Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ตัวชี้วัดการพัฒนา

ตัวชี้วัดการพัฒนา

Published by Charan ya, 2021-07-29 03:48:12

Description: ตัวชี้วัดการพัฒนา

Search

Read the Text Version

ตั ว ชี วั ด ก า ร พั ฒ น า ร ะ ดั บ จั ง ห วั ด แ ล ะ ก ลุ่ ม จั ง ห วั ด สาํ นักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กรกฎาคม 2564

คำนำ ตัวชี้วดั การพฒั นาระดบั จงั หวัดและกล่มุ จังหวัด ในปี 2564 เปน็ การปรบั ปรุงตัวชี้วดั ฯ ครั้งที่ 5 ของสานักงาน สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่ดาเนินการตามมตคิ ณะรัฐมนตรีเมื่อวันท่ี 30 กันยายน 2558 ท่ี เห็นชอบให้ส่วนราชการนาตวั ชีว้ ัดการพัฒนาระดบั จังหวดั และกลุ่มจังหวดั พิจารณาใช้ประโยชน์ในการกาหนด แผนงานโครงการและงบประมาณลงสู่พ้ืนที่ เพ่ือให้เกิดการบูรณาการขับเคลื่อนระหว่างจังหวัด กลุ่มจังหวัด และสว่ นราชการ เป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิผล แนวคิดการจัดทาตัวชีว้ ัดการพัฒนาระดับจังหวดั และกลุ่มจังหวดั เป็นการพัฒนาเคร่ืองมือที่ใช้วดั สถานะการ พัฒนาพื้นท่ีจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเชิงเปรียบเทียบ โดยมีเง่ือนไขข้อมูลท่ีนามาจัดทาตัวช้ีวัดจะต้องมีการ จัดเก็บครอบคลุมท้ัง 76 จังหวัด และจัดเก็บอย่างต่อเน่ืองทุกปีหรือปีเว้นปี สาหรับการดาเนินการในคร้ังน้ี สานักงานฯ ได้นาเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน (Sustainable Development Goals : SDGs มาปรับใช้เป็น กรอบในการปรับปรุงตัวชี้วดั การพฒั นาระดับจงั หวัด เพือ่ ให้จังหวดั มีข้อมูลตวั ชีว้ ัดท่ีสะท้อนระดับการพฒั นาใน พื้นที่และสอดคล้องกับเป้าหมายการจัดทาตัวชี้วัด SDGs ในระดับพื้นท่ีของประเทศ โดยได้จัดทาข้อมูลเป็น อนุกรมตง้ั แตป่ ี 2558 – 2562 นาเสนอผลการเปรียบเทยี บการพฒั นาในระดับภาพรวม ระดับรายตัวชีว้ ัด และ ระดบั จังหวดั และกลมุ่ จงั หวดั ในรูปแผนที่ กราฟแท่งเปรียบเทยี บ 5 ปี และกราฟใยแมงมุม รวมท้ังตารางข้อมูล เปรยี บเทยี บ 5 ปีในแตล่ ะตวั ชีว้ ดั เทียบกับคา่ กลางของประเทศ จังหวัด กลุ่มจังหวัด สามารถใช้ตัวช้ีวัดชุดใหม่น้ี เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์เปรียบเทียบผลการพฒั นาและ แนวโนม้ ของประเดน็ ปัญหาในพ้นื ทไี่ ด้อยา่ งตอ่ เนื่อง และนาไปใชป้ ระกอบการวางและจัดทาแผนพัฒนาจังหวดั และกลุ่มจังหวัด และกาหนดแผนงานโครงการอย่างสอดคล้อง รวมทั้งส่วนราชการสามารถนาไปตัวชี้วัดไปใช้ ประโยชน์ในการวิเคราะห์และช้ีพื้นท่ีเป้าหมายการพัฒนาในระดบั จังหวัดและกลุ่มจังหวัดในส่วนท่ีเกี่ยวกับกับ ภารกิจเพ่อื กาหนดโครงการและงบประมาณได้ชดั เจนยง่ิ ข้นึ สานักงานสภาพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ กรกฎาคม 2564

สารบัญ หนา้ คานา ก สารบญั 1 1. ความเปน็ มา 1 2. ขอ้ เท็จจรงิ 3 3. การทบทวนและปรบั ปรงุ ตวั ชีว้ ดั การพฒั นาระดับจังหวัดและกลุ่มจงั หวัด 11 ตวั ช้ีวดั การพฒั นาระดบั จังหวดั และกลุ่มจงั หวัด 23 37 ดัชนีการพฒั นาระดบั จงั หวดั 59 69 ดัชนผี สม ระดบั จงั หวดั : ภาพรวม และรายมติ ิ 79 มิตกิ ารพัฒนาคน (People) มติ เิ ศรษฐกิจและความมง่ั คัง่ (Prosperity) 87 มติ สิ ง่ิ แวดล้อม (Planet) 121 มิตสิ ันติภาพและความยุตธิ รรม (Peace) 161 มิติความเป็นห้นุ สว่ นการพฒั นา (Partnership) 195 211 กราฟเรยี งลาดับและขอ้ มูลตัวช้วี ดั ระดับจังหวัด 233 ภาคเหนอื ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ 239 ภาคกลาง 245 ภาคตะวันออก 267 ภาคใต้ 275 ภาคใตช้ ายแดน ผ1 ดัชนีการพัฒนาระดบั กลุ่มจงั หวดั ดชั นีผสม ระดบั กล่มุ จังหวัด: ภาพรวม และรายมิติ มิติเศรษฐกิจ (Growth & Competitiveness) มติ สิ ังคมและสง่ิ แวดลอ้ ม (Inclusive & Green Growth) กราฟเรียงลาดับและขอ้ มลู ตวั ชว้ี ดั ระดับกล่มุ จงั หวัด ภาคผนวก ก

ตัวชี้วัดการพฒั นาระดับจังหวัดและกลมุ่ จงั หวัด 1. ความเป็นมา 1.1 สำนักงำนสภำพัฒนำกำรเศรษฐกิจและสังคมแห่งชำติ (สศช.) เร่ิมจัดทำตัวชี้วัดกำรพัฒนำระดับ จังหวัดและกลุ่มจังหวัดต้ังแต่ปี 2556 และดำเนินกำรอย่ำงต่อเน่ืองบนหลักวิชำกำรผ่ำนโครงกำร ศึกษำวิจัยในปี 2557-2558 โดยมีคณะเศรษฐศำสตร์ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ เป็นท่ีปรึกษำ โครงกำร ตวั ช้วี ัดได้รบั กำรพฒั นำและทดสอบในระดับพ้ืนท่ีจนมีควำมสำเร็จอย่ำงเป็นรูปธรรมระดับ หน่ึง สำมำรถใช้วัดสถำนะของกำรพัฒนำพ้ืนที่เชิงเปรียบเทียบได้และนำไปประยุกต์ใช้เป็นข้อมูล ประกอบกำรทบทวนแผนพัฒนำของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และเป็นข้อมูลชี้พ้ืนท่ีเป้ำหมำยให้กับ ส่วนรำชกำรที่ภำรกิจเก่ียวข้องได้อย่ำงมีประสิทธิผล โดยในปี 2558 กลไกระดับนโยบำยได้เห็นถึง ควำมสำคญั ของตวั ช้วี ดั กำรพัฒนำระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และผลักดันให้เกิดกำรใช้ประโยชน์ ในวงกวำ้ ง ดงั น้ี 1.1.1 มติคณะกรรมการนโยบายการบริหารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.น.จ.) คร้ังท่ี 3/2558 เมื่อวันท่ี 24 กรกฎาคม 2558 เห็นชอบให้ตัวช้ีวัดเป็น องค์ประกอบส่วนหนึ่งของหลักเกณฑ์และวิธีกำรจัดทำแผนพัฒนำจังหวัดและกลุ่ม จังหวัด ประจำปีงบประมำณ 2560 โดยจังหวัดและกลุ่มจังหวัดจะต้องนำข้อมูล ตัวช้วี ดั ไปใช้ประกอบกำรพิจำรณำจัดทำแผนฯ ใหม้ คี วำมชดั เจนครอบคลุมมำกข้ึน 1.1.2 มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันท่ี 30 กันยายน 2558 รับทรำบตัวชี้วัดกำรพัฒนำระดับ จงั หวดั 24 ตวั ช้ีวัดและตัวช้ีวัดกำรพัฒนำระดับกลุ่มจังหวัด 13 ตัวช้ีวัด และเห็นชอบ ให้ส่วนรำชกำรพิจำรณำใช้ประโยชน์ตัวช้ีวัดในกำรกำหนดแผนงำนโครงกำรและ งบประมำณลงสู่พ้นื ท่ี เพื่อใหเ้ กิดกำรบรู ณำกำรขบั เคล่ือนระหว่ำงจังหวัด กลุ่มจังหวัด และสว่ นรำชกำร เปน็ ไปอยำ่ งมีประสิทธิผล 1.2 ต้ังแต่ปีงบประมำณ พ.ศ. 2558 เป็นต้นมำ สศช. ได้ดำเนินกำรปรับปรุงฐำนข้อมูลตัวชี้วัดให้มีควำม เปน็ ปจั จุบนั อยำ่ งต่อเนอ่ื ง ควบคู่กับกำรทบทวนปรับตัวชี้วัดให้มีควำมเหมำะสม บนเงื่อนไขว่ำข้อมูล ท่ีนามาจัดทาตัวช้ีวัดจะต้องมีการจัดเก็บครอบคลุมทุกพื้นที่จังหวัดและต่อเน่ืองทุกปีหรือปีเว้นปี ท่ีผ่ำนมำ สศช. ได้จัดทำเอกสำรตัวชี้วัดกำรพัฒนำระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัด รวม 4 ฉบับ ได้แก่ ฉบับสิงหำคม 2558 ฉบับสิงหำคม 2559 ฉบับธันวำคม 2561 และฉบับพฤษภำคม 2564 โดยฉบับ ล่ำสุดได้เผยแพร่ผ่ำน website สศช. ภำยใต้หวั ขอ้ ก.บ.ภ. 2. ข้อเท็จจรงิ 2.1 เปำ้ หมำยกำรพัฒนำระดับนำนำชำติซ่ึงจัดทำขึ้นโดยองค์กำรสหประชำชำติ ในปัจจุบัน ได้มุ่งสู่ กำร จัดทำเป้าหมายการพัฒนาที่ย่ังยืน Sustainable Development Goals : SDGs ที่ดาเนินการ ช่วงพ.ศ. 2558-2573 โดยเป็นกำรดำเนินงำนต่อเนื่องจำกเป้ำหมำยกำรพัฒนำแห่งสหัสวรรษ (Millennium Development Goals: MDGs) ที่ดำเนินกำรช่วง พ.ศ. 2543-2558 ท่ีพบว่ำหลำย เป้ำหมำยยังไม่บรรลุ ขณะที่ควำมท้ำทำยใหม่ ๆ ของโลกเพิ่มควำมรุนแรงมำกยิ่งขึ้น โดยเฉพำะ ปัญหำและผลกระทบจำกกำรเปล่ียนแปลงสภำพภูมิอำกำศ กำรเพ่ิมข้ึนของประชำกรส่งผลต่อ 1

ทรัพยำกรธรรมชำติและอำหำร และควำมเหล่ือมล้ำทำงด้ำนเศรษฐกิจ สังคมและกำรเมืองที่รุนแรง ข้นึ ทั้งในระดบั ระหวำ่ งประเทศและภำยในประเทศ 2.2 เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (SDGs) ประกอบด้วย 17 เป้ำหมำย (SDG Goals) 169 เป้ำหมำย ย่อย (SDG Targets) ที่มีควำมเป็นสำกล เช่ือมโยงและเก้ือหนุนกัน และกำหนดให้มี 247 ตัวช้ีวัด เพื่อใช้ติดตำมและประเมินควำมก้ำวหน้ำของกำรพัฒนำ โดยสำมำรถจัดกลุ่ม SDGs ตำมปัจจัยท่ี เชื่อมโยงกันใน 5 มิติ (5P) ได้แก่ (1) กำรพัฒนำคน (People) ให้ควำมสำคัญกับกำรขจัดปัญหำ ควำมยำกจนและควำมหิวโหย และลดควำมเหล่ือมล้ำในสังคม (2) เศรษฐกิจและควำมมั่งค่ัง (Prosperity) ส่งเสริมให้ประชำชนมีควำมเป็นอยู่ที่ดีและสอดคล้องกับธรรมชำติ (3) ส่ิงแวดล้อม (Planet) ให้ควำมสำคัญกับกำรปกป้องและรักษำทรัพยำกรธรรมชำติและสภำพภูมิอำกำศเพื่อ พลเมืองโลกรุ่นต่อไป (4) สันติภำพและควำมยุติธรรม (Peace) ยึดหลักกำรอยู่ร่วมกันอย่ำงสันติ มีสังคมท่ีสงบสุข และไม่แบ่งแยก และ (5) ควำมเป็นหุ้นส่วนกำรพัฒนำ (Partnership) ควำม รว่ มมอื ของทกุ ภำคส่วนในกำรขับเคล่ือนกำรพัฒนำ ทั้งน้ี เป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน 17 เป้ำหมำย ประกอบดว้ ย กำรขจดั ควำมยำกจน ขจัดควำมหิวโหย กำรมีสุขภำพและควำมเป็นอยู่ที่ดี กำรศึกษำ ท่ีมีคุณภำพ ควำมเท่ำเทียมทำงเพศ น้ำสะอำดและสุขำภิบำล พลังงำนสะอำดและจ่ำยได้ งำนท่ีมี คุณค่ำและเศรษฐกิจท่ีเติบโต อุตสำหกรรม-นวัตกรรมและโครงสร้ำงพ้ืนฐำนที่ดี ลดควำมเหล่ือมล้ำ เมืองและชุมชนท่ีย่ังยืน กำรผลิตและกำรบริโภคที่รับผิดชอบ กำรรับมือกับกำรเปล่ียนแปลงสภำพ ภูมิอำกำศ นิเวศทำงทะเลและมหำสมุทร ระบบนิเวศบนบก สันติและสถำบันเข้มแข็ง ควำมเป็น หุ้นส่วนเพ่ือกำรพัฒนำอย่ำงย่ังยืน ซ่ึงประเทศไทยในฐำนะสมำชิกขององค์กำรสหประชำชำติได้รับ เป้ำหมำยกำรพัฒนำดังกลำ่ วมำดำเนนิ งำนท้ังในระดับประเทศและระดบั พื้นที่ ภาพท่ี 1 เปำ้ หมำยกำรพัฒนำทย่ี ่งั ยนื 2.3 มติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 25 ตุลำคม 2559 เห็นชอบให้กระทรวงมหำดไทย (มท.) มีกลไกกำร ขับเคลื่อนเป้ำหมำยกำรพัฒนำที่ยั่งยืนในระดับพื้นที่ และมติคณะรัฐมนตรี เม่ือวันท่ี 24 มีนำคม 2563 รบั ทรำบผลกำรประชุมคณะกรรมกำรเพื่อกำรพัฒนำท่ียั่งยืน (กพย.) คร้ังที่ 1/2562 เม่ือวันที่ 19 ธันวำคม 2562 โดยท่ีประชุมเห็นชอบหลักกำรร่ำงแผนกำรขับเคล่ือนเป้ำหมำยกำรพัฒนำ ที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) สำหรับประเทศไทย และเห็นชอบใน หลักกำรใหม้ ีกำรจัดกล่มุ จงั หวดั 4 ระดบั จำแนกตำมศักยภำพ ได้แก่ กลุ่มท่ี 1 เป็นพ้ืนท่ี/จังหวัดท่ีมี 2

