ งๆ ท่ไี ด้รับการแต่งต้ัง หรือเวทีเจรจาต่างๆ ใน ระดับหน่วยงานหรือองค์กรทั้งในประเทศและตา่ งประเทศ ในเร่อื งที่เกี่ยวข้องกับ แผนพัฒนาจังหวัด และกลุ่มจังหวัด ตลอดจนแผนพัฒนาในระดับอนุภูมิภาค การบริหารงานบุคคลของจงั หวัด การพฒั นาและใช้ประโยชน์จากฐานข้อมูลของ จังหวัด การบรหิ ารงานจะตอ้ งมีการกาหนดกลยทุ ธ์ มอบหมาย กากับดูแล คอย ตรวจสอบติดตามพร้อมกับ ให้คาแนะนา วินิจฉัย ส่ังการ ตลอดจนการ ประสานงานกับภาคส่วนตา่ งๆเพ่อื เป็นภาคีเครอื ข่าย เช่น ชลประทาน แขวงการทาง โรงเรียน เทศบาล องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด เป็นต้น ซึ่งจะเป็นภาคี ที่สามารถ เปน็ พลังที่จะร่วมกนั ในการปฏบิ ตั ิงานจนประสบผลสาเรจ็
16 หน้าทด่ี ้านการบรหิ ารทรพั ยากรบุคคล 1. จัดระบบงานและอัตรากาลังเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานท่ีมีความ หลากหลายท้ังในเชิงปริมาณและคุณภาพให้สอดคล้องกับภารกิจ เพ่ือให้การ ปฏิบัติราชการเกิดประสทิ ธภิ าพ และความค้มุ คา่ 2. ติดตามและประเมินผลงานของเจ้าหน้าท่ีในบังคับบัญชา เพ่ือให้ เกดิ การปฏิบัติงาน สอดคล้องกบั วตั ถุประสงค์ของหน่วยงานและบรรลุเป้าหมาย และผลสัมฤทธิ์ตามท่ีกาหนด 3. ให้คาปรึกษาแนะนา ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานของ เจ้าหนา้ ท่ีในบังคับบญั ชาเพือ่ ใหเ้ กดิ ความสามารถ ประสิทธิภาพและสมรรถนะท่ี เหมาะสมกับงานทป่ี ฏิบัติ 4. ปรับปรงุ หรือหาแนวทางวิธีการใหม่ๆ หรือกลยุทธ์ ในการบริหาร ทรัพยากรบุคคล เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติในการผลิตผลงาน การบริการ หรอื ผลการดาเนินงานทมี่ ีคณุ ภาพที่ดีขนึ้
17 การบริหารทรัพยากรบุคคลเป็นเร่ืองท่ีสาคัญท่ีสุด ต้องรู้จักการบริหาร คนให้มีความรู้ มีการถา่ ยทอดความรู้ให้กบั ทุกคนในองค์การ ไม่ยึดติดเพียงผู้ใดผู้ หนึ่ง รู้จักการใช้คนให้ถูกกับงาน รู้จักการเอาใจเขามาใส่ใจเรา สามารถให้ คาปรึกษากับเจ้าหน้าที่ในบังคับบัญชาของตนเองเพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้ อย่างมีประสทิ ธิภาพ หนา้ ทด่ี า้ นบรหิ ารทรพั ยากรและงบประมาณ 1. วางแผนการใชท้ รพั ยากรและงบประมาณของสานักงานจังหวัดท่ี ต้องรับผิดชอบสูง เพือ่ ใหส้ อดคล้องกับทิศทางการพฒั นาจังหวัด นโยบายรัฐบาล นโยบายกระทรวงมหาดไทย และนโยบายของ สานักงานปลัดกระทรวง มหาดไทย 2. ตดิ ตาม ตรวจสอบการใช้ทรัพยากรและงบประมาณจานวนมาก เพ่อื ให้เกิดประสทิ ธภิ าพ ความค้มุ ค่า และเปน็ ไปตามเป้าหมาย และผลสมั ฤทธ์ิ ตามทกี่ าหนด การบริหารทรัพยากรบุคคลไม่เพียงแต่จะต้องบริหารเพียง คน เท่านั้น จะต้องมีการบริหารงบประมาณเพือ่ ให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ให้สามารถ บรรลซุ ่งึ เปา้ หมายและผลสัมฤทธ์ใิ นการปฏิบตั ิราชการ จากท่ีกล่าวถึง หน้าท่ีความรับผิดชอบของตาแหน่งหัวหน้าสานักงาน จังหวัดนั้น จะเห็นได้ว่า หัวหน้าสานักงานจังหวัด คือ เสธ ของผู้ว่าราชการ จังหวัด โดยมีหลักเบ้ืองต้นคือ ต้องรู้และมีความเข้าใจท้ังในเรื่อง งาน งบ ระบบ คน เป็นนกั คิด นกั บรหิ าร และนกั ประสานทมี่ ีคณุ ภาพ
18 หลกั การทางาน 1.เก่งงาน รอบรู้ในหน้าที่ที่ เก่งงาน ปฏิบัติ หรืองานที่ได้รับมอบหมาย ทั้งใน งานระดับนโยบายและงานตามภารกิจ ของตนเอง เก่งคน 2.เก่งคน การบริหารคนเป็น เร่ืองยาก แต่สาคัญมากที่สุด คนที่อยู่ รอบตวั เรามหี ลายประเภท ได้แก่ เก่งพืน้ ท่ี 2.1 ผู้บังคับบัญชา จะต้องทา ให้ผู้บังคบั บญั ชาเกดิ ความไว้วางใจ ดังคา กล่าวของทา่ นฉตั รชัย พรหมเลิศ “ใช้คน ท่ีไว้ใจ ไม่ไว้ใจไม่ใช้” หรือ ซุนเซ็ก (สามก๊ก) “ใช้แล้วต้องไม่ระแวง ถ้าระแวงไม่ใช้”ดังนั้น จึงต้องปฏิบัติงานให้ ประสบผลสาเร็จ อย่าให้มีขอ้ บกพร่องหรือข้อตาหนิ เพอื่ ให้ผบู้ ังคบั บัญชามีความ ไว้ใจจนทาให้เกิดความมั่นใจตอ่ ศักยภาพของเรา 2.2 เพ่ือนร่วมงาน จะต้องสร้างความสัมพันธ์ที่ดีต่อหัวหน้าส่วน ราชการในพื้นท่ี หรือผู้บริหารภาคเอกชนในพื้นท่ี เพื่อสร้างความร่วมมือร่วมใจ ต่อกัน เพราะการบริหารงานของจังหวัดจะขับเคล่ือนต่อไปได้จะต้องอาศัยภาคี เครือข่ายเหล่าน้ีในการปฏิบัติงาน บางคร้ังการอาศัยความสัมพันธ์ส่วนตัวย่อม
19 รวดเร็วกว่าการทาเป็นหนังสือราชการ เช่น การประสานงานทางโทรศัพท์ หรือ ชอ่ งทางอื่นๆ ซ่งึ จะสง่ เสรมิ การปฏบิ ตั ิงานในจงั หวดั ให้เกดิ ความสาเร็จ 2.3 ผู้ใต้บังคับบัญชาหรือลูกน้อง หัวหน้าสานักงานจังหวัดจะต้อง ปฏิบัติกับผู้ใต้บังคับบัญชาเปรียบเสมือนบุคคลในครอบครัว ปกครองด้วยความ ไม่ลาเอียง มีจิตใจที่หนักแน่น ยึดทางสายกลาง รู้จักการใช้คน บอกงานคนให้ เป็น ซ่ึงผู้บังคับบัญชาที่ดีจะต้องสามารถน่ังในใจลูกน้องได้ เช่น เม่ือเวลามีการ จัดทาพิธี เลิกงานดึกด่ืน ควรถามลูกน้องจะกลับบ้านอย่างไร กินข้าวกันหรือยัง เป็นตน้ ซึ่งสง่ิ เหล่าน้ีย่อมได้ใจผใู้ ต้บงั คบั บัญชา 2.4 ประชาชน ซ่ึงเป็นบุคคลสาคัญท่ีสุดของเรา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ศูนย์ดารงธรรม จะต้องมีการปรับปรุงให้ดีขึ้นจนให้กลายเป็นศูนย์ดารงธรรม ตัวอย่างให้ได้ เพราะเป้าหมายของกระทรวงมหาดไทย คือ “บาบัดทุกข์ บารุง สุข” ให้กับประชาชน โดยยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการปฏิบัติงานใส่ใจใน การแกไ้ ขปญั หาของประชาชนใหบ้ รรลุผล จะตอ้ งสามารถเข้าไปน่ังอยู่ในใจของ ประชาชนได้ เช่น การท่ปี ระชาชนมีหนังสอื มาขอบคณุ ที่ให้การช่วยเหลือในเรื่อง ต่างๆ การให้ทุนการศึกษากับเด็กยากไร้ การรวบรวมเงินช่วยเหลือให้ผู้ที่ไม่มีที่ อยู่อาศัย การแก้ไขปัญหาถนนที่ถูกน้าท่วม เป็นต้น เราสามารถนากรณีเหล่าน้ี รวบรวมไว้เป็นผลงานของศูนยด์ ารงธรรมได้
20 2.5 บคุ คลในครอบครวั การทางานครอบครัวต้องมาก่อน การทางาน จะต้องทาให้ครอบครัวมีความสุข ไม่ใช่ทางานจนมีผลให้ครอบครัวแตกแยก ครอบครัวไมม่ ีความสุข ก็จะส่งผลต่อตัวเรา ทาให้ทางานไม่มีประสิทธิภาพ จะมี ความร้สู กึ กังวลใจ เพราะฉะนน้ั ต้องดูแลบุพการี ดูแลบุตรธิดา ดูแลครอบครัวให้ ดีด้วย 2.6 ตนเอง การดูแลตนเองเป็นสิ่งท่ีสาคัญ ต้องตรวจสุขภาพร่างกาย เป็นประจา โดยเฉพาะการออกกาลังกาย เพราะการออกกาลังกายเป็นการ ป้องกันร่างกายไมใ่ ห้สขุ ภาพทรุดโทรม 3. เก่งพื้นท่ี จะต้องมีความรอบรู้ในพื้นท่ีจังหวัดหรือกลุ่มจังหวัดที่ ตนเองรับผิดชอบ เช่น ท่านต้องรู้จักเจ้าคณะจังหวัด เจ้าคณะอาเภอ โต๊ะอิหม่าม ประธานกรรมการอิสลาม ฯลฯ และที่สาคัญมีความรู้ความเข้าใจ พ้ืนท่ีในมิติเศรษฐกิจ สังคมรวมถึงทราบจุดแข็ง จุดอ่อน ปัญหาความเดือดร้อน ในพ้นื ท่ขี องตนเอง นอกจากนจี้ ะต้องรู้จกั การทางานเชิงรกุ อีกด้วย
21 ภารกจิ ทีส่ าคญั 1. งานที่เกี่ยวข้องกับสถาบันและงานจิตอาสาพระราชทาน 904 วปร. มาจากพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ในการบาเพ็ญประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จิตอาสา ซ่ึงประกอบด้วย จิตอาสาพัฒนา จิตอาสาภัยพิบัติ และจิตอาสาเฉพาะกิจ โดยจิตอาสาจะต้อง ศึกษา วิธีการ ขัน้ ตอนใหถ้ กู ตอ้ ง ซง่ึ มีข้อพงึ ระวงั หลายประการ ไดแ้ ก่ 1.1 ไม่ประพฤติปฏิบัติในทางท่ีอาจเกิดความเส่ือมเสียต่อ ภาพลกั ษณ์ เชน่ การเรย่ี ไร อา้ งกิจกรรมจติ อาสา เรียกร้องแสวงหาผลประโยชน์ หรอื ยุง่ เกีย่ วกิจกรรมทางการเมือง 1.2 ไมน่ ากาลงั พลจิตอาสาไปทากจิ กรรมนอกเหนอื จากประเภทจิต อาสาทไี่ ดก้ ล่าวมาในขา้ งตน้
22 2. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ดาเนินงานตามแผนพัฒนาประเทศเพ่ือ บรรลุวิสัยทัศน์ คือ “ประเทศไทยมีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศท่ี พฒั นาแลว้ ดว้ ยการพฒั นาตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียง” 3. ประเทศไทย 4.0 ดาเนินงานตามวิสัยทัศน์เชิงนโยบาย ท่ีเปล่ียน เศรษฐกิจแบบเดิมไปสเู่ ศรษฐกจิ ท่ีขับเคล่อื นด้วยนวัตกรรมสมยั ใหม่
การขบั เคลือ่ นนโยบาย ไปสกู่ ารปฏิบตั ิในระดบั พ้ืนท่ี นายปวิณ ชานิประศาสน์ รองปลัดกระทรวงมหาดไทย โครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดารินั้น เป็นพระปณิธานของ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาล ท่ี 10 โดยทรงมพี ระปฐมบรมราชโองการ
24 โดยมีวตั ถุประสงค์เพ่ือมุ่งสู่ประโยชน์สุขของอาณาประชาราษฎร์ ให้อยู่ ภายใต้พระเนตรพระกรรณของพระองค์ได้มีคุณภาพชีวิตที่ดขี ้นึ ซ่ึงมาสอดคล้องกับอุดมการณ์หรือปณิธานของกระทรวงมหาดไทย ในการบาบัดทุกข์ บารุงสุข ที่ได้ยึดถือกันมาโดยตลอด จึงเป็นบทบาทที่มี ความสาคัญท่ีจะต้องทาให้โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดารินั้นก่อให้เกิด ผลสาเร็จ ถ้าเราสามารถดาเนินการให้เกิดผลสาเร็จได้ ไม่เพียงแต่เกิดประโยชน์ สขุ ต่อราษฎร ยังกอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชน์ต่อของเราด้วย นัน้ คือ ความภาคภูมใิ จ
25 โครงการจิตอาสา โครงการจิตอาสา จะทาให้ทุกคนในสังคมสามารถอยู่ร่วมกันได้ มีการ ชว่ ยเหลือซึ่งกนั และกัน ร่วมมอื กันดแู ลรักษาสาธารณสมบัติเพ่ือการใช้ประโยชน์ ตอ่ ส่วนรวม การรักษาสภาพแวดลอ้ ม เกิดความรูร้ กั สามคั คี กลมเกลยี วกัน รู้จัก การเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพ่ือมุ่งสู่ประโยชน์ส่วนรวม ดังนั้น เราจะต้องรู้จัก ใช้พลังจิตอาสาในการแก้ปัญหาของบ้านเมือง ชุมชน จังหวัด ในพ้ืนที่ที่เรา รับผิดชอบ เพ่ือมุ่งม่ันพัฒนาสังคมรอบตัวให้เกิดการเปล่ียนแปลงในทิศทางที่ดี ขน้ึ ใหส้ งั คมเกิดความนา่ อยู่และเปน็ สังคมแห่งคุณภาพชวี ติ ที่ดี
26 งานพระราชพิธี งานพระราชพิธีจะต้องมีการดูแลเอาใจใส่ในทุกขั้นตอนด้วยความ ละเอียดถถ่ี ว้ น ไม่ใหเ้ กดิ ความผิดพลาด และนอกเหนือไปจากนี้ ส่ิงท่ีสาคัญ ก็คือ ต้องรู้จักการประสานสัมพันธไมตรีในงานรัฐพิธีรวมถึงการรู้จักยืดหยุ่นเพ่ือ ประโยชนแ์ ห่งการทางานร่วมกนั การจัดซือ้ จดั จา้ ง การจัดซ้ือจัดจ้างจะต้องดาเนินการให้รวดเร็วและถูกต้อง มีการเตรียม เอกสารหลักฐานให้ครบถ้วน ศึกษาข้อระเบียบ ข้อกฎหมายอย่างรอบด้าน ศกึ ษาสิ่งใดสามารถเบิกจ่ายได้ ส่ิงใดไม่สามารถเบิกจ่ายได้ เพ่ือป้องกันไม่ให้เกิด ความผิดพลาดในกระบวนการจัดซือ้ จดั จา้ ง ศูนย์ราชการ การประกาศใหเ้ ปน็ ศนู ย์ราชการนั้น จะต้องมีขั้นตอนคอื 1. ตรวจสอบพื้นท่ีของจังหวัดตนเอง เช่น เป็นพื้นท่ีป่าไม้หรือเป็นพ้ืนที่ อุทยานหรือไม่ ทีม่ าท่ไี ปของการครอบครองทด่ี ิน เปน็ ต้น 2. ดาเนินการจดั ทาแผนและผังส่งใหก้ ับกระทรวงมหาดไทย โดยปัจจุบันมีจังหวัด ประมาณ 20 จังหวัดที่ไม่เคยเขียนแผนและผังส่ง มาให้กระทรวงมหาดไทย ซึ่งต้องให้ความสาคัญกับเร่ืองดังกล่าวอย่างมาก เพราะเม่ือประกาศเป็นศูนย์ราชการ จะเป็นอานาจของจังหวัดในการต้ัง งบประมาณของตนเองไมต่ ้องของบประมาณจากส่วนกลาง รวมถึงจะต้องศึกษา ข้อระเบียบของส่วนราชการต่างๆท่ีเกี่ยวข้องเพื่อใช้ในการดาเนินการขอจัดตั้ง เปน็ ศนู ยร์ าชการจังหวดั
27 การทบทวนแผนพัฒนาจังหวัดประจาปี งบประมาณ 2563 โครงการตามแผนพัฒนา จังหวัดประจาปีงบประมาณ 2563 ใ ห้ ท บ ท ว น ถึ ง ค ว า ม พ ร้ อ ม ข อ ง โครงการที่จะขออนุมัติ มิเช่นนั้น อาจทาให้การจัดซื้อจัดจ้างไม่ทัน งบประมาณถูกพับไป ซึ่งไม่สามารถ กันงบประมาณได้ ดังนั้น จึงต้อง ทบทวนขีดความสามารถ แต่ถ้ามี ความพร้อมขอให้ยืนยันเป็นลาย ลักษณอ์ ักษรตอ่ ไป
การบริหารจดั การ ในยคุ ดจิ ิทัล บทบาทของหัวหน้ าสานักงาน นายบญุ ธรรม เลิศสุขเี กษม จังหวัดคือ เป็ นเสนาธิ การหรื อเป็ น ฝ่ าย รองปลัดกระทรวงมหาดไทย เลขานุการให้ ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็ นผู้ ประสานงานที่ดี และต้องรู้งานหลกั ของจงั หวดั สามารถที่จะตอบคาถามของผู้ว่าราชการ จงั หวดั ได้ทกุ เรื่อง คลืน่ การเปลี่ยนแปลงของสงั คมโลก แบง่ เปน็ 4 ชว่ ง ดงั น้ี คล่ืนลกู ท่ี สาม คล่ืนลูกท่ี ส่ี •ยคุ เทคโนโลยี •ยคุ ดจิ ทิ ลั คล่นื ลกู ท่ี สอง คล่ืนลกู ท่ี หน่ึง •ยคุ อตุ สาหกรรม •ยคุ เกษตรกรรม
29 ในโลกยุคปจั จบุ นั เกิดความเปลีย่ นแปลง 3 เร่อื งใหญๆ่ คือ 1. คน แบง่ กลมุ่ คนตามชว่ งอายุ ได้ 7 Generation ดงั นี ้ 1.1 Lost อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 2426 - 2443 1.2 Greatest อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 2444 - 2467 1.3 Silent อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 2468 - 2488 1.4 Baby Boomer (Gen B) อย่ใู นชว่ งปี พ.ศ. 2489 – 2507 เป็นคนส่วนใหญ่ที่รับราชการมานานแล้ว รักองค์กร ผู้บงั คบั บญั ชา หลายท่านก็อย่ใู นช่วง Gen B ซ่งึ เดก็ ๆ จะมองคนกล่มุ นีว้ า่ เป็นพวกอนรุ ักษ์ แบบดงั้ เดมิ 1.5 Generation X (Gen X) อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 2508 – 2522 เป็นคนวัยทางานในยุคปัจจุบนั อยู่ในช่วงเร่ิมต้นของเทคโนโลยี ชอบอะไร ง่ายๆ ไมเ่ ป็นทางการ 1.6 Generation Y (Gen Y) อยใู่ นชว่ งปี พ.ศ. 2523 – 2540 เตบิ โตมาพร้อมกบั เทคโนโลยี มีความอดทนน้อย รักอสิ ระ มีความเป็นตวั เองสงู 1.7 Generation Z (Gen Z) ตงั้ แตป่ ี พ.ศ. 2540 ขนึ ้ ไป เริ่ม เข้ามาในระบบราชการ
30 2. สภาพแวดล้อม 2.1 โลกาภิวตั น์ (Globalization) คือ การท่ีทุกคนสามารถ เข้าถงึ ข้อมลู จากทว่ั โลกได้อยา่ งรวดเร็ว 2.2 ความเป็นเมือง (Urbanization) เมืองในภูมิภาคมีการ เตบิ โตขนึ ้ มาก ปัญหาตา่ งๆ ก็จะเพิ่มขนึ ้ เชน่ เดียวกนั 2.3 การกระจายอานาจ (Decentralization) ทิศทางของ โลกคือการกระจายอานาจให้หน่วยงานในพืน้ ที่หรือองค์กรปกครองท้องถิ่น โดยสว่ นกลางจะต้องลดบทบาทเป็นผ้กู ากบั มากขนึ ้ และให้หน่วยงานในพืน้ ที่ เป็นผ้ดู าเนินการ 2.4 Individualization คนสมัยนีม้ ีความเป็นปัจเจกชนสูง มาก ทานข้าวโต๊ะเดียวกันแต่ไม่ มองหน้าคุยกัน แต่จะคุยกับผ่าน ไลน์ สัง่ ซือ้ สินค้าออนไลน์ ไม่ชอบ การพบปะสังสรรค์กันเหมือนใน อดีต แต่จะพบปะกันใน Social Media
31 2.5 Digitization โลกกาลงั เป็นโลกยคุ ดจิ ิทลั สงั คมไทยมีการ เปล่ียนแปลงมากขึน้ เช่น การคมนาคมสะดวกมากขึน้ เทคโนโลยีมีความ เจริญก้าวหน้ามาก 3. เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นการใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ ระบบโทรคมนาคมตา่ งๆ เพ่ือนามาใช้ในการทางาน การใช้ชวี ติ ในยุคดจิ ทิ ัล การดาเนินชีวิต ต้องรวดเร็ว กระชบั ฉบั ไวในเรื่องข้อมลู ขา่ วสาร การทางานสามารถทางานได้ในทกุ ๆ ที่ สงั่ งานได้ตลอดเวลา ดงั นนั้ เครื่องมือ ส่ือสารต้องอย่ตู ิดตวั ตลอดเวลา เพราะการพลาดข้อมลู ขา่ วสารอาจทาให้เกิด ความเสียหายแก่งานได้ การทางาน นาเทคโนโลยีมาชว่ ยในการทางาน จึงจะทาให้การ ทางานสะดวกรวดเร็วยิ่งขึน้ สร้ างการบูรณาการทางานทกุ ภาคสว่ น แตต่ ้อง โปร่งใสและตรวจสอบได้ การทา ง า น ใ น ร ะ บ บ ร า ช ก า ร จ ะ มีห น่ว ย ตรวจสอบอยู่แล้ ว แต่ถ้ าจะโพสต์หรือแชร์ผ่านอินเทอร์เน็ตต้องตรวจสอบ ให้ดีก่อนเพราะถ้าเกิดผิดพลาดขึน้ ก็อาจจะมี Social Media เข้ามาร่วมใน การตรวจสอบด้วย ช่องทางการส่ือสาร ในปัจจบุ นั ส่วนใหญ่จะส่ือสารโดยผ่าน Line หรือ Social Media ตา่ งๆ สาหรับหนว่ ยราชการควรจะทา Application เพ่ือให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ งานของทางราชการได้สะดวกยง่ิ ขนึ ้
32 การนาข้อมูลมาใช้ในการบริหาร Big Data การทางานในยคุ 4.0 หัวหน้าสานักงานจังหวัดต้องรู้จักใช้อุปกรณ์ที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า เช่น โทรศพั ท์มือถือหรือไอแพด โดยการค้นหาข้อมลู ต่างๆ จาก Application ตา่ งๆ มาใช้ในการปฏิบตั งิ าน และต้องตดิ ตามขา่ วสารในพืน้ ที่ให้เป็นปัจจบุ นั ตลอดเวลา หลักการทางาน 1. รู้คน 2. รู้งาน 3. รู้สถานท่ี 4. รู้เทคโนโลยี 5. รู้เวลา คือ ต้องรู้จกั บริหารจดั การเวลา การทางานทกุ เรื่อง จะมีเวลาเป็นตวั กาหนด ดงั นนั้ ต้องทางานให้เหมาะสมกบั เวลา เสร็จทนั หรือ ก่อนเวลา งาน/เรื่องนนั้ จงึ จะมีคณุ คา่
ความคาดหวงั ต่อหวั หนา้ สานกั งานจงั หวดั บทบาทหนา้ ที่ของหัวหนา้ สานักงานจังหวัด 1. เป็นเสนาธิการ อานวยการและสนับสนุนงานการทางานของ ผู้ว่าราชการจงั หวดั 2. วิเคราะห์ วางแผน แกนกลางในการบูรณาการแผนงาน/ โครงการเพ่อื การพัฒนาเชิงพ้ืนท่ี โดยมีเป้าหมายสุดท้ายคือ คุณภาพชีวิตท่ีดีของ ประชาชนภายในจังหวัด 3. สนับสนุนผู้ว่าราชการจังหวัดด้านการบริหารทรัพยากรบุคคล เช่น การพัฒนาในเรื่องสารบรรณ การประชุม แสวงหาความร่วมมือกับ สถานศึกษา
34 4. ประสานงาน 10 ทิศ คือ การประสานงานรอบตัวท้ังแบบเป็น ทางการและไม่เป็นทางการ ประสานแบบเป็นทางการ เช่น หนังสือราชการ จัด ประชุม หรือการแจ้งใหส้ ว่ นราชการทราบ ส่วนประสานงานแบบไม่เป็นทางการ ท่ีเห็นชัดเจนเป็นรูปธรรมคือ สภากาแฟ หรือการพูดคุยขอความร่วมมือ/ อนุเคราะห์จากหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการ บริหารส่วนกลางในภูมิภาค ภาคเอกชน ภาคประชาชน ท้องท่ี ท้องถ่ิน ในเรื่อง ต่างๆ แต่ต้องตรวจสอบว่าไม่ขัดต่อระเบียบหรือแนวทางปฏิบัติของหน่วยงาน นนั้ ๆ ดว้ ย เป็นเสนาธกิ าร วเิคราะห์ วางแผน สนบั สนุน ประสานงาน 10 ทศิ
35 ความคาดหวัง ของผบู้ รหิ ารตอ่ หวั หนา้ สานกั งานจงั หวดั
36 ความคาดหวังของผ้บู ริหาร ต่อหัวหน้าสานักงานจงั หวดั 1. เป็นแกนกลางในการรับนโยบายของรัฐบาลสู่การปฏิบัติอย่างมี ประสิทธิภาพ ในกรณที มี่ กี ารสัง่ การในเรอ่ื งเดียวกนั จากหลายหน่วยงาน หัวหน้า สานกั งานจังหวดั ในฐานะเลขานกุ ารของผวู้ า่ ราชการจังหวัดต้องเป็นแกนกลางใน การรวมเรื่อง ชว่ ยคดิ และนาเสนอผู้ว่าราชการจังหวดั 2. เป็นศูนย์กลางในการจัดทายุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดไปสู่ การปฏิบัติในพื้นที่ ภายในจังหวัดจะได้รับเงินงบประมาณมาจากหลายแหล่ง ดังนั้น ส่ิงท่ีสาคัญคือการบริหารงบประมาณจากแหล่งต่างๆ ให้เกิดประโยชน์ สูงสุดตอ่ จังหวดั และประชาชน 3. คุณภาพในการจัดทาคาของบประมาณ และติดตามเร่งรัดการ ใช้จ่ายงบประมาณของจังหวัด ให้ทันตามกาหนดเวลา หรือต้องก่อหนี้ผูกหนี้ให้ เสรจ็ ภายในปงี บประมาณ เพราะงบประมาณท่ีได้รับต้องใช้ให้เกิดประโยชน์มาก ท่ีสดุ 4. พัฒนาระบบข้อมูล สารสนเทศเพ่ือการบริหาร ในขณะนี้ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทยใช้ ระบบฐานข้อมูลBenchmarking และ Padme ท้ังสองโปรแกรมน้ีมปี ระโยชน์ มากหากทุกจังหวัดกรอกข้อมูลดิบได้ ครบถ้วน โดยสามารถนาเอาข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์แล้วนาเสนอให้ผู้บริหาร ประกอบการตดั สนิ ใจได้
37 5. การติดตาม ประเมินผล ต้องสนับสนุนข้อมูลสาหรับการตรวจ ของผตู้ รวจราชการทุกกระทรวง ทบวง กรม รวมถึงคณะกรรมการตรวจติดตาม ประเมินผลต่างๆ 6. ศูนย์ดารงธรรมเพ่ือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชน ศนู ยด์ ารงธรรมจังหวัดจะตอ้ งเปน็ ด่านแรกในการชี้แจงข้อมูลต่างๆ ให้ประชาชน เขา้ ใจเพือ่ ป้องกันการกอ่ ม็อบ ปญั หาทแ่ี กไ้ ขในพื้นทไี่ ดก้ ็ต้องรีบดาเนินการ แต่ถ้า แกไ้ ขไมไ่ ด้จงึ จะสง่ ตอ่ หนว่ ยงานอ่นื 7. งานอานวยการ : ถกู ตอ้ ง รวดเร็ว และมปี ระสทิ ธภิ าพ 8. เป็นผ้นู าการปรบั เปลี่ยนวิธีการทางานเพ่ือเตรียมพร้อมสู่ระบบ ราชการ 4.0 โดยนาเอานวัตกรรม ฐานข้อมูล และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เข้ามาใช้ในการดาเนินการ โดยขอยกตัวอย่างท่ีท่านนายกรัฐมนตรีได้กล่าวเรื่อง จังหวดั 4.0 ไว้ ดังนี้ - เราต้องมีการเช่ือมโยงภายใน - เราตอ้ งมีการเชอ่ื มโยงภายนอก ก็คอื CLMVT - เราตอ้ งมีการเปลยี่ นจุดเชอ่ื มตอ่ ให้กลายเป็นโหนด (รอบทศิ ) - รวมถงึ ถ้ากรณีเป็นจงั หวดั ชายแดนใหม้ กี ารเช่ือมโยงทุกมิติคือ เป็น BRIDGE (สะพาน)
38 ภารกิจสาคัญในห้วงปจั จุบนั 1. โครงการและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติ เน่ืองในโอกาสมหา มงคลพระราชพิธบี รมราชาภิเษก โครงการฟ้ืนฟูและพัฒนาลาน้า คูคลองเพ่ือสิ่งแวดล้อม และคุณภาพชีวติ ของประชาชนเฉลมิ พระเกียรติ โครงการ 1 จังหวัด 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ โครงการสวนสาธารณะเฉลมิ พระเกยี รติ 2. โครงการจติ อาสาพระราชทาน 904 วปร. 3. โครงการพฒั นาพนื้ ทตี่ ามแนวพระราชดาริและหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียง
39 ประเด็นท่ีอยากให้หัวห น้าสานักงานจังหวัด ให้ ความสาคัญเปน็ พเิ ศษ 1. ให้เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของสานักงานจังหวัด เช่น การทางานช้าก็ต้องปรับการทางานให้รวดเร็วข้ึน หรือได้ประโยชน์ในระดับหนึ่ง ต้องเพิ่มให้เกิดประโยชน์มากข้ึน แต่ขอเน้นว่าย้อนกลับไปดูว่าท่านทางานครบ หรือไม่ ถา้ ทาไมค่ รบก็ควรทาให้ครบ 2. หัวหน้าสานักงานจังหวัดต้องเป็น ส ป ม ท ให้ผู้ว่าราชการ จังหวัด ส ป ม ท ย่อมาจาก สมอง ปาก มือ เท้า ในการดาเนินงานให้ผู้ว่า ราชการจังหวดั 3. การเสนองานหรือเสนอเร่ืองให้ผู้ว่าราชการจังหวัดอนุมัติ/ อนญุ าต ควรจะมีระเบยี บ/ข้อกฎหมายแนบหรือใช้อ้างอิงดว้ ย 4. การทางานทุกเรื่องต้องให้ทันกาหนดเวลา ถ้าการทางานช้า หรือไม่ทันเวลา งานน้ันๆ ก็จะหมดประโยชน์หรือประโยชน์น้อยลง ส = สมอง เปน็ ฝา่ ยเสนาธิการ ประเดน็ สาคญั ป = ปาก การเจรจาแทน ผวจ. ม = มอื การทางาน ท = เทา้ การประสานงาน การทางาน
นายสนิท ขาวสอาด หวั หน้าผตู้ รวจราชการกระทรวงมหาดไทย การตรว จราช การ ส่ิง สาคัญแรกคือจะต้องยอมรับและ ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ น ก า ร ต ร ว จ ราชการก่อนว่ามิใช่การตรวจจับผิด แ ต่ เ ป็ น ก า ร ต ร ว จ ร า ช ก า ร ที่ ไ ป ช่วยงานของผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นส่วนใหญ่ เช่น ช่วยเร่งรัดงาน หรือติดตามภารกิจต่างๆ การ ติดขัดด้านการบูรณาการเชื่อมโยงกับหน่วยงาน และในฐานะหัวหน้าสานักงาน จงั หวดั ก็เป็นบุคคลสาคัญที่จะช่วยประสานส่วนราชการต่างๆ ในการขับเคลื่อน งานให้สาเร็จ ส่วนใหญ่ผู้ตรวจราชการจะติดตามงานเร่ืองงบประมาณและศูนย์ ดารงธรรม ซ่ึงเป็นเรื่องสาคัญที่สุดต่อการดาเนินงานในทุกด้าน หัวหน้า สานกั งานจังหวัดจึงต้องทาหน้าที่และใช้การบริหารจัดการที่ดี ในการเร่งรัดและ ขบั เคลอ่ื นการบริหารงบประมาณ โดยการวางแผน ติดตามงาน ประเมินผลงาน เพอื่ ช่วยให้การตรวจราชการเป็นไปอย่างมีประสทิ ธิภาพ
41 การบริหารงบประมาณ เป็นข้ันตอน หน่ึงของกระบวนการงบประมาณ ขั้นตอนการ บริหารงบประมาณเป็นข้ันตอนท่ีสาคัญที่สุด ที่ส่วนราชการจะต้องกาหนดแนวทางในการ บริหารงบประมาณ โดยต้องนางบประมาณที่ ไ ด้ รั บ อ นุ มั ติ ไ ป ใ ช้ จ่ า ย เ พ่ื อ ใ ห้ บ ร ร ลุ วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ภ า ย ใ ต้ ง า น ท่ี ไ ด้ อ นุ มั ติ งบประมาณรายจ่ายอย่างมีประสิทธิภาพ สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล อันเป็นหน้าท่ีอย่างหน่ึงของส่วนราชการจะต้องนางบประมาณรายจ่ายประจาปี ไปใช้จ่าย โดยหัวหน้าสานักงานจังหวัดจะต้องคอยขับเคล่ือนงานหรือโครงการ ต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณ เร่ิมจากการลงพื้นท่ีดูความ พร้อมของโครงการก่อนจะของบประมาณ เช่น สถานท่ีโครงการ แปลน เอกสาร สัญญา ฯลฯ ซึง่ จะต้องสรา้ งความเขา้ ใจระหว่างหนว่ ยงานดว้ ยกัน ศูนย์ดารงธรรมกับการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนในพื้นท่ี เป็นการ ทางานที่ทาอย่างไรให้งานไปได้ โดยไม่มีปัญหา หัวหน้าสานักงานจังหวัดจะต้อง อาศัยการประสานความร่วมมอื ทุกภาคส่วนในการบูรณาการร่วมกันเพื่อบรรเทา ความเดอื ดร้อนของประชาชนในพ้ืนท่ี กระทรวงมหาดไทยมีภารกิจในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ในพ้ืนที่ ซ่ึงเป็น ภารกิจหลักท่ีต้องแก้ไขปัญหา และช่วยเหลือประชาชนท่ีได้รับความเดือดร้อน ทั้งในระยะส้ัน และระยะยาว นับว่าเป็นโอกาสดีที่มีศูนย์ดารงธรรมช่วยแก้ไข ปัญหาความเร่งด่วนให้แก่ประชาชน ซ่ึงปัจจุบันมีการบริหารจัดการในการแก้ไข ปัญหาตา่ งๆ อย่างเป็นรปู ธรรมมากขึน้
42 ตามศาสตร์ของพระพุทธเจ้า จากปัญหาความเร่งด่วนท่ีเกิดขึ้น ปัญหาคืออะไร สาเหตุของปัญหามา จากอะไร แล้วเกิดความทุกข์อย่างไร จะแก้ไขอย่างไร ขออธิบายตามหลัก อริยสัจ 4 คือ หลักความจริงอันประเสริฐ มี 4 ประการ คือ ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค -- -- - อรยิ สจั 4 - -- -- ทุกข์ คอื ความไมส่ บายกายไม่สบายใจ เราต้องนิยามความทุกข์ก่อนว่า คืออะไร ทุกขท์ ่เี กิดข้ึนในพน้ื ท่ี ท้ังในชมุ ชนเมอื ง ชุมชนชนบท ทุกข์ในแต่ละพ้ืนท่ี มีความแตกต่างกัน ทุกข์บางคร้ังอาจไม่ใช่ความเดือดร้อน แต่อาจเป็นความ ไม่สะดวก สบาย ซึ่งถือเปน็ เร่ืองเลก็ น้อย สมุทัย คือ เหตุท่ีทาให้เกิดทุกข์ ทุกข์ของใคร มีมูลเหตุอะไร วิเคราะห์ แยกแยะ ใครเดือดร้อน ใครทาให้ทุกข์ (ส่ิงท่ีต้องรู้ คือ เร่ืองอะไร ใครทา ใครเดือดรอ้ น) นิโรธ คือ หนทางแห่งการดับทุกข์ เป็นการหาวิธีในการดับทุกข์ ในบางครงั้ ทุกขต์ อ้ งการเพียงการรับฟงั การบอกเลา่ ใหก้ าลงั ใจ หรือการบรรเทา ช่วยเหลือในเบื้องต้น เช่น การช่วยเหลือแบบไม่ทางการ จากมูลนิธิ สมาคมฯ เปน็ การแกไ้ ขปญั หาในระยะสนั้
43 มรรค คือ ทางเดินสายกลาง ถือเป็นแนวทางปฏิบัติ แผนงานการแก้ไข ปัญหา แผนและขั้นตอน วิธีการทางาน เรียกรวมๆ ว่า “แผน” ที่นามาเป็น แนวทางในการแก้ไขปัญหาระยะยาว และย่ังยืนต่อไป ความสาคัญ กับ ความเร่งด่วน คือ การบริหารเวลา มีความสาคญั อยา่ งไร ซง่ึ ในแต่ละวันมงี านหลายงาน หลายที่ มีความหลากหลาย และความสาคญั ท่แี ตกตา่ งกนั การบรหิ ารเวลาจงึ มีความสาคญั เทคนิคในการ - Annie Dillard - Q1 Q2 (Necessity) (Effectiveness) Q3 Q4 (Distraction) (Waste) บรหิ ารเวลา มี 4 แบบคอื 1. งานสาคัญและเร่งด่วน (Necessity) เป็นงานที่จาเป็นต้องทา เปน็ เหตกุ ารณ์เฉพาะกิจ/วิกฤต เช่น ภัยแล้ง น้าท่วม พายุ ฯลฯ ซึ่งเป็นงานเร่งรีบ มีความเร่งด่วน และสาคญั มากต้องรีบดาเนินการ งานประเภทนี้ต้องทาทันที
44 2. งานสาคัญแต่ไม่เร่งด่วน (Effectiveness) คือ งานในหน้าท่ี เช่น งานแผนงาน งานงบประมาณ งานยุทธศาสตร์ งานอนุมัติเบิกจ่ายงบประมาณ ฯลฯ เป็นงานท่ีมีความสาคัญ ถึงแม้ว่าไม่เร่งด่วนแต่ต้องทาทุกวันไม่ให้ค่ังค้าง เพราะถ้าไม่ทาอย่างต่อเน่ืองอาจจะสะสมงานก่อให้เกิดปัญหาในระยะยาวได้ ควรร้จู ักวางแผนเตรยี มการป้องกัน และลงมือทาอย่างมีวินัย อาจไม่เห็นผลลัพธ์ ในทนั ทที ที่ า แต่ความสม่าเสมอจะนาไปสู่งานทีม่ ีคุณภาพในระยะยาว 3. งานไม่สาคัญแต่เร่งด่วน (Distraction) คือ งานรบกวน เช่น ผู้บังคับบัญชาโทรศัพท์มาถามข้อมูล สั่งงาน หรือไลน์ส่ังงานไม่เป็นเวลา เรียก ประชมุ บอ่ ยในเรื่องเดมิ ๆ ซึง่ เป็นเรอื่ งทตี่ ้องปฏิบัตทิ นั ที การตอบสนองกับทุกเรื่อง ท่ีว่ิงเข้ามา จนลืมไปว่าสิ่งไหนกันแน่ท่ีเป็น “ส่ิงสาคัญ” จะเจอเหตุการณ์น้ีบ่อยๆ ทาให้รู้สึกว่าตัวเองยุ่งอยู่ตลอดเวลาแต่กลับไม่ได้งาน และเสียเวลาเปล่าไปกับ เรอ่ื งที่ไม่สาคญั 4. งานท่ีไม่สาคัญ ไม่เร่งด่วน (Waste) หรืองานไร้ประโยชน์ในแง่ สาระ แต่จาเป็นต้องทา เช่น การดูแลลูกน้อง สถานท่ีทางาน เพ่ือนร่วมงาน การทักทายลูกน้อง ถามทุกข์สุข การสร้างอารมณ์ขบขันในที่ประชุม การพูดจา การเล้ียงและสันทนาการลูกน้อง เป็นงานท่ีไม่สาคัญ และไม่เร่งด่วนอะไร แต่เป็นส่ิงที่ผู้บังคับบัญชาควรทา เพราะมีความสาคัญกับลูกน้อง สร้างขวัญและ กาลังใจให้กบั ลกู นอ้ ง ท้ัง 4 ข้อ ต้องแบ่งและ จัดสรรเวลาให้ลงตัว เรื่องบางเรื่อง เราไม่ถนัดก็ควรมอบหมายให้ผู้ท่ีมี ความรู้ ความเช่ียวชาญโดยตรงทา แทน เพราะบางเรื่องอาจใช้ความรู้ เฉพาะด้าน การมอบหมายงานบาง เร่อื งอาจทาใหเ้ กดิ ผลดีมากกว่า
45 หวั หนา้ สานกั งานจงั หวดั จะต้องทาหลากหลายหนา้ ที่ ซง่ึ แต่ละบทบาท หนา้ ทมี่ ีความแตกต่างกันไป ดังน้ี 1. ผอู้ านวยการ คือ จดั การงานต่างๆ เชน่ งานพระราชพิธี รัฐพิธตี า่ งๆ ต้องจดั การงานตา่ งๆ ใหถ้ กู ต้อง เรยี บรอ้ ย ไปตามระเบียบแบบแผนของสานัก พระราชวัง 2. ผู้ประสานงาน การประสานงานเป็นส่ิงที่ต้องทาควบคู่กับงานทุก งานเสมอ ทั้งขอความรว่ มมอื และขอความเมตตา 3. หวั หนา้ ตอ้ งแบกรับดูแลลูกนอ้ งใหค้ วามเปน็ ธรรม ให้คุณใหโ้ ทษ ใช้ ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ในการบริหารงาน 4. ผู้บริหาร หัวหน้าสานักงานจังหวัด เป็นผู้บริหารแต่ไม่ได้เป็น ผู้จัดการ คือ เป็น Leadership ท่ีนาหลักการบริหารจัดการมาใช้ในการบริหาร โครงการ งบประมาณ การดาเนนิ งานกจิ กรรมตา่ งๆ ใหง้ านสาเร็จ จนกล่าวได้ว่า ไมม่ กี ารจัดการใดท่ีไม่ใช้หลักการบริหาร การเป็นนักบริหารน้ัน ต้องมีภาวะของ Leadership อย่างสงู จะเปน็ Leader อย่างเดียวไม่ได้ เพราะคนอาจไม่ทาตาม
46 5. ผู้บัญชาการ จะต้องพิจารณาสั่งการ วินิจฉัยบางเร่ืองแทน ผ้บู ังคบั บัญชา บทบาทที่สาคัญอีกประการ คือ หัวหน้าสานักงานจังหวัด จะต้องมี ลักษณะ “เก่งงาน เก่งคน และมีวิสัยทัศน์” เก่งงานอย่างเดียวไม่เพียงพอ จะต้องเน้นหนักในเรื่องของ “คน” เพราะต้องทางานกับคนทุกระดับ ต้องเก่ง คน โดยจะต้องรับคาส่ังจากผู้บังคับบัญชามาปฏิบัติ (ระดับบน) ต้องส่ังงาน มอบหมายงานลูกน้อง (ระดบั ล่าง) และต้องประสานข้างกับหัวหน้าส่วนราชการ รวมถงึ ประชาชน (ระดับข้าง) ประกอบกบั เป็นผูม้ วี ิสยั ทศั นก์ ว้างไกล 1. การวเิ คราะห์ปญั หาและการจดั การทาฐานข้อมูล เมอื่ มีปญั หาความเดือดร้อนเกิดขึ้น ส่ิงสาคัญที่สุด คือ ข้อมูล (Data) ต้องมขี อ้ มูล และฐานขอ้ มลู ท่ดี ี เพื่อนามาวิเคราะห์กับปญั หาต่างๆ ท่ีเกิดข้ึน เพ่ือ ประกอบการตัดสินใจ หรือหาแนวทางการแก้ไขปัญหา ซ่ึงการมีข้อมูลท่ีดีจะ สามารถช่วยแก้ไขปัญหาได้ตรงประเด็น โดยข้อมูลที่มีนั้นจะต้องมีความจริง ขอ้ เท็จจริง มีความถกู ต้อง มคี วามแมน่ ยา สามารถนาไปบรหิ ารจดั การได้ เช่น ข้อมูลเชิงยุทธศาสตร์ นโยบายรัฐบาล ข้อมูลเชิงพ้ืนท่ี หลักเกณฑ์ต่างๆ ของนโยบาย ข้อมูลของปัญหาท่ีเคยเกิดขึ้น เป็นสิ่งที่หัวหน้า สานักงานจังหวัด ต้องติดตาม ทันเหตุการณ์ มีข้อมูลท่ีชัดเจน และถูกต้อง สามารถเป็นขอ้ มลู เพื่อการตัดสินใจใหแ้ ก่ผบู้ งั คบั บัญชาได้อยา่ งถกู ต้อง
Search