Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม__(BEHAVIORISM)

ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม__(BEHAVIORISM)

Published by finchaloemwut, 2021-03-13 08:35:20

Description: ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม__(BEHAVIORISM)

Search

Read the Text Version

ทฤษฎีการเรยี นรู้ กล่มุ พฤตกิ รรม นิ ยม (BEHAVIORISM)

คํานํา หนังสอื เลม่ น้ีเปน็ สว่ นหนึ่งของวชิ านวตั กรรม จัดทาํ ขึน้ เพอื่ ให้ความรเู้ ก่ียว กบั เรอื่ งทฤษฎีการเรยี นรกู้ ลมุ่ พฤติกรรมนิยม ผูเ้ ขียนหวงั ว่าหนังสอื เลม่ น้ีจะเปน็ ประโยชน์ต่อผทู้ ีส่ นใจศกึ ษาหรอื ผทู้ ่ีได้ อา่ นไมม่ ากกน็ ้อย หากมีขอ้ ผกิ พลาดประการใด ทางผู้เขียนก็ขออภยั มา ณ ที่นี้ ดว้ ย ด้วยความเคาราพ ผ้เู ขียน ก

สารบัญ หนา รายการ ก 1 คํานํา 4 ทฤษฎีการเรยี นรกู ลุมพฤติกรรมนยิ ม 11 Respondent Behavior 20 Operant Behavior 22 สรปุ อางอิง

ทฤษฎกี ารเรยี นรูก้ ลมุ่ พฤตกิ รรมนิยม นกั คิด นกั จิตวิทยาในกลมุ่ พฤตกิ รรมนยิ มมองธรรมชาติ ของมนษุ ยใ์ นลกั ษณะเป็ นกลาง คือ ไมด่ ไี มเ่ ลว (neutral-passive) การกระทาํ ตา่ ง ๆ เกดิ จากอิทธิพลของ สง่ิ แวดลอ้ มภายนอก พฤตกิ รรมของมนษุ ยเ์ กดิ จากการตอบ สนองตอ่ สิง่ เรา้ (stimulus-response) การเรียนรเู้ กดิ จากการ เชอื่ มโยงระหว่างสิ่งเรา้ และการตอบสนอง กลมุ่ พฤตกิ รรม นยิ มใหค้ วามสาํ คญั กบั “พฤตกิ รรม” มาก เพราะพฤตกิ รรม เป็ นส่ิงทสี่ งั เกตเห็นได้ สามารถวดั และทดสอบได้ 1

แนวคดิ ทสี่ ําคญั เกีย่ วกบั ทฤษฎีพฤติกรรมนยิ ม ✓ 1. พฤตกิ ร ✓ 2. พฤตกิ รร ✓ 3. แรง รมทกุ มแตล่ ะ เสรมิ อย่างเกิด ชนิ ดเป็น (Reinforce โดยการ ผลรวมของ ment) ช่วย เรียนรูแ้ ละ การเรยี นรู้ ทําให้ สามารถ ท่เี ป็นอิสระ พฤตกิ รรม สั งเกตได้ หลายอย่าง เกิดข้ึนได้ 2

ทฤษฎีพฤติกรรมนยิ มแบง พฤตกิ รรมมนุษย ออกเปน 2 กลมุ พฤตกิ รรม มนษุ ย Respondent Operant Behavior Behavior แนวคิด แนวคิด ทฤษฎกี าร ทฤษฏีการวาง 3 ของพารพ์ ของวตั สัน เรยี นรูข้ อง เงอื่ นไขของส (Watson) ธอรน์ ไดค์ ลอฟ (Thorndike กนิ เนอร์ (Pavlov) (Skinner) )

Respondent Behavior 4 พฤตกิ รรมท่เี กดิ ข้ึนโดยส่ิงเร้า เมือ่ มี ส่ิงเรา้ การตอบสนองกจ็ ะเกิดข้ึน ซ่ึง สามารถสังเกตได้ อธิบายไดโ้ ดย 1ทฤษฎกี ารวางเง่อื นไขแบบคลาสสิค (Classical Conditioning Theory)