ควำมเหลื่อมล้ำสูง ยังขำดควำมพร้อม ต้องได้รับกำรสนับสนุนอย่ำงเร่งด่วน กลุ่มที่ 2 เป็นพื้นที่/ จังหวัดท่ีมีศักยภำพ แตย่ ังมขี ้อจำกัดทจี่ ะพฒั นำ กลมุ่ ท่ี 3 เป็นพน้ื ท/่ี จังหวัดท่ีมีศักยภำพและพร้อมที่ จะพฒั นำ และกลุ่มท่ี 4 เป็นพ้ืนท่ี/จังหวัดท่ีมีควำมเข้มแข็ง ทั้งนี้ได้มอบหมำยให้ สศช. ร่วมกับ มท. คัดเลือกจังหวัดนำร่องในพ้ืนท่ี 6 ภำค และกระจำยตัวตำมกลุ่มจังหวัด 4 ระดับ เพ่ือทดลองจัดทำ แผนพฒั นำจงั หวัดและแผนพฒั นำทอ้ งถน่ิ ต่อไป 3. การทบทวนและปรบั ปรุงตัวชี้วดั การพัฒนาระดบั จังหวัดและกลมุ่ จงั หวัด 3.1 สศช. ได้ตระหนักถึงควำมสำคัญของกำรมีตัวชี้วัดกำรพัฒนำระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดที่เป็น เคร่อื งมอื บ่งชส้ี ถำนะกำรพฒั นำของพ้ืนทเ่ี ชิงเปรียบเทยี บ และเปน็ ข้อมูลประกอบกำรจัดทำแผนกำร พัฒนำพื้นท่ี รวมทั้งสำมำรถสนับสนุนกำรผลักดันเป้ำหมำยและตัวช้ีวัดกำรพัฒนำที่ยั่งยืนในระดับ พนื้ ทีข่ องประเทศ จึงดำเนนิ กำรทบทวนปรับปรงุ ใหต้ วั ชี้วัดกำรพัฒนำระดับจังหวัดมีควำมสอดคล้อง เช่ือมโยงเป็นไปในทิศทำงเดียวกันกับตัวช้ีวัดระดับนำนำชำติเพื่อมุ่งสู่กำรบรรลุเป้ำหมำยกำรพัฒนำ อย่ำงยั่งยืนในระดับพ้ืนที่ รวมถึงกำรนำตัวช้ีวัดมำตรฐำนสำกลตัวอื่นมำรวมด้วย เช่น ดัชนีวัด ควำมก้ำวหน้ำของคน (Human Achievement Index : HAI) ซึ่งโดยรวมแล้วจะเป็นประโยชน์แก่ จงั หวดั และกลุ่มจงั หวัด รวมทั้งหน่วยงำนที่เกี่ยวข้องในกำรพิจำรณำสถำนะกำรพัฒนำและตำแหน่ง กำรพฒั นำของจังหวัดและกล่มุ จังหวัดเมื่อเปรียบเทยี บระหว่ำงพื้นที่ได้ชัดเจนข้ึน และเห็นประเด็นที่ เป็นจุดแข็งจดุ ออ่ นที่จะตอ้ งวำงแผนพัฒนำศักยภำพหรือปรับปรงุ แกไ้ ขต่อไป 3.2 กำรจัดทำตัวช้วี ัดการพัฒนาระดบั จังหวัด มีสำระสำคัญกำรดำเนนิ งำนดังนี้ 3.2.1 จัดกลุ่มข้อมูลตัวช้ีวัดตำมกรอบเป้ำหมำยกำรพัฒนำท่ีย่ังยืน 5 มิติ (5P) ได้แก่มิติกำรพัฒนำ คน (People) มิติสิ่งแวดล้อม (Planet) มิติเศรษฐกิจและควำมม่ังค่ัง (Prosperity) มิติ สันติภำพและยตุ ธิ รรม (Peace) และมิตคิ วำมเป็นหุ้นส่วนกำรพัฒนำ (Partnership) 3.2.2 นำแนวคิด New Fixed Goalpost Method ที่พัฒนำข้ึนโดย UNDP มำใช้ในกำรกำหนด คำ่ สูงสุด-คำ่ ตำ่ สดุ ของตวั ช้วี ัด เพ่ือให้สำมำรถเปรียบเทียบค่ำดัชนีระหว่ำงจังหวัด และระหว่ำง ปีได้ (ซึ่งเป็นวิธีกำรคำนวณมำตรฐำนเดียวกับ HAI) และยังคงใช้วิธีกำร Normalization ใน กำรคำนวณค่ำคะแนนตัวช้ีวัดของแต่ละจังหวัด เพ่ือปรับค่ำฐำนข้อมูลท่ีแตกต่ำงกันให้ เปรียบเทียบกันได้ และนำมำรวมกันเพอ่ื คำนวณคำ่ ดชั นีผสม (Composite Index) 3.2.3 ข้อมูลท่ีนำมำจัดทำตัวช้ีวัดจะต้องมีกำรจัดเก็บข้อมูลอย่ำงเป็นระบบ ต่อเนื่อง ทุกปีหรือปีเว้นปี จัดเกบ็ ครอบคลุมทกุ จังหวดั บนพื้นฐำนหลกั กำรทำงสถิตเิ ดียวกัน 3.2.4 กำรนำเสนอขอ้ มูล จะมี 5 ลักษณะ คอื (1) แผนท่ี เป็นกำรแสดงค่ำดัชนีผสม (Composite Index) รำยจังหวัดท่ีจัดกลุ่มตำมข้อ 2.3 สะท้อนกลุ่มของพ้นื ที่เปำ้ หมำยทม่ี ีศกั ยภำพกำรพฒั นำแตกตำ่ งกัน โดยนำเสนอเป็นดัชนี รวม และดัชนรี ำยมิติ (2) แผนภูมแิ ท่ง (Bar Chart) ในแต่ละตัวชี้วัด เรียงลำดับรำยจังหวัดจำกมำกไปน้อย แสดง ตำแหนง่ กำรพัฒนำของจังหวัดเชิงเปรยี บเทยี บกบั ค่ำกลำงของประเทศและจังหวัดอ่ืนใน แต่ละตัวช้วี ัด 3

(3) แผนภูมิแท่ง (Bar Chart) ของทุกตัวช้ีวัดในแต่ละจังหวัด แสดงระดับกำรพัฒนำของแต่ละ ตัวช้ีวดั เมื่อเปรียบเทยี บกับคำ่ กลำงของประเทศ และเปรยี บเทยี บระหว่ำงปี 2558-2562 (4) แผนภูมิใยแมงมุม (Radar Chart) รำยจังหวัด แสดงค่ำดัชนีผสม (Composite Index) เปรยี บกบั คำ่ กลำงของประเทศในดชั นีรวมและดัชนีรำยมิติ สะท้อนศักยภำพของจังหวัด วำ่ มสี ถำนกำรณ์พัฒนำดมี ำกกวำ่ หรือนอ้ ยกวำ่ ค่ำกลำงของประเทศ (5) ตำรำงข้อมูลตัวชี้วัดกำรพัฒนำระดับจังหวัด (Common Indicators) แสดงตัวช้ีวัดใน 5 มิติ กำรพัฒนำ จำนวน 32 ตวั ชวี้ ดั เปรียบเทียบข้อมูลค่ำกลำงของประเทศกับข้อมูลจังหวัด ตงั้ แตป่ ี 2558-2562 3.2.5 ตัวช้ีวัดกำรพัฒนำระดับจังหวัด (Common Indicators) ชุดใหม่ ประกอบด้วย ตัวชี้วัดใน แตล่ ะมิตดิ งั นี้ (1) มติ กิ ำรพฒั นำคน (People) (1.1) ร้อยละของประชำกรที่อยู่ใต้เส้นควำมยำกจน (รอ้ ยละ) (1.2) ร้อยละของทำรกแรกเกิดทีม่ ีนำ้ หนักตำ่ กวำ่ เกณฑ์ (รอ้ ยละทำรกเกิดมีชพี ) (1.3) ร้อยละของประชำกรทเ่ี จบ็ ปว่ ยท่ีเป็นผปู้ ่วยใน (รอ้ ยละ) (1.4) อัตรำสว่ นประชำกรตอ่ แพทย์ (คน/แพทย)์ (1.5) อตั รำกำรเข้ำเรยี นรวมระดับมัธยมศึกษำตอนปลำยและอำชวี ศึกษำ (รอ้ ยละ) (1.6) จำนวนปกี ำรศกึ ษำเฉล่ยี ประชำกรไทย อำยุ 15-39 ปี (ป)ี (1.7) ค่ำเฉลย่ี คะแนน O-net มัธยมศกึ ษำตอนปลำย (คะแนน) (2) มิติเศรษฐกิจและควำมมั่งค่ัง (Prosperity) (2.1) อัตรำกำรเปล่ยี นแปลงของรำยไดเ้ ฉลี่ยของครวั เรอื นในจังหวดั (ร้อยละ) (2.2) อตั รำกำรเปลี่ยนแปลงของผลิตภณั ฑม์ วลรวมจงั หวัด (ร้อยละ) (2.3) อตั รำกำรว่ำงงำน (ร้อยละ) (2.4) อัตรำส่วนหน้เี ฉลย่ี ตอ่ รำยไดเ้ ฉลยี่ ของครวั เรอื น (เท่ำ) (2.5) ผลติ ภำพแรงงำน (บำท/คน) (2.6) สดั ส่วนปรมิ ำณกำรใช้ไฟฟ้ำภำคครวั เรือนต่อประชำกร (kw-ชัว่ โมง/คน) (2.7) สัดส่วนปริมำณน้ำมันเช้ือเพลิงในภำคอุตสำหกรรมต่อ GPP ภำคอุตสำหกรรม (ลติ ร/ล้ำนบำท) (2.8) รอ้ ยละผอู้ ยู่ในระบบประกนั สังคมต่อกำลงั แรงงำน (รอ้ ยละ) (2.9) ร้อยละของครัวเรือนที่มีบ้ำนและที่ดินเป็นของตนเอง (รอ้ ยละ) (2.10) รอ้ ยละของหมบู่ ้ำนท่ีถนนสำยหลักใช้กำรได้ตลอดปี (รอ้ ยละ) (2.11) สัมประสิทธ์ิกำรกระจำยรำยได้ (3) มติ สิ ง่ิ แวดล้อม (Planet) (3.1) อัตรำกำรเปลี่ยนแปลงของพนื้ ทีป่ ่ำไมใ้ นจังหวัด (ร้อยละ) (3.2) สัดส่วนปรมิ ำณขยะทกี่ ำจดั ถกู ตอ้ งตอ่ ปรมิ ำณขยะท่ีเกิดขึน้ (รอ้ ยละ) (3.3) ร้อยละของครัวเรือนทเ่ี ข้ำถึงนำ้ ประปำ (รอ้ ยละ) 4

(3.4) รอ้ ยละของประชำกรที่ประสบอทุ กภัย (รอ้ ยละ) (3.5) รอ้ ยละของประชำกรทป่ี ระสบภัยแลง้ (ร้อยละ) (4) มิตสิ ันติภำพและยุติธรรม (Peace) (4.1) กำรแจ้งควำมคดชี ีวิต ร่ำงกำย เพศ และคดปี ระทษุ ร้ำยต่อทรัพย์ (ต่อแสนคน) (4.2) จำนวนของประชำกรในเรอื นจำ (ตอ่ แสนคน) (4.3) จำนวนเจ้ำหนำ้ ท่ีตำรวจ (ต่อแสนคน) (4.4) อัตรำกำรฆ่ำตวั ตำย (ตอ่ แสนคน) (4.5) จำนวนผถู้ กู กักขังท่ีรอกำรพิพำกษำในสัดส่วนของประชำกรในเรือนจำ (รอ้ ยละ) (5) มติ คิ วำมเป็นหนุ้ ส่วนกำรพฒั นำ (Partnership) (5.1) รอ้ ยละของประชำกรทเี่ ขำ้ ถงึ อินเตอรเ์ นต็ (ร้อยละ) (5.2) ร้อยละของภำษีท่ีท้องถ่ินจัดเก็บได้ต่อรำยได้รวมท่ีไม่รวมเงินอุดหนุนและเงิน อดุ หนุนเฉพำะกจิ (รอ้ ยละ) (5.3) ควำมสำมำรถในกำรเบกิ จ่ำยงบประมำณของจงั หวดั (ร้อยละ) (5.4) สัดสว่ นองค์กรชมุ ชนตอ่ ประชำกรแสนคน (แห่ง/แสนคน) 3.2.6 วิธีกำรคำนวณดัชนีกำรพัฒนำระดับจังหวัด ในแต่ละตัวชี้วัดจะใช้สูตรคำนวณค่ำคะแนน ตัวชี้วดั ของแตล่ ะจงั หวัด ดังน้ี (1) ตัวช้ีวัดทแี่ ปรผนั ตำมขอ้ มลู ใช้สตู ร คะแนนตัวชีว้ ดั = . คำ่ ตวั ช้วี ัด – ค่ำต่ำสดุ . คำ่ สงู สุด – คำ่ ต่ำสุด (2) ตัวช้วี ดั ทีม่ ีกำรผกผันขอ้ มูล ใช้สตู ร คะแนนตัวชีว้ ัด = 1 - .คำ่ ตวั ชี้วดั – ค่ำตำ่ สดุ . ค่ำสูงสุด – ค่ำตำ่ สดุ (3) ค่ำต่ำสุดและค่ำสูงสุดกำหนดจำกค่ำสูงสุดและค่ำต่ำสุดของข้อมูลในช่วง ปี 2558 - 2562 เพื่อให้ค่ำดชั นสี ำมำรถเปรียบเทยี บระหว่ำงเวลำและจังหวัดได้ (4) คำ่ เฉล่ียของดัชนรี วมและดัชนยี อ่ ยในแต่ละมิติ กำรคำนวณดัชนีกำรพัฒนำระดับจังหวัด ไม่มีกำรถว่ งนำ้ หนกั ทัง้ ในระดับดัชนีย่อยและดชั นรี วม เพรำะเป็นกำรยำกที่จะระบุว่ำมิติ ใดมีระดับควำมสำคัญมำกกว่ำมิติอ่ืน ในกำรคำนวณดัชนีย่อยใช้วิธีกำรคำนวณหำ ค่ำเฉล่ียเลขคณิต (Arithmetic Mean) จำกข้อมูลตัวช้ีวัดในแต่ละมิติ ส่วนกำรคำนวณ ดัชนีรวมใช้กำรหำคำ่ เฉลยี่ แบบเรขำคณิต (Geometric Mean) จำกดชั นียอ่ ยทงั้ 5 ดำ้ น (5) สูตรคำนวณ ค่ำคะแนนดัชนยี ่อย (แตล่ ะมิติ 5 ด้ำน) = . (คำ่ คะแนนตัวชว้ี ดั ที่ 1 + ค่ำคะแนนตัวชี้วดั ท่ี 2 + ... + คำ่ คะแนนตวั ช้ีวัดท่ี n) . n เมือ่ n คอื จำนวนตัวชว้ี ดั ในแต่ละมิตยิ ่อย 5

(6) สตู รคำนวณ คำ่ คะแนนดัชนรี วม = ค่ำเฉลยี่ เรขำคณติ ของคำ่ คะแนนดชั นียอ่ ย 5 ด้ำน = 5 ค่ำคะแนนดัชนยี อ่ ย1 * ค่ำคะแนนดัชนยี ่อย2 * ... * คำ่ คะแนนดัชนีย่อย 5 (7) ข้อมูลที่ใช้ในกำรคำนวณดัชนีกำรพัฒนำระดับจังหวัด เป็นข้อมูลตัวช้ีวัด 32 ตัว ระดับ จังหวัด 76 จังหวัด ใช้ข้อมูลในช่วง ปี 2558 -2562 โดยรำยชื่อตัวชี้วัด ปีท่ีนำข้อมูลมำ ใชใ้ นกำรคำนวณ และคำ่ สงู สดุ -คำ่ ตำ่ สดุ มีรำยละเอียดดังนี้ ดชั นยี อ่ ย ตัวช้ีวดั ปที ่ีนำข้อมูลมำใช้คำนวณ ค่ำสงู สดุ ค่ำตำ่ สดุ ชว่ งข้อมูล มติ ิกำร 1. รอ้ ยละของประชำกรท่ีอยใู่ ต้เส้นควำม ปี 2558 ปี 2559 49.13 0.00 49.13 พฒั นำคน ยำกจน (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 2. ร้อยละของทำรกแรกเกิดที่มนี ำ้ หนัก ปี 2558 ปี 2559 22.88 6.80 16.08 ตำ่ กว่ำเกณฑ์ (ร้อยละทำรกเกดิ มชี พี ) ปี 2560 3. รอ้ ยละของประชำกรทเี่ จ็บปว่ ยที่เปน็ ปี 2558 ปี 2559 15.51 5.97 9.54 ผู้ปว่ ยใน (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 4. อตั รำสว่ นประชำกรต่อแพทย์ ปี 2558 ปี 2559 6,277 796 5,481 (คน/แพทย์) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 5. อตั รำกำรเข้ำเรยี นรวมระดับมัธยมศกึ ษำ ปี 2558 ปี 2559 112.90 44.47 68.43 ตอนปลำยและอำชวี ศกึ ษำ (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 6. จำนวนปีกำรศกึ ษำเฉลย่ี ประชำกรไทย ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 11.50 6.46 5.04 อำยุ 15-59 ปี (ป)ี ปี 2561 ปี 2562 7. คำ่ เฉล่ียคะแนน o-net มธั ยมศกึ ษำ ปี 2558 ปี 2559 39.60 26.50 13.10 ตอนปลำย (คะแนน) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 มิตเิ ศรษฐกิจ 8. อัตรำกำรเปลย่ี นแปลงของรำยได้เฉล่ยี ปี 2558 35.81 -16.33 52.14 และควำม ของครวั เรือนในจงั หวดั (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2562 ม่ังคงั่ 9. อัตรำกำรเปลีย่ นแปลงของผลติ ภณั ฑ์ ปี 2558 ปี 2559 23.02 -18.30 41.31 มวลรวมจงั หวดั (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 10. อตั รำกำรว่ำงงำน (ร้อยละ) ปี 2558 ปี 2559 6.00 0.07 5.93 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 11. อัตรำสว่ นหนเ้ี ฉลยี่ ต่อรำยได้เฉลย่ี ของ ปี 2558 13.84 0.44 13.40 ครวั เรอื น (เท่ำ) ปี 2560 ปี 2562 12. ผลติ ภำพแรงงำน (บำท/คน) ปี 2558 ปี 2559 973,192 55,326 917,867 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 13. สัดส่วนปริมำณกำรใชไ้ ฟฟำ้ ภำค ปี 2558 ปี 2559 1,893.85 183.01 1,710.84 ครัวเรือนตอ่ ประชำกร (kw-h/คน) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 14. สัดสว่ นปริมำณน้ำมันเชอื้ เพลิงใน ปี 2558 ปี 2559 4,454.69 0.00 4,454.69 ภำคอตุ สำหกรรมตอ่ GPP ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ภำคอตุ สำหกรรม (ลติ ร/ลำ้ นบำท) 15. รอ้ ยละผ้อู ยใู่ นระบบประกนั สังคมตอ่ ปี 2558 ปี 2559 88.73 10.64 78.09 กำลังแรงงำน (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 6

ดัชนยี ่อย ตัวช้วี ดั ปที ่ีนำขอ้ มูลมำใชค้ ำนวณ ค่ำสงู สดุ ค่ำตำ่ สดุ ช่วงข้อมลู 16. ร้อยละของครัวเรือนท่ีมีบำ้ นและ ปี 2558 ปี 2559 97.40 28.20 69.20 ที่ดนิ เป็นของตนเอง (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 17. ร้อยละของหมบู่ ำ้ นท่ถี นนสำยหลกั ปี 2558 100.00 18.86 81.14 ใช้กำรไดต้ ลอดปี (ร้อยละ) ปี 2560 18. สมั ประสิทธก์ิ ำรกระจำยรำยได้ ปี 2558 0.743 0.255 0.489 ปี 2560 ปี 2562 มิติ 19. อัตรำกำรเปล่ียนแปลงของพ้นื ท่ปี ำ่ ไม้ ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 549.51 -13.65 563.17 สิ่งแวดลอ้ ม ในจังหวดั (รอ้ ยละ) ปี 2561 ปี 2562 20. สัดสว่ นปรมิ ำณขยะทก่ี ำจดั ถกู ต้อง ปี 2558 ปี 2559 90.91 0.45 90.46 ตอ่ ปรมิ ำณขยะทเี่ กดิ ขนึ้ (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 21. รอ้ ยละของครัวเรอื นทเี่ ขำ้ ถึง ปี 2558 ปี 2559 55.54 1.43 54.11 นำ้ ประปำ (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 22. ร้อยละของประชำกรท่ปี ระสบ ปี 2558 ปี 2559 77.27 0.00 77.27 อุทกภัย (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 23. ร้อยละของประชำกรทป่ี ระสบภัยแลง้ ปี 2558 ปี 2559 96.55 0.00 96.55 (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 มิติสันติภำพ 24. กำรแจ้งควำมคดีชวี ิต รำ่ งกำย เพศ และ ปี 2558 ปี 2559 282.46 21.55 260.91 และควำม คดปี ระทษุ ร้ำยต่อทรัพย์ (ตอ่ แสนคน) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 164.71 1,352.62 ยุตธิ รรม 25. จำนวนของประชำกรในเรือนจำ (ตอ่ แสนคน) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 1,517.33 ปี 2561 ปี 2562 26. จำนวนเจ้ำหนำ้ ท่ีตำรวจ (ตอ่ แสนคน) ปี 2558 ปี 2559 1,144.52 41.19 1,103.33 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 27. อัตรำกำรฆ่ำตัวตำย (ตอ่ แสนคน) ปี 2558 ปี 2559 19.76 0.62 19.14 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 28. จำนวนผู้ถูกกกั ขงั ทีร่ อกำรพิพำกษำ ปี 2558 ปี 2559 65.93 4.52 61.41 ในสดั ส่วนของประชำกรในเรือนจำ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (ร้อยละ) มิตคิ วำม 29. ร้อยละของประชำกรท่ีเข้ำถงึ ปี 2558 ปี 2559 85.09 20.22 64.87 เป็นห้นุ ส่วน อนิ เตอรเ์ นต็ (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 กำรพัฒนำ 30. รอ้ ยละภำษีท่ที อ้ งถน่ิ จดั เก็บไดต้ ่อ รำยไดร้ วมทไี่ มร่ วมเงนิ อดุ หนนุ และ ปี 2558 ปี 2559 41.19 6.11 35.08 เงินอุดหนุนเฉพำะกิจ ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 31. ควำมสำมำรถในกำรเบกิ จ่ำย ปี 2558 ปี 2559 100.00 36.94 63.06 งบประมำณของจงั หวัด (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 32. สดั สว่ นองคก์ รชมุ ชนตอ่ ประชำกร ปี 2558 ปี 2559 441.70 0.00 441.70 แสนคน (แห่ง/แสนคน) ปี 2560 ปี 2561 7

(8) กำรประมำณค่ำข้อมลู ท่สี ูญหำย (Missing Data Interpolation) สำหรับตัวชี้วัดท่ีข้อมูล ไม่ครบท้ัง 5 ปี จำเป็นต้องประมำณค่ำข้อมูลสูญหำย ด้วยโปรแกรม Microsoft Excel โดยนำตัวชี้วัดท่ีมีข้อมูลมำวำดกรำฟ แล้วคำนวณหำสมกำรของเส้นแนวโน้มแบบ เส้นตรง (Linear Trendline Equation) ของแต่ละจังหวัด จำกน้ันแทนค่ำด้วยปีที่ ขอ้ มลู สูญหำย จะได้คำ่ ประมำณของตวั ชีว้ ดั ของจงั หวดั ในปีน้ัน ๆ (9) กำรจัดกลุ่มพื้นท่ีจังหวัดตำมดัชนีกำรพัฒนำระดับจังหวัด เพื่อสะท้อนกลุ่มของพื้นที่ เปำ้ หมำยทม่ี ีศกั ยภำพกำรพฒั นำแตกตำ่ งกนั ดำเนนิ กำรโดยใช้ ค่ำกลำงของประเทศ ซ่ึง ได้จำกกำรคำนวณค่ำ มัธยฐำน (Median) ของดัชนีผสม (Composite Index) ค่ำดัชนี รวมหรือดัชนีย่อยในแต่ละมิติ ปี 2562 จำกน้ันคำนวณค่ำท่ีน้อยกว่ำค่ำกลำงของ ประเทศ ร้อยละ 10 และ ร้อยละ 20 เพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในกำรจัดกลุ่มพ้ืนท่ีจังหวัด โดย แบ่งออกเปน็ 4 กลมุ่ ดงั น้ี กลุ่มที่ 1 เป็นพื้นที่/จังหวัดท่ีมีควำมเหล่ือมล้ำสูง ยังขำดควำมพร้อมและต้องได้รับกำร สนับสนุนอย่ำงเร่งด่วน ได้แก่ จังหวัดที่มีค่ำดัชนีผสม ต่ำกว่ำค่ำกลำงของ ประเทศ มำกกวำ่ ร้อยละ 20 กลุม่ ที่ 2 เป็นพ้ืนท่ี/จังหวัดที่มีศักยภำพ แต่ยังมีข้อจำกัดที่จะพัฒนำ ได้แก่ จังหวัดที่มี ค่ำดชั นผี สม ต่ำกวำ่ ค่ำกลำงของประเทศ ระหวำ่ งร้อยละ 10 ถึง รอ้ ยละ 20 กล่มุ ที่ 3 เปน็ พน้ื ท่ี/จังหวัดท่ีมีศักยภำพและพร้อมท่ีจะพัฒนำ ได้แก่ จังหวัดที่มีค่ำดัชนี ผสม ต่ำกว่ำคำ่ กลำงของประเทศ ไมเ่ กินร้อยละ 10 กลมุ่ ที่ 4 เป็นพ้ืนท่ี/จังหวัดที่มีควำมเข้มแข็งและพร้อมขยำยผลไปภำยนอก ได้แก่ จังหวดั ท่ีมคี ำ่ ดชั นีผสม สูงกว่ำคำ่ กลำงของประเทศ 3.3 สำหรับตัวชี้วัดการพัฒนาระดับกลุ่มจังหวัด สศช. ได้ทบทวนและยังคงแบ่งประเด็นกำรพัฒนำ ออกเป็น 2 มิติ ได้แก่ด้ำนเศรษฐกิจ (Growth & Competitiveness) และด้ำนสังคมและส่ิงแวดล้อม (Inclusive & Green Growth) แต่ปรับกำรกำหนดคำ่ สงู สดุ -คำ่ ต่ำสดุ ของตัวช้ีวัดตำมแนวคิด New Fixed Goalpost Method ของ UNDP มกี ำรคำนวณและกำรนำเสนอเชน่ เดียวกบั ตวั ชวี้ ัดระดบั จงั หวัด 3.3.1 ตัวช้ีวดั กำรพัฒนำระดบั กลมุ่ จังหวัด ชดุ ใหม่ ประกอบด้วย ตัวช้วี ัดในแตล่ ะมติ ิ ดงั น้ี (1) มิติดำ้ นเศรษฐกิจ (Growth & Competitiveness) (1.1) อัตรำกำรขยำยตัวมลู ค่ำผลิตภณั ฑ์มวลรวมกล่มุ จังหวดั (รอ้ ยละ) (1.2) อัตรำกำรขยำยตวั ภำคเกษตร (ร้อยละ) (1.3) อตั รำกำรขยำยตวั ภำคอตุ สำหกรรม (ร้อยละ) (1.4) อตั รำกำรขยำยตวั ภำคบริกำร (รอ้ ยละ) (1.5) มูลคำ่ ผลติ ภัณฑ์กลมุ่ จังหวัดเฉลย่ี ตอ่ หวั (บำท/คน) (1.6) สมั ประสิทธิ์กำรกระจำยรำยไดก้ ลุม่ จงั หวดั (1.7) ผลิตภำพแรงงำน (บำท/คน) (1.8) อตั รำกำรขยำยตัวผลิตภำพแรงงำน (ร้อยละ) (1.9) อัตรำกำรวำ่ งงำน (รอ้ ยละ) 8

(1.10) รำยไดก้ ำรท่องเที่ยว (ล้ำนบำท) (1.11) อัตรำกำรขยำยตวั รำยได้ท่องเท่ียว (ร้อยละ) (2) มติ ดิ ำ้ นสงั คมและสง่ิ แวดล้อม (Inclusive & Green Growth) (2.1) ร้อยละประชำกรท่อี ยูใ่ ตเ้ สน้ ควำมยำกจน (ร้อยละ) (2.2) จำนวนปกี ำรศึกษำเฉล่ียประชำกรไทย อำยุ 15-59 ปี (ป)ี (2.3) รอ้ ยละของประชำกรที่เขำ้ ถึงอนิ เตอรเ์ นต็ (รอ้ ยละ) (2.4) ปรมิ ำณขยะในกลมุ่ จังหวัด (พนั ตัน) 3.3.2 ข้อมูลที่ใช้ในกำรคำนวณดัชนีกำรพัฒนำระดับกลุ่มจังหวัด เป็นข้อมูลตัวช้ีวัด 15 ตัว ระดับ กลุม่ จงั หวดั 18 กลมุ่ จังหวัด ใชข้ อ้ มลู ในช่วง ปี 2558 -2562 โดยรำยชื่อตัวชี้วัด ปีที่นำข้อมูล มำใชใ้ นกำรคำนวณ และค่ำสงู สดุ -ค่ำต่ำสุด มีรำยละเอยี ดดงั น้ี ดชั นยี ่อย ตัวช้ีวดั ปที น่ี ำขอ้ มูลมำใช้คำนวณ คำ่ สูงสุด คำ่ ตำ่ สดุ ชว่ งขอ้ มูล ปี 2558 ปี 2559 18.22 -10.39 28.61 มิติเศรษฐกจิ 1. อตั รำกำรขยำยตัวมลู คำ่ ผลติ ภณั ฑ์ 28.28 -25.26 53.55 มวลรวมกลมุ่ จงั หวดั (ร้อยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 25.04 -17.29 42.33 ปี 2558 ปี 2559 13.06 0.62 13.68 2. อตั รำกำรขยำยตวั ภำคเกษตร 671,111 59,042 612,069 (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 0.490 0.340 0.150 ปี 2558 ปี 2559 681,138 66,378 614,760 3. อัตรำกำรขยำยตัวภำคอตุ สำหกรรม 19.27 -7.54 26.82 (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 3.14 0.33 2.81 ปี 2558 ปี 2559 639,428 5,985 633,443 4. อตั รำกำรขยำยตวั ภำคบริกำร 44.99 -5.49 50.48 (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 32.77 0.41 32.36 ปี 2558 ปี 2559 10.68 8.08 2.59 5. มูลค่ำผลติ ภณั ฑ์กลมุ่ จังหวัดเฉลี่ย ต่อหวั (บำท/คน) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2558 6. สัมประสทิ ธก์ิ ำรกระจำยรำยได้ กลุม่ จงั หวดั ปี 2560 ปี 2562 ปี 2558 ปี 2559 7. ผลิตภำพแรงงำน (บำท/คน) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2558 ปี 2559 8. อตั รำกำรขยำยตัวผลติ ภำพแรงงำน ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 (ร้อยละ) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 9. อัตรำกำรวำ่ งงำน (รอ้ ยละ) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 10. รำยได้กำรทอ่ งเท่ียว (ลำ้ นบำท) ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 11. อัตรำกำรขยำยตวั รำยได้ท่องเทย่ี ว ปี 2558 ปี 2559 (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2558 ปี 2559 มติ สิ ังคม 12. รอ้ ยละประชำกรทอ่ี ยใู่ ต้เส้น ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 และ ควำมยำกจน (รอ้ ยละ) สง่ิ แวดลอ้ ม 13. จำนวนปีกำรศกึ ษำเฉล่ียประชำกร ไทย อำยุ 15-59 ปี (ปี) 9

ดชั นยี ่อย ตวั ชี้วดั ปที ่นี ำข้อมลู มำใช้คำนวณ คำ่ สูงสดุ คำ่ ตำ่ สดุ ช่วงขอ้ มลู ปี 2558 ปี 2559 78.70 26.01 52.68 14. ร้อยละของประชำกรท่ีเขำ้ ถึง อนิ เตอร์เนต็ (รอ้ ยละ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 2,594.77 697.15 1,897.55 ปี 2558 ปี 2559 15. ปริมำณขยะในกลมุ่ จงั หวัด (พนั ตนั ) ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 3.4 จังหวัด กลุ่มจังหวัด และส่วนรำชกำร สำมำรถใช้ตัวช้ีวัดชุดใหม่นี้เป็นเคร่ืองมือบ่งช้ีสถำนกำรณ์ พัฒนำของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเชิงเปรียบเทียบระหว่ำงพื้นท่ี และชี้พ้ืนท่ีเป้ำหมำยกำรพัฒนำใน ระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดในส่วนท่ีเกี่ยวข้องให้กับส่วนรำชกำรที่มีภำรกิจโดยตรง สำมำรถนำไป กำหนดแผนงำนโครงกำรได้อย่ำงชัดเจน จังหวัดและกลุ่มจังหวัดสำมำรถนำไปเป็นข้อมูล ประกอบกำรจัดทำแผนพัฒนำจังหวัดและกลุ่มจังหวัด และใช้ในกำรกำหนดค่ำเป้ำหมำยของกำร ปฏิบัติงำนของส่วนรำชกำรในภูมิภำคภำยใต้กำกับของจังหวัดได้ โดย สศช.จะเผยแพร่ผ่ำน Website สศช.ภำยใต้หัวข้อ ก.บ.ภ.เพ่ือให้จังหวัดและกลุ่มจังหวัดใช้เป็นข้อมูลประกอบกำรจัดทำ แผนพัฒนำจังหวัดและกลุ่มจังหวัดประจำปีงบประมำณ พ.ศ.2566–2570 และให้ส่วนรำชกำรที่ เกย่ี วข้องนำไปใช้ประโยชนต์ อ่ ไป 3.5 อย่ำงไรก็ตำม ตัวช้ีวัดกำรพัฒนำระดับจังหวัดและกลุ่มจังหวัดยังคงมีข้อจากัดบางประการที่ต้อง คานงึ ถงึ โดยเฉพำะ (1) ข้อมูลและตวั ชี้วัดทีน่ ำเสนอ อำจไมใ่ ช่ตวั แทนท้ังหมดของมิติกำรพัฒนำนั้นๆ หำกเปน็ ตวั ชวี้ ดั ท่ีมีข้อมลู จดั เก็บครบทุกจังหวัดและตอ่ เนอื่ งทกุ ปีหรอื ปีเว้นปี ดังนั้น กำรจัดเก็บข้อมูล ท่ีสะท้อนมิติกำรพัฒนำในแต่ละมิติ จึงมีควำมจำเป็นที่จะต้องให้ส่วนรำชกำรที่เกี่ยวข้องดำเนินกำร ใหค้ รอบคลุมต่อไป (2) ตัวชี้วัดบำงตัวที่มีกำรจัดเก็บข้อมูลปีเว้นปี หรือรำยงำนข้อมูลล่ำช้ำทำให้ในปี ที่ไม่มีข้อมูล จำเป็นต้องใช้วิธีกำรประมำณค่ำข้อมูลที่สูญหำย (Missing Data Interpolation) ค่ำที่ได้ จึงไม่ใช่ข้อมูลที่แท้จริง (3) วิธีกำรจัดกลุ่มของจังหวัดโดยใช้แนวคิดกำรคำนวณร้อยละเพ่ือจัดกลุ่ม ของจังหวัดท่ีห่ำงจำกค่ำกลำงของประเทศ น้อยกว่ำร้อยละ 10 ร้อยละ 10-20 และมำกกว่ำร้อยละ 20 เป็นกำรจดั กลมุ่ ตำมสถำนะกำรพัฒนำของพ้นื ที่ แต่แนวคิดกำรจดั กลุ่มจังหวัดแบบนี้จะใช้ได้อย่ำง มปี ระสทิ ธิผลหรอื ใกลเ้ คยี งควำมเป็นจรงิ มำกขึน้ เม่ือสำมำรถจัดเก็บข้อมูลตัวช้ีวัดท่ีสะท้อนกำรพัฒนำ มิติน้ันๆ ได้อย่ำงแท้จริง (4) กำรจัดเก็บข้อมูลท่ีครอบคลุมทุกจังหวัด เป็นภำรกิจของหน่วยงำน ส่วนกลำงท่ีจะมีวิธีกำรรวบรวมและปรับค่ำตำมหลักสถิติ ซึ่งอำจไม่ใช่ข้อมูลชุดเดียวกับที่จังหวัด จัดเก็บเอง อย่ำงไรก็ตำม หน่วยงำนส่วนกลำงได้ดำเนินกำรจัดทำข้อมูลของทุกจังหวัดอยู่บนค่ำ มำตรฐำนเดียวกัน จึงสำมำรถนำมำคำนวณเชิงเปรียบเทียบระหว่ำงพื้นท่ีได้ (5) ระยะเวลำกำร จัดเกบ็ และเผยแพร่ข้อมูลอย่ำงเป็นทำงกำรของส่วนรำชกำรที่นำมำจัดทำตัวช้ีวัด ยังคงมีควำมล่ำช้ำ ประมำณ 6 เดือน – 1 ปี ทำให้ข้อมูลตัวชี้วัดที่คำนวณได้เป็นกำรสะท้อนสถำนะกำรพัฒนำของพ้ืนที่ และแนวโน้มทีเ่ กิดข้นึ ในช่วงเวลำของข้อมลู ดังกลำ่ ว 10

ดชั นกี ารพัฒนา ระดับจังหวดั

ดชั นผี สม ระดบั จงั หวดั ภาพรวม และรายมติ ิ - กราฟเรียงลาดับ - แผนที่

ดชั นีรวมการพัฒนาจงั หวัด 1 234 11

ดัชนรี วม กล่มุ ท่ี 1 แม่ฮ่องสอน ปัตตานี กลุ่มที่ 2 พทั ลุง อบุ ลราชธานี นราธวิ าส กล่มุ ที่ 3 มุกดาหาร ศรสี ะเกษ สกลนคร ยโสธร เพชรบรู ณ์ เลย ตรัง ร้อยเอด็ ยะลา กาฬสินธุ์ นครราชสมี า สุรนิ ทร์ น่าน กาแพงเพชร หนองบวั ลาภู กาญจนบรุ ี อุตรดิตถ์ ตาก เชียงใหม่ นครพนม พิจิตร สโุ ขทยั สระแก้ว เชียงราย อุทยั ธานี นครศรธี รรมราช ชยั ภมู ิ สุพรรณบุรี ราชบุรี ชยั นาท อานาจเจรญิ กระบี่ ระนอง กลุ่มที่ 4 พงั งา พิษณโุ ลก ขอนแก่น สตูล บุรรี ัมย์ บึงกาฬ ลพบุรี สุราษฎร์ธานี สงิ หบ์ ุรี ชมุ พร มหาสารคาม ลาพนู เพชรบรุ ี หนองคาย อุดรธานี สมทุ รสงคราม ประจวบครี ขี ันธ์ สงขลา จนั ทบรุ ี นครนายก อ่างทอง นครสวรรค์ แพร่ ลาปาง พะเยา สมุทรปราการ นครปฐม ฉะเชงิ เทรา ตราด สมทุ รสาคร ปราจนี บรุ ี สระบุรี พระนครศรีอยุธยา ปทมุ ธานี ภเู กต็ ชลบรุ ี ระยอง นนทบุรี 00.00 – 42.29 42.30 – 47.58 47.59 – 52.86 52.87 – 67.94 12

ดชั นผี สม มติ กิ ารพฒั นาคน (People) 1 23 4 13 1

มติ ิการพัฒนาคน (People) กลุ่มที่ 1 ปตั ตานี นราธวิ าส แมฮ่ ่องสอน ยะลา สุรนิ ทร์ ตาก พทั ลุง กลุ่มที่ 2 อุบลราชธานี หนองบัวลาภู บรุ รี ัมย์ กาฬสินธ์ุ อทุ ยั ธานี มุกดาหาร สตูล กาญจนบุรี สระแกว้ สกลนคร กระบ่ี บงึ กาฬ กลมุ่ ท่ี 3 กาแพงเพชร นครพนม ระนอง ยโสธร เลย เพชรบรู ณ์ อานาจเจริญ ศรสี ะเกษ ตรงั ชัยภมู ิ ชยั นาท จันทบุรี นา่ น สพุ รรณบรุ ี นครราชสมี า พิจติ ร นครศรีธรรมราช สุโขทยั สรุ าษฎร์ธานี กล่มุ ที่ 4 ร้อยเอ็ด ตราด หนองคาย มหาสารคาม นครนายก พงั งา อดุ รธานี อ่างทอง เชียงราย อุตรดติ ถ์ ชุมพร ราชบรุ ี ประจวบคีรีขนั ธ์ เชยี งใหม่ สมทุ รสาคร ฉะเชิงเทรา สระบรุ ี ลาพูน สิงหบ์ รุ ี สมุทรสงคราม ขอนแก่น นครสวรรค์ ลาปาง สงขลา พิษณุโลก พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี แพร่ เพชรบรุ ี พะเยา ปราจนี บรุ ี ระยอง ชลบรุ ี นครปฐม สมทุ รปราการ ภูเก็ต ปทุมธานี นนทบุรี 00.00 – 50.56 50.57 – 56.88 56.89 – 63.20 63.21 – 85.18 14

ดชั นผี สม มิตเิ ศรษฐกิจและความมง่ั คงั่ (Prosperity) 1 234 15

มิติเศรษฐกจิ และความมั่งค่ัง (Prosperity) กลุ่มที่ 1 อทุ ัยธานี แมฮ่ อ่ งสอน กล่มุ ท่ี 2 ชัยภูมิ หนองบัวลาภู สระแก้ว อบุ ลราชธานี สโุ ขทยั สรุ นิ ทร์ นา่ น นครราชสมี า ชัยนาท นราธิวาส พิษณโุ ลก กลุ่มท่ี 3 มกุ ดาหาร นครพนม ศรสี ะเกษ มหาสารคาม กระบี่ กาฬสนิ ธุ์ ปตั ตานี สกลนคร นครสวรรค์ กาญจนบุรี เพชรบรู ณ์ ประจวบครี ขี ันธ์ ระนอง อตุ รดติ ถ์ สตูล ราชบรุ ี บงึ กาฬ พจิ ิตร ตราด ร้อยเอด็ บุรรี มั ย์ ลาปาง สงขลา อานาจเจริญ เชยี งราย กลุม่ ท่ี 4 เลย เชียงใหม่ ขอนแกน่ กาแพงเพชร พะเยา สรุ าษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช พทั ลงุ นครนายก ยโสธร อดุ รธานี สุพรรณบุรี หนองคาย อา่ งทอง สงิ หบ์ รุ ี แพร่ ตรงั สระบุรี ตาก สมุทรปราการ ลพบุรี จนั ทบรุ ี เพชรบรุ ี ยะลา นครปฐม ลาพนู ชุมพร สมทุ รสงคราม นนทบรุ ี ปทุมธานี พงั งา พระนครศรีอยธุ ยา ปราจนี บุรี ภูเกต็ ฉะเชิงเทรา สมุทรสาคร ชลบรุ ี ระยอง 00.00 - 40.02 40.03 - 45.03 45.04 - 50.03 50.04 - 70.78 16

ดชั นีผสม มติ ิสง่ิ แวดลอ้ ม (Planet) 1 23 4 17

มิตสิ งิ่ แวดล้อม (Planet) กลมุ่ ที่ 1 พัทลุง สกลนคร ปตั ตานี กลุ่มที่ 2 อตุ รดิตถ์ ยโสธร บึงกาฬ นครศรีธรรมราช นครพนม ศรีสะเกษ ตรัง ชมุ พร แมฮ่ ่องสอน รอ้ ยเอด็ เลย ยะลา สระแก้ว กลมุ่ ที่ 3 นา่ น กาฬสนิ ธุ์ อานาจเจรญิ หนองบัวลาภู นครราชสมี า นราธิวาส สรุ นิ ทร์ เพชรบรู ณ์ บรุ รี ัมย์ สุพรรณบรุ ี ชัยนาท พังงา อบุ ลราชธานี พิษณุโลก ประจวบครี ขี นั ธ์ พะเยา กาญจนบรุ ี อุทัยธานี สโุ ขทัย ลาพนู นครนายก กาแพงเพชร กลมุ่ ท่ี 4 เชียงราย ลพบรุ ี ชัยภมู ิ สรุ าษฎรธ์ านี สิงห์บุรี อุดรธานี มุกดาหาร เพชรบุรี พจิ ติ ร หนองคาย สตลู ลาปาง ฉะเชิงเทรา ราชบรุ ี ขอนแก่น แพร่ นครสวรรค์ มหาสารคาม สระบรุ ี ตาก สงขลา ตราด จันทบุรี นครปฐม ระนอง ปราจนี บรุ ี กระบ่ี เชียงใหม่ พระนครศรีอยธุ ยา สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร ชลบรุ ี ภูเกต็ ระยอง อ่างทอง สมุทรสงคราม ปทมุ ธานี นนทบุรี 00.00 – 40.73 40.74 – 45.83 45.84 – 50.92 50.93 – 92.60 18

ดัชนีผสม มติ สิ นั ตภิ าพและความยุติธรรม (Peace) 12 3 4 19

มติ ิสันตภิ าพและยุตธิ รรม (Peace) กลุ่มที่ 1 ระยอง กล่มุ ท่ี 2 พงั งา ปทุมธานี ภูเกต็ พัทลุง ลาพนู ตรัง นา่ น เชียงใหม่ กระบี่ ราชบุรี กลุม่ ท่ี 3 สงขลา ชลบรุ ี พษิ ณโุ ลก อา่ งทอง นครศรธี รรมราช ปราจนี บรุ ี ลพบุรี พระนครศรีอยธุ ยา ฉะเชิงเทรา สมทุ รสาคร ชุมพร จันทบุรี สตลู นครนายก ลาปาง สพุ รรณบรุ ี สรุ าษฎรธ์ านี มกุ ดาหาร นครพนม เชียงราย เลย กาฬสินธ์ุ อุตรดติ ถ์ สุโขทัย กาญจนบรุ ี ระนอง เพชรบูรณ์ กลมุ่ ท่ี 4 นครสวรรค์ สมุทรสงคราม แพร่ สงิ ห์บุรี สมทุ รปราการ สระบรุ ี ตราด บงึ กาฬ กาแพงเพชร นครราชสีมา ขอนแกน่ ชยั นาท อุดรธานี แมฮ่ อ่ งสอน ศรสี ะเกษ ประจวบครี ขี ันธ์ ชยั ภูมิ นครปฐม บุรรี ัมย์ อบุ ลราชธานี ยโสธร พจิ ิตร สระแก้ว สกลนคร หนองบวั ลาภู ร้อยเอ็ด มหาสารคาม อานาจเจรญิ นนทบรุ ี เพชรบรุ ี ตาก หนองคาย สุรนิ ทร์ อทุ ยั ธานี พะเยา ปัตตานี นราธิวาส ยะลา 00.00 – 50.76 50.77 – 57.10 57.11 – 63.45 63.46 – 81.77 20

ดชั นผี สม มติ คิ วามเป็นหนุ้ สว่ นการพัฒนา (Partnership) 1234 21

มิตคิ วามเป็นห้นุ สว่ นการพฒั นา (Partnership) กลมุ่ ที่ 1 แมฮ่ ่องสอน ปัตตานี เชียงใหม่ สมทุ รสงคราม รอ้ ยเอ็ด ยะลา ยโสธร อบุ ลราชธานี มกุ ดาหาร ศรสี ะเกษ เพชรบรู ณ์ พจิ ิตร ตาก เลย ขอนแกน่ เชยี งราย กาแพงเพชร กล่มุ ที่ 2 ตรงั นราธวิ าส นครราชสมี า สกลนคร ราชบรุ ี เพชรบรุ ี อตุ รดติ ถ์ ระนอง กลุ่มท่ี 3 สพุ รรณบุรี ลพบุรี สโุ ขทยั กาญจนบุรี สงิ ห์บุรี สมุทรปราการ พงั งา กาฬสินธุ์ อา่ งทอง ปทมุ ธานี อานาจเจรญิ พัทลงุ มหาสารคาม กลมุ่ ที่ 4 หนองคาย น่าน นครปฐม สรุ นิ ทร์ ชยั ภูมิ นครศรีธรรมราช นนทบรุ ี กระบี่ ชยั นาท พษิ ณุโลก สุราษฎรธ์ านี จันทบุรี หนองบวั ลาภู สมทุ รสาคร นครพนม ชมุ พร ลาพนู แพร่ อุดรธานี สงขลา สตลู สระแกว้ พะเยา นครสวรรค์ ปราจนี บรุ ี ภูเกต็ บรุ รี มั ย์ ชลบรุ ี ฉะเชิงเทรา พระนครศรอี ยุธยา อุทยั ธานี ประจวบครี ขี นั ธ์ นครนายก บงึ กาฬ ลาปาง สระบรุ ี ระยอง ตราด 00.00 - 35.75 35.76 - 40.22 40.23 - 44.68 44.69 - 66.51 22

กราฟเรียงลาดับ รายตัวชวี้ ัด ระดับจงั หวดั

มติ กิ ารพฒั นาคน (People)

มิติการพฒั นาคน (People) PP_01 รอ้ ยละของประชากรท่ีอยู่ใต้เสน้ ความยากจน (ร้อยละ) 23

มิติการพฒั นาคน (People) PP_01 รอ้ ยละของประชากรท่ีอยู่ใต้เสน้ ความยากจน (ร้อยละ) 24

มติ ิการพฒั นาคน (People) PP_02 รอ้ ยละของทารกแรกเกิดทีม่ นี ้าหนักต้่ากว่าเกณฑ์ (ร้อยละทารกเกิดมีชพี ) 25

มติ ิการพฒั นาคน (People) PP_02 รอ้ ยละของทารกแรกเกิดทีม่ นี ้าหนักต้่ากว่าเกณฑ์ (ร้อยละทารกเกิดมีชพี ) 26

มติ ิการพฒั นาคน (People) PP_03 รอ้ ยละของประชากรทเี่ จบ็ ป่วยที่เป็นผู้ปว่ ยใน (รอ้ ยละ) 27

มติ ิการพฒั นาคน (People) PP_03 รอ้ ยละของประชากรทเี่ จบ็ ป่วยที่เป็นผู้ปว่ ยใน (รอ้ ยละ) 28

มิติการพัฒนาคน (People) PP_04 อตั ราส่วนประชากรต่อแพทย์ (คน/แพทย)์ 29

มิติการพัฒนาคน (People) PP_04 อตั ราส่วนประชากรต่อแพทย์ (คน/แพทย)์ 30

มติ ิการพัฒนาคน (People) PP_05 อัตราการเข้าเรียนรวมระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายและอาชวี ศึกษา (ร้อยละ) 31

มติ ิการพัฒนาคน (People) PP_05 อัตราการเข้าเรียนรวมระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลายและอาชวี ศึกษา (ร้อยละ) 32

มติ ิการพัฒนาคน (People) PP_06 จา้ นวนปกี ารศึกษาเฉลยี่ ประชากรไทยอายุ 15-59 ปี (ป)ี 33

มติ ิการพัฒนาคน (People) PP_06 จา้ นวนปกี ารศึกษาเฉลยี่ ประชากรไทยอายุ 15-59 ปี (ป)ี 34

มติ ิการพัฒนาคน (People) PP_07 คา่ เฉล่ยี คะแนน o-net มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (คะแนน) 35

มติ ิการพัฒนาคน (People) PP_07 คา่ เฉล่ยี คะแนน o-net มัธยมศกึ ษาตอนปลาย (คะแนน) 36

มติ เิ ศรษฐกจิ และความมั่งค่งั (Prosperity)

มิติเศรษฐกิจและความม่ังค่งั (Prosperity) PT_01 อตั ราการเปล่ียนแปลงของรายได้เฉลย่ี ของครัวเรอื นในจงั หวดั (รอ้ ยละ) 37

มิติเศรษฐกิจและความม่ังค่งั (Prosperity) PT_01 อตั ราการเปล่ียนแปลงของรายได้เฉลย่ี ของครัวเรอื นในจงั หวดั (รอ้ ยละ) 38

มติ ิเศรษฐกิจและความมั่งคั่ง (Prosperity) PT_02 อัตราการเปลีย่ นแปลงของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั (รอ้ ยละ) 39

มติ ิเศรษฐกิจและความมั่งคั่ง (Prosperity) PT_02 อัตราการเปลีย่ นแปลงของผลติ ภณั ฑ์มวลรวมจังหวดั (รอ้ ยละ) 40

มิติเศรษฐกจิ และความมงั่ ค่งั (Prosperity) PT_03 อัตราการว่างงาน (ร้อยละ) 41

มิติเศรษฐกจิ และความมงั่ ค่งั (Prosperity) PT_03 อัตราการว่างงาน (ร้อยละ) 42


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook