Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Management Mind EP2_63

Management Mind EP2_63

Published by Charan ya, 2020-02-06 04:07:58

Description: Management Mind EP2_63

Search

Read the Text Version

เอกสารความรู้ฉบับท่ี 2/2563 ชุดน้ีช่ือเร่ือง Management Mind for Modern Executive โดยจัดเน้ือหาออกเป็น 3 ตอน โดยฉบับนี้เป็น EP.2 MOI Mission ได้รวบรวมจากคาบรรยาย และประสบการณ์ผู้บริหาร ทถ่ี า่ ยทอดผ่านโครงการศกึ ษาอบรมเพ่ือพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารระดับสูง ของกระทรวงมหาดไทยเพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งเป็นลักษณะการแบ่งปันความรู้ การถ่ายทอดประสบการณ์ และนาขอ้ มูลมาแลกเปล่ียนซึ่งกนั และกัน วัตถปุ ระสงค์ 1) เพอื่ สร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกัน และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ ในการทางาน ตลอดจนการดาเนินชีวิต และการวางตนให้เหมาะสม ในฐานะผูบ้ ริหารระดับสงู 2) เพื่อเป็นองค์ความรู้เพ่ือส่งเสริมและสนับสนุนการทางานผู้บริหาร ระดับสูงของกระทรวงมหาดไทยเพ่ือมุ่งสู่ความเป็นเลิศและเป็นผู้บริหาร ยุคใหม่ที่มีศักยภาพสูง ให้สามารถขับเคล่ือนนโยบายของรัฐบาล ยุทธศาสตร์ชาติ ยุทธศาสตร์กระทรวงมหาดไทย พร้อมตอบสนองภารกิจ ของกระทรวงมหาดไทยในการบาบัดทุกข์ บารุงสุข เพ่ือสู่คุณภาพชีวิตที่ดี ของประชาชน รวมทั้งก่อให้เกิดประโยชน์สุขทั้งในระดับพื้นที่ องค์การ และประเทศชาติต่อไปให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศไทย มีความม่ันคง ม่ังคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนา ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง” โดยประกอบด้วยประสบการณ์ ผู้บรหิ าร ดังตอ่ ไปนี้

 นายดนุชา สินธวานนท์ เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อ ประสานงานโครงการอนั เนอ่ื งมาจากพระราชดาริ (สานกั งาน กปร.) ในหัวข้อ “การบริหารจัดการโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ”  นายดนัย มสู่ า รองเลขาธิการสภาความม่นั คงแห่งชาติ ในหัวข้อ “บทบาทของผู้บริหาร มท. กับการเสริมสร้าง ความมน่ั คงของชาติ”  นายชยพล ธติ ศิ กั ดิ์ อธิบดกี รมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภัย ในหวั ขอ้ “การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภัยระดับพืน้ ที่”  นายนิสิต จนั ทร์สมวงศ์ อธิบดกี รมการพฒั นาชุมชน ในหัวขอ้ “การบรหิ ารงานแบบประชารฐั ”  นายสุทธิพงษ์ จุลเจรญิ อธบิ ดีกรมส่งเสริมการปกครองท้องถนิ่ ในหัวข้อ“การขับเคล่ือนองค์กรปกคร องส่วนท้องถิ่น ส่กู ารพัฒนาอย่างย่ังยืน”  นายณรงค์ สืบตระกลู รองอธิบดีกรมทีด่ ิน ในหัวข้อ “ภารกิจของผู้บริหารกระทรวงมหาดไ ทย ตามประมวลกฎหมายทดี่ นิ ” ทั้งนี้เอกสารความรู้ฉบับน้ีได้จัดเก็บรวบรวมไว้ในระบบคลังความรู้ ของสถาบันดารงราชานุภาพ สานักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย www.stabundamrong.go.th เพอ่ื เป็นประโยชนใ์ นการสืบค้นตอ่ ไป กลมุ่ งานพัฒนาและบรหิ ารจดั การความรู้ สถาบันดารงราชานุภาพ สป.

สารบัญ หน้า 1 การบรหิ ารจดั การโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ นายดนชุ า สนิ ธวานนท์ เลขาธิการคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริ หน้า 23 บทบาทของผู้บรหิ าร มท. กับการสรา้ งความมั่นคงของชาติ นายดนัย มูส่ า รองเลขาธิการสภาความม่นั คงแห่งชาติ หน้า 35 การปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดับพื้นท่ี นายชยพล ธติ ิศักด์ิ อธิบดกี รมปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั

หน้า 59 การบริหารงานแบบประชารฐั หน้า 66 นายนสิ ิต จันทร์สมวงศ์ หน้า 75 อธบิ ดกี รมการพฒั นาชุมชน การขับเคลอ่ื นองค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถิ่น สูก่ ารพฒั นาอยา่ งย่งั ยืน นายสุทธิพงษ์ จุลเจรญิ อธิบดีกรมสง่ เสริมการปกครองท้องถ่นิ ภารกิจของผบู้ รหิ ารกระทรวงมหาดไทย นายณรงค์ สบื ตระกูล รองอธิบดีกรมท่ดี นิ

การบริหารจัดการโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาริ นายดนุชา สนิ ธวานนท์ เลขาธกิ ารคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการ อันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร.) ตลอดระยะเวลา 70 ปี แห่งการครองราชย์ พระบาทสมเด็จ พระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ได้พระราชทาน พระราชดาริให้หน่วยงานต่างๆ ดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ ไปแล้ว จานวน 4,810 โครงการ (ข้อมูลต้ังแต่ปี 2495 – มิถนุ ายน 2562) แยกเป็นภาคและการพฒั นาด้านต่างๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี การพัฒนาด้าน ภาค รวม เหนือ กลาง ตะวนั ออก ใต้ ไมร่ ะบุ เฉียงเหนือ พน้ื ที่ฯ 1. โครงการพัฒนาด้านแหลง่ น้า 1,289 654 2. โครงการพฒั นาด้านการเกษตร 43 515 877 28 1 3,336 40 28 36 0 139 3. โครงการพฒั นาด้านสงิ่ แวดล้อม 69 94 4. โครงการพัฒนาดา้ นสง่ เสริมอาชีพ 91 42 40 8 1 188 5. โครงการพฒั นาด้านสาธารณสขุ 16 29 131 22 1 346 6. โครงการพัฒนาดา้ นคมนาคม/สอื่ สาร 24 16 7 11 58 22 16 0 84 7.โครงการพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม/ 199 79 57 63 4 402 การศกึ ษา 10 257 8.โครงการพัฒนาแบบบูรณาการ/อืน่ ๆ 107 55 50 35 28 4,810 รวม 1,838 798 1,206 940 ที่มา : สานกั งาน กปร. มถิ ุนายน 2562

พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว หรือรัชกาลท่ี 10 มีพระปฐมบรมราชโองการ จากปฐมบรมราชโองการ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงได้มี พระราชกระแสให้องคมนตรีช่วยเร่งรัด ติดตาม และผลักดันโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริของรัชกาลที่ 9 ที่ยังไม่ได้ดาเนินการ จานวน 88 โครงการ และสานต่อโครงการที่ดาเนินการแล้วเสร็จ เพ่ือนาไปขยายผล ให้ประชาชนได้รับประโยชน์ที่สุด ซึ่งการติดตามงานของพระองค์ท่าน จะดาเนนิ การในรปู แบบของ คณะกรรมการ ดังน้ัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า โปรดกระหม่อมให้มีคณะกรรมการติดตามและขับเคลื่อน โครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริในรัชกาลที่ 9 และให้ดาเนินการโครงการ อนั เนอ่ื งมาจากพระราชดารใิ นรชั กาลของพระองค์ควบคู่กันไปให้เหมาะสม เรียกว่า “คณะกรรมการติดตามและขับเคลื่อนโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ” โดยมอี านาจหน้าที่ ไดแ้ ก่  ติดตาม ขับเคลื่อน เร่งรัดและบูรณาการหน่วยงานที่เก่ียวข้อง กับโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดารขิ องในหลวงรัชกาลที่ 9  ให้คาแนะนาในการปฏิบัติงานแก่หน่วยงานที่เก่ียวข้อง ในการดาเนินงานโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริของในหลวงรัชกาลที่ 9 และพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว

โดยต่อมาได้มีการแต่งต้ังคณะกรรมการอนุกรรมการติดตามและ ขับเคล่ือนโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดารใิ นระดบั พืน้ ท่ี ดังตอ่ ไปน้ี นายพลากร สวุ รรณรัฐ องคมนตรี ประธานอนุกรรมการฯ ภาคเหนอื พลอากาศเอกชลิต พกุ ผาสขุ องคมนตรี ประธานอนุกรรมการฯ ภาคกลาง พลอากาศเอกจอม รุง่ สวา่ ง องคมนตรี รองประธานอนุกรรมการฯ ภาคกลาง นายจรัลธาดา กรรณสตู องคมนตรี ประธานอนุกรรมการฯ ภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ นายอาพน กิตตอิ าพน องคมนตรี รองประธานอนุกรรมการฯ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื พลเอกกมั ปนาท รุดดษิ ฐ์ องคมนตรี ประธานอนุกรรมการฯ ภาคใต้ พลเอกเฉลิมชยั สิทธสิ าท องคมนตรี รองประธานอนุกรรมการฯ ภาคใต้ โดยมี เลขาธิการ กปร. เป็นรองประธานอนุกรรมการทุกภาค และ รองเลขาธิการ กปร. เป็นอนุกรรมการและเลขานุการทุกภาค และเพื่อให้ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริสามารถดาเนินการได้อย่างเป็นระบบ รวดเรว็ และเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง ของประเทศมากยิง่ ขึ้น นายกรัฐมนตรีโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี

จึงวางระเบียบสานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราช ดาริขึ้น กาหนดให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่งเรียกว่า “ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร พิ เ ศ ษ เ พื่ อ ป ร ะ ส า น ง า น โ ค ร ง ก า ร อั น เ น่ื อ ง ม า จ า ก พระราชดาริ” เรยี กโดยยอ่ วา่ “กปร.” คณะกรรมการพเิ ศษเพอ่ื ประสานงานโครงการอนั เนอื่ งมาจากพระราชดาริ ข้อมูลพ้ืนฐานสานักงานคณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงาน โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร.) ตามระเบียบ สานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ พ.ศ. 2534 , (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2546 และ (ฉบับท่ี 3) พ.ศ. 2558 โดยมนี ายกรัฐมนตรเี ป็นประธาน และมอี งคมนตรี เป็นท่ปี รกึ ษา กปร. นายกรัฐมนตรี องคมนตรี ประธานกรรมการ ทีป่ รึกษา กปร.

 ควบคุม กากับ ดูแล ติดตามผล และประสานการดาเนินงาน ของส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจที่เก่ียวข้องกับโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ  พิจารณาและกาหนดโครงการเพ่ือขอรับความช่วยเหลือ ด้านวิชาการและการเงินจากภายในประเทศและต่างประเทศรวมทั้งสั่งจ่ายเงิน ท่ีได้มาจากการชว่ ยเหลอื ดงั กล่าวเพ่ือโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ พิจารณาอนุมัติโครงการ แผนงาน และกิจกรรมใด ๆ และ พิ จ า ร ณ า อ นุ มั ติ ง บ ป ร ะ ม า ณ ร า ย จ่ า ย เ พื่ อ ด า เ นิ น ก า ร ต า ม โ ค ร ง ก า ร อันเนือ่ งมาจากพระราชดาริและงบประมาณรายจ่ายในการบริหารงานของ สานักงานคณะกรรมการพิเศษเพ่ือประสานงานโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดาริ ตามความจาเปน็  พิจารณาอนุมัติการเปล่ียนแปลงโครงการและงบประมาณ รายจา่ ยเพือ่ ให้สอดคลอ้ งกบั โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริได้ทุกกรณี  แต่งต้ังคณะกรรมการ คณะอนุกรรมการ คณะทางาน หรือ เจ้าหน้าที่จากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจ ให้ช่วยเหลือการปฏิบัติงาน สนองโครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริได้ตามความเหมาะสม  หนังสือขอให้เจ้าหน้าท่ีจากส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจมาช่วย ราชการหรือชีแ้ จงหรือสง่ ขอ้ มลู หรอื สถติ ใิ ด ๆ ได้  ดาเนินการอน่ื ใดตามท่ีคณะรัฐมนตรมี อบหมาย

ในกรณีท่ีมีโครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริเร่งด่วนหรือพิเศษ ซึ่งต้องดาเนินการเพ่ือสนองพระราชดาริโดยเร็ว ให้ประธานกรรมการ กปร. ใชอ้ านาจแทน กปร. ได้ แต่ต้องแจ้งให้ กปร. ทราบหรือประธานกรรมการ กปร. โดยความเห็นชอบของ กปร. จะมอบอานาจหน้าที่ท่ีกาหนดไว้ในระเบียบนี้ ใหแ้ กก่ รรมการคนใดคนหนึ่งใชอ้ านาจหน้าทีแ่ ทน กปร. ไดต้ ามความเหมาะสม นับตั้งแต่ทรงรับขึ้นทรงราชย์ต้ังแต่วันที่ 1 ธันวาคม 2559 ถึงปัจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ได้พระราชทาน แนวพระราชดาริให้หน่วยงานต่างๆ ดาเนินงานโครงการอันเนื่องมาจาก พระราชดาริ จานวนทง้ั ส้นิ 53 โครงการ แยกเป็น  โครงการท่ีมีพระราชดาริโดยตรง จานวน 23 โครงการ เป็นโครงการดา้ นการพฒั นาแหลง่ นา้ อาทิ  โครงการแก้ไขปรับปรุงอ่างเก็บน้าห้วยทรายขม้ินฯ จงั หวดั สกลนคร ที่ชารุดเสียหายจากอุทกภัย เนื่องจากพายุโซนร้อน “เซิน กา” โดยใช้งบจาก งบกลาง กปร. ให้แก่ กรมชลประทานรับไปดาเนินการ ปจั จุบันดาเนนิ การเสรจ็ เรียบร้อยแลว้ งบปกติของกรมชลประทาน ปัจจุบันดาเนินการเสร็จ เรียบรอ้ ยแล้ว

 โครงการปรับปรงุ อ่างเก็บน้าในเขตพื้นทีจ่ ังหวัดสกลนคร จานวน 22 แห่ง โดยในปี 2561 ดาเนินการ จานวน 15 โครงการ และ ดาเนนิ การในปี 2562 จานวน 7 โครงการ โดยใช้งบประมาณปกติของกรม ชลประทาน  โครงการที่เกิดจากราษฎรขอพระราชทานความช่วยเหลือ (ฎีกา) ซึ่ง ท ร ง รับ เ ป็น โ ค ร ง ก า ร อันเนื่องมาจากพระราชดาริ จานวน 30 โครงการเป็นโครงการพัฒนาดา้ นแหลง่ น้าทง้ั หมด โครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาริ โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ หมายถึง โครงการ แผนงาน หรือกิจกรรมใดๆ ที่ส่วนราชการ หรือ รัฐวิสาหกิจ เป็นผู้ดาเนินงาน เพื่อสนองพระราชดาริ (ระเบียบสานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยโครงการ อันเน่ืองมาจากพระราชดาริ พ.ศ. 2534) อยา่ งไรกต็ าม แผนงาน/โครงการหรือกิจกรรมใดๆ ทีเ่ คยเรียกวา่ “โครงการตามพระราชดาริ” น้ัน ที่แท้เป็น โครงการท่ีได้รับพระราชทานพระราชดาริในเบื้องต้น เท่าน้ัน แต่กว่าจะถึงขั้นดาเนินการต้องผ่านขั้นตอน การกล่ันกรองจากหลายฝ่ายและบางกรณีได้เลิกล้มไปเพราะไม่เหมาะสม จงึ ไดเ้ รียกว่า “โครงการอันเน่ืองมาจากพระราชดาริ”

โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาริ ได้มาจาก 3 แหล่งทมี่ า ดงั นี้  มีพระราชดารโิ ดยตรง  ราษฎรทลู เกลา้ ฯ ถวายฎกี าขอพระราชทานความช่วยเหลือ  หน่วยงานกราบบังคมทูลถวายรายงานขอพระราชทาน พระบรมราชวนิ ิจฉัย ซึ่งวิธีการขับเคล่ือนโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ จะต้องมี การศึกษากล่ันกรองให้ถ่องแท้ ทาด้วยความละเอียดรอบคอบ ชัดเจน และจึงมีการจัดทารายงานทูลเกล้าฯ ถวาย ซ่ึงพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 10 ทรงใหค้ วามสาคญั เป็นอย่างมาก

ศนู ยก์ ารศกึ ษาพัฒนาอนั เนือ่ งมาจากพระราชดาริ เนื่องจากศูนย์ศึกษาการพัฒนาฯ ท้ัง 6 ศูนย์ ตั้งอยู่ ตามภูมิภาคต่างๆ ได้ทาการศึกษาเพื่อให้ได้มาซึ่ง ความรู้ท่ีจะนาไปส่งเสริมให้เกษตรกรได้นาไปใช้ ในการประกอบอาชพี ในหลายๆด้าน โดยเฉพาะทางด้าน การเกษตร อย่างไรก็ตามแต่ละศูนย์ จะทาการศึกษา เน้นหนักแตกต่างกันไปตามสภาพภูมิศาสตร์สังคม ท่ีศูนย์ศึกษาการพฒั นาฯ นน้ั ตัง้ อยู่ ดงั ตอ่ ไปน้ี  ผลสาเร็จ/ประโยชน์สุข  ป่า 11,000 ไร่ กลับมาชุ่มช้ืน เป็นแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาตทิ ี่หลากหลาย  จากผืนดินท่ีเป็นทรายเปลี่ยนเป็นดินท่ี สมบูรณ์  สามารถทาเกษตรได้ และประกอบอาชีพท่ีมี การบริหารจัดการดินและน้าได้อย่างย่ังยืน คือมีสระเก็บกักน้าตามแนว พระราชดารทิ ฤษฎีใหม่

 ผลสาเร็จ/ประโยชน์สุข  ผลผลิตทางการเกษตรเพ่ิมขึ้น ปลูกข้าวจาก 32 ถงั ตอ่ ไร่ เปน็ 50 ถงั ตอ่ ไร่  ปรับปรุงพันธุ์สัตว์พื้นเมืองในหมู่บ้านรอบ ศนู ยแ์ ละศูนย์สาขา (โดยใชพ้ ่อพนั ธุ์ –แมพ่ ันธุ์ดี)  การนาไบโอดีเซลมาทดลองใชก้ บั เรือประมงพ้นื บ้าน  ผลสาเร็จ/ประโยชน์สุข  ทรัพยากรดิน น้า ป่าไม้ ได้รับการฟื้นฟู พ้ืนท่ีภายในศูนย์ 1,895 ไร่ ได้รับการพัฒนาพื้นที่ เกษตรกรรมเพิ่มข้ึน  เกษตรกรเปลี่ยนมาปลูกพืชที่ หลากหลายข้ึน  เป็นแหล่งปลูก รวบรวมพนั ธ์พุ ืชสมุนไพร 870 กวา่ ชนดิ

 ผลสาเร็จ/ประโยชนส์ ุข  ดิน ป่าไม้ ทรพั ยากรธรรมชาติมีความอดุ มสมบูรณ์  ราษฎรได้รับการพัฒนาจนสามารถพ่งึ ตนเองไดแ้ ละมีความอย่ดู ีมสี ขุ 

ผลสาเร็จ/ประโยชน์สุข เป็นศูนย์กลางในการศึกษา ทดลอง วิจัย เพ่ือหารูปแบบการพัฒนา ตา่ ง ๆ ในบริเวณพืน้ ท่ีตน้ นา้ ท่ีเหมาะสมและเผยแพร่ให้ราษฎรนาไปปฏิบัติ ต่อไป โดยเฉพาะอย่างย่ิง การพัฒนาพื้นท่ีต้นน้าลาธาร โดยทาการศึกษา การพัฒนาป่าไม้พ้ืนท่ีต้นน้าลาธาร ให้ได้ผลอย่างสมบูรณ์เป็นหลักต้นทาง ปลายทาง เป็นการศึกษาการประมงตามอ่างเก็บน้าต่าง ๆ ท่ีจะก่อให้เกิด ประโยชนต์ ่อราษฎรอยา่ งแทจ้ รงิ ผสมกับการศึกษาด้านการเกษตรกรรมด้าน ปศุสัตว์และโคนมและด้านเกษตรอุตสาหกรรม เพ่ือให้เป็นศูนย์ท่ีสมบูรณ์ แบบ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ ่อราษฎรท่ีจะเข้ามาศึกษากิจกรรมต่างๆ ภายใน ศูนย์ฯ แล้วนาไปใชป้ ฏบิ ตั อิ ย่างไดผ้ ลต่อไป

 ผลสาเร็จ/ประโยชนส์ ขุ  เป็นศูนย์กลางในการอบรมและเผยแพร่การศึกษาด้านการจัดการ ทรัพยากรชายฝั่งแก่ส่วนราชการและประชาชนท่ัวไปและเป็นหน่วยสาธิต การเลยี้ งสัตว์นา้ การทาฟาร์มทะเล  ยกระดับฐ านะคว ามเป็นอยู่ ลดต้นทุนการผลิต ในอาชีพ ด้านการประมงและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าชายฝั่ง ทาให้เกษตรกรมีรายได้ เพิ่มข้ึนจากการนาความรู้ท่ีได้จากศูนย์ฯ มาประยุกต์ใช้กับการประกอบ อาชพี  ทาใหก้ ารปฏบิ ตั งิ านของศูนย์ฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเป็นไป ตามแผนงาน/โครงการ นอกจากนี้ศูนย์ฯ ยังมีศักยภาพ โดยเป็น การท่องเทยี่ วเชิงอนุรกั ษ์จนเป็นแหลง่ ท่องเท่ียวท่เี ปน็ ทรี่ ู้จักมากขน้ึ

แนวพระราชดารขิ องศูนยศ์ กึ ษาการพฒั นา ฯ  

 

 



วิธปี ฏบิ ัตพิ ระราชทาน (โครงการหลวง)  เรว็ ๆ เข้า พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหาราช บรมนาถบพิตร เคยรับสั่งขยายความว่า ความยากจน การเจ็บไข้ ได้ป่วย ความไม่รู้หรือรู้ไม่มาก ส่ิงเหล่าน้ีจะบั่นทอนคุณภาพชีวิต เราต้องเร่ง เราต้องเร็วๆเข้า ที่จะเข้าไปทางานร่วมกับประชาชน ให้เขาเข้มแข็ง 3 เดอื นสาหรับประชาชนในชนบทมีความหมายมาก แต่ 3 เดือนสาหรับคน ในเมอื งทส่ี ะดวกสบายไมค่ ่อยมคี วามหมายเทา่ ไหร่  ลดข้นั ตอน ระบบระเบยี บราชการต้องมีข้ันตอน แต่เม่ือลงมือปฏิบัติ ในชุมชนชนบท ถ้าจะเอาระบบระเบียบราชการไปปฏิบัติ ข้อแรกจะไม่เกิด เร็วๆเข้าจะไม่เกิด จะต้องทางานโดยมุ่งหวังประโยชน์และความสุขของ ประชาชน เพราะฉะนั้น ระเบียบอะไรก็ตามท่ีเป็นอุปสรรคขัดขวาง จะต้อง ชว่ ยกันตัดทอน  ช่วยเขาให้ช่วยตนเอง สิ่งน้ีเป็นส่ิงที่สาคัญที่สุด พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ไดพ้ ระราชทานพระบรมราโชบายน้ีไว้หลายแห่งในคาว่า “ช่วยเขาให้ช่วย ตนเอง” คาน้ีต้องอยู่ในใจของผู้ปฏิบัติงานตลอดเวลา ในความเป็นจริง ประชาชนในชนบทหลายแห่งช่วยตนเองอยู่แล้ว โดยเราจะต้องเป็นผู้เข้าไปเสริม แต่ถ้าประชาชนอยู่ในสภาพท่ียังช่วยตนเองไม่ได้ ต้องต้ังเป้าหมายว่า สุดท้ายเขาต้องช่วยตนเองและจะต้องเป็นคนท่ีมีเสรีภาพในชีวิตของเขา ใหไ้ ด้ เขาตอ้ งพึ่งตนเองใหไ้ ด้

 ปิดทองหลังพระ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพล อดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร เคยมีรบั ส่ังว่า “การปิดทองหลังพระนั้น เม่ือถึงคราวจาเป็นก็ต้องปิด ว่าท่ีจริงแล้วคนโดยมากไม่ค่อยชอบปิดทอง หลังพระกันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิดทอง ขา้ งหน้า ไมม่ ใี ครปดิ ทองขา้ งหลงั เลย พระจะเป็นพระที่งามสมบรู ณไ์ ม่ได้” ทุนเดมิ ของคนไทย  แผน่ ดินไทยอันอุดมสมบูรณ์  ความเปน็ ไทย มีวัฒนธรรมไทย  สถาบันพระมหากษัตริย์ คือ สถาบันแห่ง ความมนั่ คงของแผ่นดนิ  แก่นพระศาสนา คือ สถาบันเพื่อความ ดงี ามของสังคม

เปา้ หมายหรอื ผลของการมีการขบั เคลอ่ื นระดบั จังหวัด  การชว่ ยเหลือการร้องทุกข์ (ฎกี า) ให้เกดิ ประสทิ ธภิ าพ (การกลน่ั กรอง) งานกิจกรรมบางอย่าง สามารถใช้งบประมาณจังหวัดหรืองบประมาณ ทอ้ งถ่นิ ได้ ข้อมูลพื้นฐาน ความเป็นมาของเรื่องต่างๆ สามารถจัดเก็บ ให้เปน็ ระบบ และใช้เช่อื มโยงต่อประสานงานกันได้ (ส่ือสารทาความเข้าใจ ให้ครบถ้วน เปน็ ฐานข้อมูลเดยี วกนั ) ข้อพงึ ระวัง  การพิจารณาแผนงาน กิจกรรม งบประมาณ ให้เป็นระบบต่อเน่ือง ท้งั ระยะสนั้ ระยะปานกลางและระยะยาว  ประเด็นเงื่อนไข ข้อติดขัดทางกฎระเบียบ กฎหมาย ต้องทาให้เป็นไป ตามขั้นตอนทางกฎหมาย แต่ให้เร่งรัดระยะเวลา และข้ันตอนการพัฒนา เพือ่ ให้เกดิ ขอ้ ยุติ สามารถแก้ไขไดโ้ ดยเรว็

พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรชั กาลท่ี 10

การดาเนินการ นอกจากสง่ิ ทกี่ ล่าวมาในขา้ งต้นนสี้ ุดท้ายอยากจะฝากสิ่งท่ีอยากให้ ดาเนนิ การตอ่ ในเร่ืองอ่ืนๆ ตัวอย่างเชน่  การเกิดอุทกภัย เช่น เม่ือมีการเกิดอุทกภัย จะมีหลาย หนว่ ยงานท่ีเกย่ี วข้องซึง่ มกี ารแจกเมล็ดพันธ์ุ เช่น กรมการเกษตร กรมการข้าว ซึง่ ถ้านาเมลด็ พันธุ์จากศนู ย์ศึกษาฯ ขอใหร้ ะบดุ ้วยว่า เป็นของพระราชทาน ซึ่งถ้าไม่มีการระบุจะทาให้ไม่ทราบว่า เมล็ดพันธุ์นั้นเป็นของรัฐบาลหรือ เปน็ เมลด็ พันธุ์พระราชทาน เปน็ ต้น  การใช้นโยบายยุทธศาสตร์พิเศษเฉพาะคน 5 กลุ่ม ได้แก่ เด็กและเยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาส ซ่ึงปัจจุบัน กลุ่มคนเหล่านี้มีแนวคิดและพัฒนาการที่ดีขึ้นเป็นอย่างมาก ซึ่งจะต้องควร ดูแลเอาใจใสก่ ล่มุ ดงั กล่าวมากยง่ิ ขึน้  การแก้ไขปัญหาเร่งด่วน เช่น ขจัดการฉ้อราษฎร์บังหลวง โดยการส่งเสริมคุณธรรมจรยิ ธรรม ลดช่องว่างความเหล่ือมล้าโดยการขจัด ความยากจน การส่งเสรมิ การศกึ ษาโดยการอบรม เปน็ ต้น  ขอให้ผ้ปู ฏบิ ัติงานทาเพ่ือบา้ นเมอื งและประชาชน

บทบาทของผบู้ ริหาร มท. กบั การเสริมสร้างความมน่ั คงของชาติ นายดนัย มู่สา รองเลขาธกิ ารสภาความมนั่ คงแหง่ ชาติ สานักงานสภาความมั่นคงแหง่ ชาติ (สมช.) สาหรับภูมิศาสตร์มีความสาคัญกับผู้ว่าราชการจังหวัด เพราะท่ีต้ัง ทางภมู ศิ าสตร์ของประเทศ เปน็ ปัจจัยสาคัญในการที่จะสร้างความปลอดภัย และความเจริญแก่ประเทศได้ ซึ่งในแต่ละพ้ืนที่จะมีความแตกต่างกัน มีความซับซ้อนและปัญหาเฉพาะพื้นท่ี ฉะนั้น ในการศึกษาพ้ืนท่ีต้องศึกษา อย่างเขา้ ใจ และเขา้ ถงึ ทุกพน้ื ที่ สถานการณ์ต่างๆ ท่ีเกิดข้ึนต้องมองทุกแง่มุม มองรอบด้าน โดยการทา SWOT วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส อุปสรรค อันเป็น เครื่องมือการบริหารท่ีนามาใช้วิเคราะห์สภาพแวดล้อม วิเคราะห์ศักยภาพ ข อ ง อ ง ค์ ก ร เ พ่ื อ ป ร ะ เ มิ น สถานการณ์ จากนั้นนาข้อมูล ที่ ไ ด้ ม า ก า ห น ด เ ป้ า ห ม า ย ห รื อ ก า ห น ด ทิ ศ ท า ง ก า ร ท า ง า น โดยการวิเคราะห์จะใช้อย่างใด อย่างหน่ึงไม่เพียงพอ ต้องใช้ การวิเคราะห์จากหลายทฤษฎี เช่น ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ SCENARIO ANALYSIS เ ป็ น ก ร ะ บ ว น ก า ร

วิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคตที่อาจจะเกิดขึ้น ซึ่งพิจารณาถึงผลลัพธ์ ที่เป็นไปได้จากเหตุการณ์ และนาผลจากการวิเคราะห์ไปสู่การเสนอ ทางเลือกในการเผชิญ กับเหตุการณ์ในอนาคตได้อย่างครอบคลุม โดยการวิเคราะห์ควบคู่ ไปกับ การวิเคราะห์ FUTURE ANALYSIS เพื่อเกิดการเตรียมความพร้อมได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังต้องใช้ ทฤษฎีสาคัญอีกประการหนึ่งมาประกอบกัน คือ การมองจากภายในสู่ ภายนอก และมองจากภายนอกสู่ภายใน (Inside - Out and Outside – In) การคิดแบบภายในสู่ภายนอกเป็นสถานการณ์ท่ีต้องการที่จะทาให้ประเทศ ของตนดีกว่าเดิมได้อย่างไรต้องพัฒนาจนเป็นท่ี ยอมรับกับต่างประเทศ การมองแบบภายนอก สู่ภายใน เป็นการจัดการท่ีประยุกต์ใช้ข้อมูล ภาพรวมจากภายนอก โดยแสวงหาข้อมูล ค้นคว้า การรับฟัง ประสบการณ์ ที่เป็นจุดเด่นหรือโอกาส และเป็นการยอมรับจากภายนอก นามาวิเคราะห์ สถานการณ์สภาวะแวดล้อมภายนอก เพ่ือหา ชอ่ งว่างและโอกาสท่ีจะทาให้ประสบผลสาเร็จ ซึ่งมีสถานการณ์และปัญหา ความม่ันคงในภาพรวมทเี่ กดิ ข้ึนในโลกมผี ลกระทบต่อประเทศไทยอย่างมาก เ ช่ น ปั ญ ห า EUROPE/REFUGEE, ISRAEL/ PALESTINE, ISIS/IRAQ (SYRIA), USA.-MAXICO/ILLEGAL IMMIGRATION DISASTER, SRI LANKA, ROHINGYA/ MYANMAR, MINDANAO, NORTH KOREA, SPRATLY และ INDONESIA/ DISASTER เป็นต้น

ส า ห รั บ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย มีสถานการณ์และปัญหา ท่ีเกิดขึ้นในพ้ืนท่ีหลากหลาย มากมาย เช่น ในพ้ืนที่ ภาคใต้ก็ได้รับปัญหาด้าน จั ง ห วั ด ช า ย แ ด น ภ า ค ใ ต้ ปั ญ ห า โ ร ฮิ ง ย า / อุ ย กู ร์ ปัญหาผลประโยชน์ทางทะเล/IUU ปัญหาความแตกแยกภายในประเทศ ปัญหาภัยพิบัติ ฯลฯ และจากการพิจารณาสถานการณ์ และปัญหาในพ้ืนท่ี โดยรวมของประเทศ ก็พบว่า ยังมีปัญหาอีกหลายอย่างที่ประเทศไทยกาลัง เผชญิ อยู่ และมีโอกาสท่ีจะเกิดขึ้นในอนาคต ซ่ึงเป็นปัญหาที่เกิดจากภายใน และภายนอก เช่น ความยากจนและความเหล่ือมล้า ความขัดแย้งในสังคม ความม่ันคงทางพลังงานและอาหาร ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ เทคโนโลยี อาชญากรรมขา้ มชาติ การลักลอบสินค้าผิดกฎหมาย NGO และ อตุ สาหกรรม NGO, IGO ในพนื้ ทไี่ มส่ อดคลอ้ ง กบั งานของรัฐ ความเสี่ยงต่อ การก่อการร้าย หลบหนีเข้าเมืองผิดกฎหมาย แรงงานต่างด้าว ผิดกฎหมาย มลพิษ ความเส่ือมโทรมสิ่งแวดล้อมในเขตเมือง ความเสี่ยงภัยจากการสู้รบ ความมั่นคงชายแดน ภัยไซเบอร์ โรคอุบัติใหม่ สังคมผู้สูงอายุ ทาลาย ทรพั ยากรธรรมชาติภัยธรรมชาติ ยาเสพตดิ เป็นตน้

ตามท่ีกาหนดยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) ยุทธศาสตร์ชาติด้านความ ม่ันคง/แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านคว ามมั่นคง นโ ยบายและแผน ระดับชาติว่าด้วยความม่ันคงแห่งชาติ (พ.ศ. 2561 – 2564) และแผนพัฒนา เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) เป็นกรอบการพัฒนา เ พ่ื อ ป ร ะ ส ง ค์ ใ ห้ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ใ น อ น า ค ต เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว โดยอาศัย การเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์ชาติและ ความสอดคล้องกับแผนระดับกระทรวง เป็นกลไกในการขับเคล่ือน ซ่ึงมีเป้าหมาย ใ น อ น า ค ต เ ก่ี ย ว กั บ ร า ย ไ ด้ ต่ อ หั ว $15,000/คน/ปี ( 510,000 บาท/คน/ปี ) ในระยะ 20 ปี ข้างหน้า พร้อมกับเป้าหมาย การพฒั นาในดา้ นตา่ งๆ ดังน้ี  สังคมไทยที่มีคุณภาพและเป็นธรรม การพัฒนา มคี วามครอบคลุม ท่วั ถึง ไมท่ งิ้ ใครไว้ขา้ งหลัง  มีความม่ันคงด้านอาหาร น้า พลังงาน และ ปลอดภัยในทกุ ระดบั ทุกดา้ น  สงั คมและเศรษฐกจิ ไทยท่เี ปน็ มิตรกบั สงิ่ แวดล้อม  ประเทศไทยในการแข่งขนั บนพืน้ ฐานความรู้ ความคิดสรา้ งสรรค์  ฐานการผลติ Bio-Based อาหารมนั่ คงปลอดภัย ผลิตภาพสงู

 เมืองหลวงแหง่ การทอ่ งเท่ียวและบรกิ ารอาเซียน  อุตสาหกรรมเดิมศักยภาพสูง อุตสาหกรรมอนาคตเป็นฐานรายได้ใหม่ เปน็ ศนู ย์กลางการลงทุนของอาเซียน  หน่วยงานภาคราชการทนั สมัย กะทัดรดั โปร่งใส มีประสิทธภิ าพ  คนไทยคณุ ภาพและมีความเปน็ สากลมีรายได้สงู มีความเป็นอยู่ และมีความสขุ  เปน็ ห้นุ ส่วนทมี่ บี ทบาทสรา้ งสรรค์และสาคญั ในเวทีโลก  การพฒั นาเชิงพ้ืนที่ ภาค และเมอื งมคี วามโดดเด่น แข่งขนั ได้ นา่ อยู่

เพ่ือให้ประชาชนมคี วามอยู่ดี กินดี มคี วามสขุ บ้านเมอื งมีความม่ันคง ในทุกมิติและทุกระดับ กองทัพ หน่วยงานด้านความม่ันคงภาครัฐ ภาคเอกชน ประชาชนมีความพร้อมในการแก้ไขปัญหา ประเทศไทย มีบทบาทเป็นท่ีชื่นชมและได้รับการยอมรับโดยประชาคมระหว่างประเทศ การบริหารจดั การความมนั่ คงมผี ลสาเรจ็ ท่เี ป็นรปู ธรรมอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ  ก า ร ร ัก ษ า ค ว า ม ส ง บ ภายในประเทศ  การป้องกันและแก้ไขปัญหาท่ีมี ผลกระทบ ต่อความม่นั คง  การพฒั นาศักยภาพของประเทศ ให้พร้อมเผชิญภัยคุกคามท่ีกระทบต่อ ความมั่นคงของชาติ  การบูรณาการความร่วมมือ ด้ า น ค ว า ม มั่ น ค ง กั บ อ า เ ซี ย น แ ล ะ นานาชาติ รวมถึงองค์กรภาครัฐและ ท่ีไม่ใช่ภาครฐั  การพัฒนากลไกการบริหาร จัดการความม่นั คงแบบองค์รวม

 อยู่ดี กินดี มีการศึกษา อาชีพและรายได้พอเพียง  ม่ันคง ปลอดภัยในชีวิตและทรพั ยส์ ิน  บ้านเมืองสงบ ประชาชนมคี วามสขุ อย่างย่งั ยนื  สงั คมมีความเขม้ แขง็ สามัคคี ปรองดอง เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่  ประชาชนประกอบอาชีพได้โดยสะดวก สามารถแขง่ ขันได้  รฐั บาลบริหารประเทศไดต้ ามยทุ ธศาสตร์ นโยบายความมั่นคงของไทยต่อประเทศเพ่ือนบ้าน พ.ศ. 2550 – 2554 ทไ่ี ดเ้ ป็นกรอบแนวทางให้กบั ส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องนาไปปฏิบัติตลอด และต่อมาได้ส้ินสุดลง จากนั้น สมช. ได้ดาเนินการร่างยุทธศาสตร์ ความมั่นคงแห่งชาติของไทยต่อประเทศรอบบ้าน พ.ศ. 2560 – 2564 ซึ่งคณะรัฐมนตรี ได้มีมติเม่ือวันที่ 13 กันยายน 2559 รับทราบตามท่ี สมช.เสนอ โดยได้กาหนดประเด็นสาคญั ของยุทธศาสตร์ 11 ข้อ ดงั น้ี  เสริมสร้างความสัมพนั ธแ์ ละความไว้วางใจระหวา่ งผู้นาระดับสูงตอ่ กนั  ไม่แทรกแซงกิจการภายในของประเทศรอบบ้าน  ร่วมมือกับประเทศ รอบบ้านในการสารวจ และจดั ทาหลกั เขตแดน  ดาเนินการผ่าน ก ล ไ ก ค ว า ม ร่ ว ม มื อ ด้ า น ค ว า ม ม่ั น ค ง ใ น ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น ขอ้ มลู ท่ีสาคัญต่อกัน

 พฒั นาระบบตรวจคนเขา้ เมืองและระบบศุลกากร  เสรมิ สรา้ งความเขม้ แขง็ ให้กบั ชมุ ชนในบรเิ วณพ้นื ทีช่ ายแดน  ติดตาม ตรวจสอบและวิเคราะห์บทบาทและอิทธิพลของประเทศ มหาอานาจในประเทศรอบบา้ น  ร่วมมือกับประเทศรอบบ้านในการนาแรงงานเขา้ มาทางานในประเทศไทย  พัฒนากลไกของสว่ นราชการที่มอี ยูก่ ับประเทศรอบบ้าน  แกไ้ ขปญั หาอาชญากรรมขา้ มชาติร่วมกัน  จัดต้ังเขตเศรษฐกิจพิเศษ

 ตรวจสอบสถานการณ์และจัดทามาตรการ ป้องกันแก้ไขเง่ือนไข ทอ่ี าจนาไปสคู่ วามขดั แย้ง  ตรวจสอบการเสนอข่าวท่ีคลาดเคลื่อนพร้อมทั้งแก้ไขข่าวและ สรา้ งความเข้าใจทีถ่ กู ต้องต่อสาธารณชน  ส่งเสริมให้มที ัศนคตทิ ่ดี ีต่อกัน  รว่ มพฒั นาและบรู ณาการเชื่อมโยงเขตเศรษฐกิจไทย – ลาว  สง่ เสรมิ ให้มีทศั นคติท่ดี ีต่อกัน  ร่วมมือกับรัฐบาลเมียนมา ส่งผู้หนีภัย การสู้รบกลับประเทศ อยา่ งปลอดภยั  ติ ด ต า ม วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ถ า น ก า ร ณ์ ใ น เ มี ย น ม า เ พ่ื อ ปอ้ งกนั ผลกระทบตอ่ ไทย  ส่งเสรมิ ความร่วมมือไทย – เมยี นมา ทัง้ ในระดับทวิภาคีและพหุพาคี

 สรา้ งความเข้าใจเรื่องปัญหาความไมส่ งบในจังหวดั ชายแดนภาคใต้  รว่ มมอื กันแก้ไขปญั หาบุคคลสองสญั ชาติ  รว่ มมอื แลกเปลีย่ นดา้ นการขา่ วเชิงลกึ  สนับสนุนการพฒั นาพืน้ ทช่ี ายแดนใหม้ ีผลเป็นรูปธรรม  แก้ไขปัญหาเฉพาะ เช่น เขตเศรษฐกิจพิเศษ จังหวัดชายแดน จังหวัด ชายแดนใต้ ทะเล ไซเบอร์ (Cyber) ฯลฯ  นานโยบายยุทธศาสตรแ์ ละแผนความมัน่ คงไปปฏิบัติ  สร้างสมดลุ งานพฒั นากับงานความมั่นคง  พัฒนาและสร้างการมีสว่ นร่วมของประชาชน  ทางานร่วมกับประเทศรอบบ้าน (เอกอัครราชทูต ผู้ช่วยทูต และ กลไกตา่ งๆ)

เร่ิมต้นที่ร่วมกันค้นหาสถานการณ์ เหตุการณ์ ประสบการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น มาร่วมกันแสดง ความคิดเห็น แสดงเหตุผล ทาความเข้าใจและ หาทางคลี่คลายปัญหาความขัดแย้งร่วมกัน โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อหาแนวทางการพัฒนา หรือแก้ไข พร้อมประมวลความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับ จากการถกแถลงร่วมกันของทุกฝ่าย มาเป็นข้อมูลทางเลือก ในการตัดสินใจต่างๆ เพื่อได้แผนการดาเนินงานที่ดีที่สุด ตรงตามวัตถปุ ระสงค์ทีต่ ง้ั ไว้ อ ง ค์ ก า ร ก า ร ศึ ก ษ า วิ ท ย า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม แห่งสหประชาชาติหรือ ยูเนสโก (Unesco) ได้ศึกษา แนวทางการจัดการศึกษาสาหรับศตวรรษท่ี 21 และ ได้ข้อสรุปเป็นรายงานและต้ังชื่อรายงานว่า “Learning : The Treasure Within” แปลวา่ “การเรียนรู้ : ขุมทรัพย์ในตน” ในรายงาน ดังกลา่ วมีสาระสาคัญตอนหนึ่งทก่ี ล่าวถึง “สี่เสาหลักทางการศึกษา” ซึ่งเป็น VISION ของการศึกษาใน ศตวรรษที่ 21 ของ UNESCO ประกอบด้วย การเรยี นรู้ 4 แบบ ไดแ้ ก่  LEARNING TO KNOW การเรยี นรู้เพือ่ รู้  LEARNING TO DO การเรียนรเู้ พ่ือปฏิบัติได้  LEARNING TO LIVE TOGETHER การเรียนร้ทู ี่จะอยรู่ ่วมกนั  LEARNING TO BE การเรยี นร้เู พ่อื ชวี ติ รวมเปน็ คาขวัญ คือ “A LIFETIME TO LEARN” ครบวงจร ALL IN ONE

ทุกคนต้องมีการเตรยี มความพรอ้ มโดยการ SELF RENEWAL : PERSONAL CHECKLIST  Fluent in Two Languages  Reads One Book a Month  Reads Four Daily Newspapers  Reads 30 Magazines  Attends One Course Per Quarter  Out of Office > 50 %  Computer Literate  Multidisciplinary Knowledge

การป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั ระดับพืน้ ที่ นายชยพล ธติ ิศกั ดิ์ อธิบดีกรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กาหนดพื้นท่ีแยกหรือแบ่งพื้นท่ีที่ได้รับผลกระทบและจัดเจ้าหน้าท่ี รับผิดชอบแต่ละพืน้ ที่ มีการบูรณาการ มีการแบ่งมอบพื้นที่ และจะต้องรู้ว่าหน่วยงานใด อยู่ชว่ ยในพื้นทีห่ รือทางทหารเรียกว่า หน่วยเคลื่อนสมทบแต่ต้องมี ผรู้ ับผิดชอบ วิเคราะห์ท้ังงานภูมิประเทศและสถานการณ์ของแต่ละพ้ืนท่ีย่อย โดยผูกโยงภาพรวมต่อเนื่องกันทั้งในพื้นท่ีท่ีได้รับผลกระทบและ แยกการปฏิบัติตามพื้นท่ี ในการกาหนดงานออกเป็นเฟสๆ ในการแก้ไขปัญหา เช่น มีศูนย์ ปภ.เขต หรือหน่วยท่ีเล็กลงมา มีเจ้าหน้าที่รบั ผิดชอบโดยตรงแต่ละพ้ืนท่ี มีการแถลงข่าว แผนงานตลอดจนผู้เก่ียวข้องและประชาชน ให้ทราบว่า ได้ทาอะไร อย่างไรเป็นรูปธรรม พร้อมทั้งมีการปรับ สถานการณ์ใหท้ นั สมยั อย่างต่อเน่ือง ทง้ั ข้อมูลและการปฏิบัติ ใน เร่ื อง ของการ บริ จา คแ ละเส น อขอควา มต้ อง กา รไม่ว่ า จ ะเ ป็ น สง่ิ ของหรอื งบประมาณใหม้ กี ารประมาณการใช้จ่ายใหถ้ ูกต้อง ให้วิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีและแก้ไข ใหต้ รงจุด ผู้ที่เสียชีวิต ผู้ท่ีได้รับผลกระทบ ให้มี การดแู ลมีการตอบแทนใหช้ ัดเจน

การจัดการความเสีย่ งจากสาธารณภยั ดาเนนิ การตามวัฏจกั รภัย ดังนี้ ได้แก่ การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย การเตรยี มความพร้อม และการประเมนิ ความเสย่ี งจากสาธารณภัย ไดแ้ ก่ การเผชญิ เหตุ และการบรรเทาทุกข์ ได้แก่ การฟน้ื ฟู - พระราชบญั ญตั ปิ ้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั พ.ศ. 2550 เป็นกฎหมายในการจัดการความเสี่ยงจาก สาธารณภัยของประเทศโดยให้ กลไก อานาจ เครือ่ งมอื และคุ้มครอง เพื่อให้การดาเนินการจัดการ ความเสยี่ งจากสาธารณภัยเปน็ ไปอยา่ งเป็นระบบและ มีประสทิ ธภิ าพ ดังนี้  ได้แก่ คณะกรรมการ ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภยั แห่งชาติ (กปภ.ช.) ได้แก่ กองบัญชาการ ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย (บกปภ.ช.) กองอานวยปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยกลาง (กอปภ.ก.) กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด (กอปภ.จ.) กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย กรุงเทพมหานคร (กอปภ.กทม.) กองอานวยการปูองกันและบรรเทา

สาธารณภัยอาเภอ (กอปภ.อ.) กองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย เมืองพัทยา (กอปภ.เมืองพัทยา) กองอานวยการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยเทศบาล (กอปภ.ทน./ทม./ทต.) กองอานวยการปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัยองคก์ ารบรหิ ารสว่ นตาบล (กอปภ.อบต.)  มาตรา 11 ปภ. เป็นหน่วยงานกลางของรัฐในการปูองกันและ บรรเทาสาธารณภัยของประเทศ มาตรา 13 รฐั มนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เป็นผู้บัญชาการ ปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติ มีอานาจควบคุม และกากับ การปูองกันและบรรเทาสาธารณภยั ทัว่ ราชอาณาจกั ร มาตรา 14 อธิบดี ปภ. เป็นผู้อานวยการกลาง มีหน้าท่ีปูองกัน และบรรเทาสาธารณภัยท่ัวราชอาณาจักร และมีอานาจควบคุมและกากับ การปฏิบัติหน้าท่ีของผู้อานวยการ ผู้ช่วยผู้อานวยการ เจ้าพนักงานและ อาสาสมัคร ทว่ั ราชอาณาจกั ร มาตรา 15 ผู้ว่าราชการจังหวัด เป็นผู้อานวยการจังหวัด รบั ผดิ ชอบ ในการปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภัยในเขตจงั หวดั มาตรา 18 นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นรองผู้อานวยการ จงั หวัด มาตรา 19 นายอาเภอ เปน็ ผอู้ านวยการอาเภอ  มาตรา 16 แผนการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด กาหนดให้มีสาระสาคัญประกอบด้วย แนวทาง มาตรการ และ งบประมาณ ทใี่ ช้ในการปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย แนวทางและวิธีการ ในการให้ความช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนท่ีเกิดขึ้นเฉพาะหน้า และระยะยาว เมื่อเกิดสาธารณภัย การจัดต้ังศูนย์อานวยการเฉพาะกิจ

เม่ือเกดิ ภัย แผนปฏบิ ัติการในการปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัยขององค์กร ปกครองส่วนทอ้ งถิ่น และแผนการประสานงานกบั องค์การสาธารณกุศล มาตรา 17 ผู้ว่าราชการจังหวัดแต่งตั้งคณะกรรมการจัดทาแผน การปูองกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด โดย ผวจ. เป็นประธาน กรรมการ นายก อบจ. เป็นรองประธาน หัวหน้าสานักงาน ปภ. จังหวัด เป็นกรรมการและเลขานุการ มาตรา 43 ผู้บัญชาการ รองผู้บัญชาการ ผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ช่วยผู้อานวยการ และเจ้าพนักงาน ซึ่งปฏิบัติหน้าท่ี ปูองกนั และบรรเทาสาธารณภัย หากได้ดาเนินการไปตามอานาจหน้าท่ีและ ได้ดาเนินการไปพอสมควรแก่เหตุและมิได้ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรงให้ ผ้กู ระทาการนน้ั พ้นจากความผิดและความรับผดิ ทงั้ ปวง มาตรา 4 กาหนดนยิ ามคาว่า“ สาธารณภยั ” มาตรา 6 ให้มีคณะกรรมการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย แหง่ ชาติ (กปภ.ช.) ดาเนนิ การในด้านนโยบาย มาตรา 28 การส่งั อพยพประชาชน มาตรา 31 กรณีภัยร้ายแรงอย่างยิ่งนายกรัฐมนตรี หรือ ร อ ง น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ซ่ึ ง น า ย ก ม อ บ ห ม า ย มี อ า น า จ สั่ ง ก า ร ผู้ บั ญ ช า ก า ร ผอู้ านวยการ หน่วยงานของรัฐ

เป็นแผนหลักในการบริหารจัดสาธารณภัยตามหลักสากล มีลักษณะเป็นแนวคิดในการปฏิบัติมุ่งเน้นการจัดการความเสี่ยงจาก สาธารณภัย โดยยึดแนวคดิ “การลดความเส่ียงจากสาธารณภัย” (Disaster Risk Reduction) เพื่อปูองกันภัยพิบัติตามหลักสากล คือ “รู้รับ-ปรับตัว – ฟ้ืนเร็วท่ัว -อย่างยั่งยืน” (Resilience) ซึ่งคณะรัฐมนตรีได้อนุมัติแผน ดังกลา่ ว เม่ือวันท่ี 31 มีนาคม พ.ศ. 2558 โดยมอบหมายให้กระทรวง กรม องค์กรและหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ จังหวัด อาเภอ องค์กรปกครอง ส่วนทอ้ งถิน่ ภาคเอกชน และภาคสว่ นอื่น ๆ ปฏบิ ตั กิ ารตามแผน มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ เ พื่ อ ใ ห้ ส่ ว น ร า ช ก า ร ส า ม า ร ถ เ บิ ก เ งิ น ค ลั ง เป็นเงินทดรองราชการ เพ่ือทดลองจ่ายในกรณีที่เกิดภัยพิบัติฉุกเฉิน และมีความจาเป็นเร่งด่วน ที่ต้องให้ความช่วยเหลือและบรรเทา ความเดือดร้อนเฉพาะหน้าแก่ผู้ประสบภัยพิบัติ และมีหลักเกณฑ์วิธีการ ดาเนินการให้ความช่วยเหลือตามระเบยี บกระทรวงการคลงั ฯ ดงั น้ี สานักเลขาธิการนายกรฐั มนตรี สานักนายกรฐั มนตรี 100 ล้านบาท สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงกลาโหม 50 ลา้ นบาท สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงการพฒั นาสงั คมฯ 10 ล้านบาท สานกั งานปลดั กระทรวง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 50 ลา้ นบาท สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงมหาดไทย 50 ลา้ นบาท สานกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข 10 ลา้ นบาท กรมปอู งกนั และบรรเทาสาธารณภยั 50 ลา้ นบาท สานกั งานปอู งกันและบรรเทาสาธารณภยั จงั หวัด แห่งละ 20 ลา้ นบาท

กรณีฉุกเฉิน (วงเงิน 10 ล้านบาท) ในกรณีท่ีคาดหมายว่าจะเกิดภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินข้ึนในเวลาอันใกล้ เพ่ือการปูองกันหรือยับย้ังภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ซึ่งจาเป็นต้องรีบดาเนินการ โดยฉับพลัน (ไม่ต้องประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือฯ) ได้แก่ ค่าแรงงาน/จ้างเหมา ค่าวัสดุอุปกรณ์ ค่าซ่อมแซม ค่าจัดหาเช้ือเพลิง คา่ ไฟฟาู คา่ ใช้จ่ายเจ้าหน้าที่ ค่าอาหารจดั เลย้ี ง (วงเงิน 20 ล้านบาท) ในกรณีเกิดภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉินขึ้นและได้ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติ กรณีฉกุ เฉินแล้ว เพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน หรือสนับสนุน การให้ความช่วยเหลือฯ โดยเร่งด่วนตามความจาเป็นและเหมาะสม โดยมุ่งหมายที่จะบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าของผู้ประสบภัยพิบัติ แต่มิได้มุ่งหมายท่ีจะชดใช้ความเสียหายให้แก่ผู้ใด โดยใช้หลักเกณฑ์ การใช้จา่ ยเงินทดรองราชการเพ่อื ช่วยเหลือ  ผู้ประสบภยั พิบัตกิ รณฉี กุ เฉนิ พ.ศ. 2556 ไดแ้ ก่ เช่น ค่าอาหารจัดเลี้ยง ค่าถุงยังชีพ ค่าวัสดุ ซ่อมแซมหรือก่อสร้างท่ีอยู่อาศัยประจา ค่าเคร่ืองนุ่งห่ม ค่าเครื่องมือ ประกอบอาชพี คา่ ช่วยเหลอื ผู้บาดเจบ็ ค่าจัดการศพ คา่ เครอื่ งกันหนาว เช่น การฝึกอบรมสง่ เสริมอาชพี ระยะส้ัน เช่น ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์ เคมีภัณฑ์ และเวชภณั ฑ์

ได้แก่ - ด้านพืช เช่น ค่าพันธ์ุพืช ค่าปุ๋ย ค่าจ้างเหมาขุดลอก ขนย้าย เศษซากวัสดุที่ทับถมพื้นที่แปลงเกษตรกรรม การจัดหาสารปูองกันกาจัด ศตั รูพชื ทุกชนดิ รวมท้ังอินทรยี วัตถุ วัสดอุ ุปกรณ์ในการกาจัดศัตรพู ชื - ด้านประมง เช่น ค่าพันธ์ุสัตว์น้า อาหารสัตว์น้า วัสดุทาง การประมง สารเคมี และยารักษาโรคที่จาเปน็ - ด้านปศุสัตว์ เช่น ค่าพันธ์ุพืชอาหารสัตว์ วัคซีน และเวชภัณฑ์ รักษาสตั ว์ เป็นตน้ - ด้านการเกษตรอื่น เช่น ค่าใช้จ่ายในการปรับเกล่ียพื้นท่ี คา่ ซอ่ มแซมอาคารชลประทาน เปน็ ตน้ เช่น ซ่อมแซมส่ิงสาธารณประโยชน์ ท่ีเสยี หาย คา่ จ้างเหมากาจัดส่งิ กดี ขวางทางนา้ เป็นต้น เ ช่ น ค่าซ่อมแซมครุภัณฑ์ ยานพาหนะ ค่าน้ามันเชื้อเพลิงและหล่อล่ืน รวมท้ัง ค่ากระแสไฟฟูาสาหรับยานพาหนะ เครื่องจักรกล เครื่องสูบน้า ค่าเช่าหรือ จ้างเหมาเคร่ืองสูบนา้ หรือยานพาหนะ คา่ จ้างเหมาหรอื จ้างแรงงาน เป็นตน้

ผู้อานวยการอาเภอ (นายอาเภอ) ผู้อานวยการท้องถิ่น (นายกเทศมนตรี) และ/หรือ ผู้ช่วยผู้อานวยการ กรงุ เทพมหานคร (ผู้อานวยการเขต กทม.) ควบคมุ และสง่ั การ (มาตรา 19, 20) ผู้อานวยการจังหวัด (ผวจ.) หรือ ผู้อานวยการกรุงเทพมหานคร (ผวจ.กทม.) ควบคมุ และสั่งการ (มาตรา 15, 32) ผู้บัญชาการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยแห่งชาติ (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย) ควบคุม สั่งการ และบญั ชาการ (มาตรา 13) น า ย ก รั ฐ ม น ต รี ห รื อ รองนายกรัฐมนตรีท่ีนายกรัฐมนตรีมอบหมาย ควบคุม ส่ังการ และ บญั ชาการ (มาตรา 31) ท้ังนี้ อธิบดกี รมปอู งกันและบรรเทาสาธารณภัย ในฐานะผู้อานวยการกลาง รวมถึง ควบคุม กากับการปฏิบัติหน้าที่ของผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ ผ้ชู ่วยผ้อู านวยการ เจ้าพนักงาน อาสาสมัคร ไดท้ วั่ ราชอาณาจักร

ให้ผู้บัญชาการหรือผู้อานวยการใช้เกณฑ์หรือเง่ือนไขเพ่ือประกอบ การพจิ ารณาตดั สินใจยกระดบั การจัดการสาธารณภัย ดังน้ี พน้ื ทใ่ี ช้สอยท่ไี ด้รับผลกระทบและความเสียหาย จานวนและลักษณะของประชากรในพื้นท่ีที่ได้รับ ผลกระทบ ความยากง่าย สถานการณ์แทรกซ้อนและเง่ือนไข ทางเทคนคิ ของสถานการณ์ ความสามารถในการปฏิบัติงาน จากทรัพยากร เพื่อประโยชน์ในการจัดการสาธารณภัยในเขตพ้ืนท่ีให้มีการออก ประกาศ เขตพื้นท่ีประสบสาธารณภัยได้ตามดุลยพินิจ เพื่อให้ส่วนราชการ สามารถให้ความชว่ ยเหลือผู้ประสบภยั ได้ตามระเบียบกฎหมายท่เี กี่ยวขอ้ ง ให้ ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม. เป็นผู้ออก ประกาศ ให้ ผอ.จังหวัด / ผอ.กทม. เป็น ผูอ้ อกประกาศ ให้ ผู้บัญชาการปูองกันและบรรเทา สาธารณภัยแหง่ ชาติ เป็นผอู้ อกประกาศ ให้นายกรัฐมนตรี หรือ รองนายกรฐั มนตรซี ง่ึ นายกรัฐมนตรีมอบหมาย เปน็ ผอู้ อกประกาศ

เ ป็ น ก า ร ป ร ะ ก า ศ ใ ห้ ท้ อ ง ที่ นั้ น เ ป็ น เ ข ต ก า ร ใ ห้ ค ว า ม ช่ ว ย เ ห ลื อ ผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉินตามระเบียบกระทรวงคลังว่าด้วยเงินทดรอง ราชการเพ่ือช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน และหลักเกณฑ์วิธีการ ที่เก่ียวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือบรรเทาความเดือดร้อนเฉพาะหน้าของ ผู้ประสบภัยพิบัติ ตามวงเงินทดรองราชการของส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้อง สาหรับใหค้ วามชว่ ยเหลอื ผปู้ ระสบภัย เป็นอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ร่วมกับ คณะกรรมการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติจังหวัด (ก.ช.ภ.จ.) หากไมส่ ามารถประชมุ ก.ช.ภ.จ. ไดท้ นั และผู้ว่าราชการจังหวัด เห็นว่า ความเสียหายเป็นไปตาม ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ฯ ก็ ใ ห้ มี อ า น า จ ป ร ะ ก า ศ เ ข ต ฯ โ ด ย ไ ม่ ต้ อ ง ขอความเหน็ ชอบจาก ก.ช.ภ.จ.

การให้ความช่วยเหลือฯ ไม่ต้องรอผลการสารวจ ความเสียหายอย่างละเอียด เนื่องจากการประกาศเขตการให้ความ ช่วยเหลือฯ เป็นการประกาศให้ทราบว่า มีภัยพิบัติ กรณีฉุกเฉินเกิดขึ้นแล้ว ในพื้นท่ี ซึ่งเป็นคนละขั้นตอนกับการประชุมพิจารณาให้ความช่วยเหลือ ท่ีจะตอ้ งใช้ผลการสารวจความเสยี หายอยา่ งละเอยี ด ตามระเบียบ กระทรวงการคลงั ฯ ต้องดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน นับแต่วันท่ี เกิดภัย ท้ังนี้ จังหวัดสามารถเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการให้ความช่วยเหลือ ท่ีเกิดข้ึนจริงได้ ต้ังแต่วันท่ีเกิดภัยพิบัติ และอยู่ระหว่างการประกาศเขต การใหค้ วามช่วยเหลือฯ ได้ โดยมีกองอานวยการปูองกันและบรรเทาสาธารณภัย จังหวัด/ กทม./ อาเภอ / อปท. ดาเนนิ ดังนี้ ประสานงาน และบูรณาการข้อมูลและการปฏิบัติการของ หน่วยงานท่ีเกี่ยวข้อง ทั้งในส่วนของสรรพกาลัง เครื่องมืออุปกรณ์ แผนปฏิบัตกิ าร เพื่อเตรียมความพร้อม ใ น ก า ร ปู อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า สาธารณภยั ทั้งระบบ เตรียมการ เผชิญเหตุ ติดตามและเฝูาระวัง สถานการณ์ รวมถึงวิเคราะห์ข้อมูล ท่ีเกี่ยวข้อง ประเมินสถานการณ์และ แจ้งเตือนภัย พร้อมท้ัง รายงาน และ เ ส น อ ค ว า ม เ ห็ น ต่ อ ผู้ อ า น ว ย ก า ร / ผ้บู ญั ชาการ