แนวคิดของพารพ์ ลอฟ ( Pavlov ) พาร์พลอฟ เชื่อวา่ การเรียนรู้ของส่ิงมี ชีวิตจํานวนมากเกิดจากการวาง เง่อื นไข (Conditioning) กลา่ วคือ การ ตอบสนอง หรอื การเรยี นรู้ท่เี กดิ ข้ึนตอ่ ส่ิงเร้าหน่ึงมักมเี งอ่ื นไขหรอื สถานการณ์เกิดข้ึน ซ่ึงในสภาพปกติ หรือในชีวิตประจาํ วนั การตอบสนอง เช่นนั้นอาจไมม่ ี 5

เช่น กรณีสนุ ัขได้ยินเสียง กระด่งิ และนาลาย ไหล เสียงกระด่งิ เป็นส่ิงเร้าท่ี ตอ้ งการให้เกดิ การเรียนรู้ จากการวางเงอื่ นไข (เพราะโดยปกตเิ สียง กระด่งิ มิได้ทําให้สนุ ัข นาลายไหล แตค่ น ตอ้ งการให้สุนัข นาลายไหลเม่ือได้ยนิ เสียง กระด่งิ ) พาร์พลอฟ เรียก ว่า ส่ิงเร้าท่มี ีเงื่อนไข (conditioned stimulus) และปฏิกริ ิยานาลายไหล เป็นการตอบสนองท่เี รยี ก วา่ การตอบสนองท่มี ี เง่อื นไข (conditioned response) 6

กระบวนการสําคญั อนั เกดิ จาก ปราพกฤกฏติา ีอกรกรงรดม่ิส ่ทีงเเคสกยริาปมรแรารกงลฏจจบนะใไพน่ม ่ทีฤสุ ิตดกรรม การเรยี นรูข้ องพาฟลอฟ การแผ่ขยาย การจาํ แนก1 ควตามอเสบราส้ามทนา่มี อรีคงถวใขนาอมลงคกัอลนิษ้าทณย2รคะียลเด์ทงึ มิ ่จีกตะันอ่ ไสด่ิง้ ควกามารขสทอางม่จี สะา่ิรจงถาํเรแข้านอไงกดอค้ ินวาท3มรแยี ต์ใกนตา่ ง 7

แนวคิดของวตั สัน (Watson) 8 “วัตสัน ได้ทําการทดลองโดยให้เดก็ คนหน่ึงเลน่ กบั หนขู าว และขณะท่ี เด็กกําลงั จะจบั หนขู าว ก็ทาํ เสียง ดงั จนเด็กตกใจร้องไห้ หลังจาก นั้นเด็กจะกลัวและรอ้ งไห้เมอ่ื เห็น หนขู าว ตอ่ มาทดลองให้นําหนขู าว มาให้เด็กดู โดยแมจ่ ะอุ้มเดก็ ไว้ และปลอบว่ามันไม่น่ ากลัวอะไร จากนั้นเดก็ กจ็ ะค่อย ๆ หายกลวั หนู ขาว

 จากการทดลองดงั กลา่ ว วตั สันสรุป เป็นทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ดงั น้ี ✓ พฤตกิ รรมเป็นส่ิงท่สี ามารถควบคุมให้ เกิดข้ึนได้ โดยการควบคุมส่ิงเรา้ ท่วี าง เงื่อนไขให้สัมพันธ์กับส่ิงเรา้ ตาม ธรรมชาติ และการเรยี นรูจ้ ะคงทน ถาวรหากมีการให้ส่ิงเรา้ ท่สี ัมพันธ์กนั นั้นควบคู่กนั ไปอย่างสมาเสมอ ✓ มอ่ื สามารถทําให้เกดิ พฤตกิ รรมใด ๆ ได้ กส็ ามารถลดพฤตกิ รรมนั้นให้หาย ไปได้ 9

การประยกุ ตใ์ ช้ในดา้ นการเรียนการสอน 1.  ในแงข่ องความแตกต่างระหวา่ งบุคคล ความแตกต่างทางด้านอารมณ์มี แบบแผน  การตอบสนองได้ไม่เทา่ กัน จําเป็นต้องคํานึ งถึงสภาพทาง อารมณ์ผเู้ รยี นวา่ เหมาะสมทจ่ี ะสอนเน้ื อหาอะไร 2.  การวางเงอ่ื นไข เป็นเรอ่ื งท่ีเกีย่ วกับพฤติกรรมทางด้านอารมณ์ด้วย โดยปกตผิ สู้ อนสามารถทาํ ให้ผเู้ รยี นรูส้ ึกชอบหรอื ไมช่ อบเนื้ อหาที่เรยี น หรอื ส่ิงแวดลอ้ มในการเรยี น 3.  การลบพฤติกรรมที่วางเงอื่ นไข ผเู้ รยี นท่ถี กู วางเงอื่ นไขให้กลวั ผสู้ อน เราอาจชว่ ยได้โดยป้องกันไมใ่ ห้ผสู้ อนทําโทษเขา 4.  การสรุปความเหมอื นและการแยกความแตกต่าง เชน่ การอา่ นและการ สะกดคํา ผเู้ รยี นท่ีสามารถสะกดคําว่า \"round\" เขากค็ วรจะเรยี นคําทกุ คําทอี่ อกเสียง o-u-n-d ไปในขณะเดียวกันได้ เชน่ คําว่า found, sound, ground, แต่คําว่า wound (บาดแผล) นั้นไม่ควรเอาเขา้ มารวมกับคําท่ี ออกเสียง o - u - n - d และควรฝึกให้รูจ้ กั แยกคําน้ี ออกจากกลมุ่ 10

Operant Behavior เป็นพฤตกิ รรมท่ีบคุ คลหรือสัตวแ์ สดง พฤตกิ รรมตอบสนองออกมา (Emitted) โดยปราศจากส่ิงเร้าท่ี แน่นอน และพฤตกิ รรมน้ีมผี ลตอ่ ส่ิงแวดล้อม อธิบายไดโ้ ดยทฤษฎกี าร วางเงอื่ นไขแบบลงมอื กระทํา (Operant Conditioning Theory) 11

 ทฤษฎกี ารเรยี นรู้ ของธอรน์ ไดค์ (Thorndike)   ในการทดลอง ธอร์นไดค์ได้นําแมวไปขังไว้ ในกรงท่สี ร้างข้ึน แลว้ นําปลาไปวางลอ่ ไว นอกกรงให้ห่างพอประมาณ โดยให้แมวไม่ สามารถยืน่ เทา้ ไปเข่ียได้ จากการสังเกต พบ วา่ แมวพยายามใช้วธิ ีการตา่ ง ๆ เพื่อจะออกไป จากกรง จนกระทงั่ เท้าของมันไปเหยยี บถูก คานไม้โดยบงั เอิญ ทาํ ให้ประตเู ปิดออก หลังจากนั้นแมวกใ็ ช้เวลาในการเปิดกรงได้ 12

จากการทดลองธอรน์ ไดค์อธิบายว่า การตอบ สนองซ่ึงแมวแสดงออกมาเพ่ือแกป้ ัญหา เป็นการตอบสนองแบบลองผดิ ลองถูก การท่ี แมวสามารถเปิดกรงไดเ้ รว็ ข้ึน ในช่วงหลัง แสดงวา่ แมวเกดิ การเรยี นรูด้ ว้ ยการสรา้ ง พันธะหรือตัวเชื่อมข้ึนระหวา่ งคานไม้กบั การกดคานไม้ 13

ทฤษฎสี ัมพันธเ์ ช่ือมโยง ของธอรน์ ไดค์กบั กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ทฤษฎสี ัมพันธเ์ ชื่อมโยงของธ อรน์ ไดค์กบั กระบวนการ จัดการเรียนรู้ของครู มดี งั น้ี 14

ในบางสถานการณ์ ควรเปิดโอกาสให้ผ้เู รียนมกี ารเรียนรู้แบบลองผิดลองถูกซ่ึงเป็น วิธกี ารเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง ควรสอนเม่ือผเู้ รียนมีความพรอ้ ม ดงั นั้นจึงควรช้ีแจงจุดมงุ่ หมายของการเรยี นหรือนําเข้าสู่ บทเรยี น เพื่อเตรยี มความพรอ้ มเสียก่อน พยายามช่วยให้ผู้เรยี นประสบความสําเรจ็ ในการเรยี น และการทํางาน และให้เขาไดท้ ราบผลการเรียนและ การทํางานเพ่ือกระตุ้นให้อยากเรียนรู้ตอ่ ไปและเกดิ เจตคติ ท่ีดีจาํ ทําให้มีความตงั้ ใจในการเรยี นมากข้ึน การสอนในชั้นเรียนควรกาํ หนดจุดม่งุ หมายให้ชั้นเจนหมายถึงการตงั้ จดุ มงุ่ หมายท่สี ังเกต การตอบสนองได้และครูจะตอ้ งจัดแบ่งเนื้อหาออกเป็นหน่วยๆ ให้เขาเรยี นทลี ะหน่วย เพ่ือท่ผี ู้ เรยี นจะได้เกิดความรูส้ ึกพอใจในผลท่ีเขาเรยี นในแตล่ ะหน่วยนั้น การสอนควรเร่มิ จากส่ิงท่ีงา่ ยไปส่ิงท่ยี าก การสรา้ งแรงจงู ใจนับวา่ สําคัญมาก เพราะจะทําให้ ผเู้ รยี นเกดิ ความพอใจเมอ่ื ไดร้ ับส่ิงท่ีตอ้ งการหรือรางวลั รางวลั จงึ เป็นส่ิงท่ีควบคุมพฤตกิ รรม ของผู้เรยี น การสร้างแรงจูงใจภายนอกให้กับผู้เรยี น ครูจะตอ้ งให้ผู้เรียนรูผ้ ลการกระทําหรอื ผลการเรียน เพราะการรูผ้ ลจะทาํ ให้ผเู้ รียนการกระทาํ นั้นถูกตอ้ งหรือไม่ถูกตอ้ ง ดหี รอื ไมด่ ี พอใจหรอื ไม่ พอใจ ถ้าการกระทาํ นั้นผดิ หรือไมเ่ ป็นท่ีพอใจเขาก็จะไดร้ บั การแก้ไขปรับปรุงให้ถูกตอ้ งเพ่ือท่จี ะ ได้รับส่ิงท่ีเขาพอใจตอ่ ไป ควรให้ผเู้ รยี นไดม้ กี ารฝึกหัด หรือทาํ กิจกรรมนั้นซาอีกตามความเหมาะสมเพ่ือให้เกิดความ แม่นยาํ และความชํานาญย่ิงข้ึน

ทฤษฏกี ารวางเงอื่ นไขของสกนิ 16 เนอร(์ Skinner) เน้นการเสริมแรงหรอื ให้ รางวัล  สรุปแนวคิดตามทฤษฏนี ้ีไดว้ า่   การก ระทําใดๆ ถ้าได้รับการเสริมแรงจะมแี นวโน้ม ท่จี ะเกดิ ข้ึน อีก  การเสรมิ แรงท่แี ปรเปล่ยี นทําให้การตอบ สนองคงทนกวา่ การเสรมิ แรงท่ตี ายตวั   การจั ดการเรยี นการสอนตามทฤษฏนี ้ีจงึ เน้นท่ีการเ สนอส่ิงเรา้ ในการเรียนการสอน  การจดั กิจก รรมอยา่ งตอ่ เน่ือง  มีการแสริมแรงหรือให้รา งวลั เพ่ือให้ผเู้ รยี นเกิดความพึงพอใจท่ีจะเรียน

ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบการกระทาํ ของ สกนิ เนอรก์ บั การจดั การเรยี นรูข้ องครู การนําทฤษฎีการวางเง่ือนไขแบบการกระทาํ ของ สกินเนอร์ มาประยกุ ตส์ ู่กระบวนการจัดการเรยี นรู้ของครู มี ดงั น้ี 1. ควรจะให้แรงเสรมิ ในพฤตกิ รรมท่ีแสดงวา่ ผ้เู รยี น เกดิ การเรียนรูแ้ ล้วโดยตอนแรกๆควรจะให้แรงเสรมิ ทุกครงั้ ท่ีผเู้ รียนแสดงพฤตกิ รรมท่ีพึงปรารถนา ตอ่ มา จึงค่อยใช้แรงเสริมเป็นครัง้ คราวและจะตอ้ งระวังมา ให้แรงเสรมิ เมือ่ ผเู้ รียนแสดงพฤตกิ รรมท่พี ึงประสงค์ 2. การปรับพฤตกิ รรม (Behavior Modification) คือ การ ปรุงแตง่ พฤตกิ รรมให้เป็นไปในทิศทางท่ตี อ้ งการซ่ึงมี 3 ลักษณะดงั น้ี 17

2.1 การเพ่ิมพฤตกิ รรมหรอื คงพฤตกิ รรมเดิมท่ี เหมาะสมไว้ ซ่ึงจะมเี ทคนิคในการใช้เพ่ิม พฤตกิ รรมหลายอย่างคือ การเสริมแรงในทาง บวก เพื่อให้เกิดพฤตกิ รรมท่พี ึงพอใจ การทํา สัญญาเงอ่ื นไข การเสริมแรงในทางลบ เป็นตน้ 2.2 การปลกู ฝังพฤตกิ รรมบางอยา่ งโดยใช้วิธีท่เี รียกวา่ การดัดหรอื การตบแตง่ พฤตกิ รรม (Behavior Shaping) ซ่ึงเป็นการใช้วิธีให้แรงเสรมิ กับพฤตกิ รรมท่ผี ้เู รียน ทาํ ไดใ้ กล้เคียงกบั เป้าหมายท่ีกาํ หนดไวต้ ามลาํ ดบั ขั้นจน สามารถแสดงออกไดเ้ ป็นนิสัย เช่น การกระทําให้เด็กท่ี ไมก่ ล้าพูดไม่กล้าแสดงออกเป็นเดก็ ท่กี ลา้ ข้ึนมาไดก้ โ็ ดย การชมเชย และให้กําลังใจเมื่อเขากลา้ พดู และกลา้ แสดงออก ฯลฯ 2.3 การลดพฤตกิ รรม เป็นการลดพฤตกิ รรมท่ไี ม่ พึงปรารถนา ซ่ึงจะใช้วธิ กี ารลงโทษ เช่น การ ฝ่าฝืนกฎ หรอื ระเบยี บของโรงเรียน หรือสังคม การสบู บหุ ร่ี เป็นตน้ 18

ทฤษฎกี ารวางเงอื่ นไขแบบการกระทาํ ของ สกนิ เนอรก์ บั การจดั การเรยี นรูข้ องครู 3. บทเรยี นสําเร็จรูปหรอื บทเรียนแบบโปรแกรม (Program Learning) จากหลักการให้แรงเสรมิ ของสกินเนอร์ท่วี า่ เมือ่ ผู้เรยี นทําถูกจะไดร้ างวัล ทนั ที มีผลให้เกิดบทเรยี นสําเร็จรูปหรอื บทเรยี น แบบโปรแกรมและเครื่องช่วยสอน (Teaching Machine) ข้ึน ซ่ึงเน้นให้ผูเ้ รยี นเรยี นรูด้ ว้ ยตนเอง โดยมีคําตอบท่ถี ูกตอ้ งไวใ้ ห้ 4. การปรบั พฤตกิ รรม คือ ทาํ การปรบั พฤตกิ รรม ของบคุ คล หลกั การน้ีอาจจะใช้ทงั้ การเสริมแรง ทางบวกและการเสริมแรงทางลบประกอบกัน 22 19

สรุ ป ทฤษฎีการเรยี นรูก้ ลุ่มพฤตกิ รรมนิยม (Behaviorism) เป็นทฤษฎที ่ีกลา่ วถึงธรรมชาติของมนษุ ย์ในลกั ษณะท่ี เป็นกลางคือไม่ดีไมเ่ ลว (neutral-passive) การกระทํา ตา่ ง ๆของมนษุ ยเ์ กดิ จากอิทธพิ ลของส่ิ งแวดล้อม ภายนอก หลักการจัดการเรยี นการสอนตามทฤษฎนี ้ี จึง มกั คํานึงถึงความพร้อมความสามารถและเวลาท่ีผเู้ รยี น จะเรยี นได้ดีท่ีสุด การจัดการเรยี นการสอนควรให้ทาง เลือกท่ีหลากหลายเพ่ือตอบสนองระดบั ความสามารถ ของผ้เู รียน 20

Thanks! ✓ นางสาวมณฑริ า สมประสงค์ รหัส 63120633108

อา้ งองิ “นรู ลุ อนิ ซาน กอระ. (2559). ทฤษฎีการเรยี นรขู้ องพาฟลอฟ ( Ivan Petrovich Pavlov ). สบื คน้ 20 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก http://405404027.blogspot.com บ้านจอมยทุ ธ. (2543). ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลุ่มพฤตกิ รรมนิยม (Behaviorism). สบื คน้ 20 กุมภาพนั ธ์ 2564, จาก https://www.baanjomyut.com กติ ติ ยกเทพ. (2556). ทฤษฎกี ารเรยี นรกู้ ลุม่ พฤตกิ รรมนิยม (Behaviorism). สบื คน้ 20 กมุ ภาพันธ์ 2564, จาก http://071sutamadchuaychoonoo.blogspot.com 22


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook