Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore man61

man61

Published by yooyee-za, 2019-07-06 00:10:04

Description: man61

Search

Read the Text Version

การเปลย่ี นแปลงทางสังคม (Social Change) โดย...อ.ดร.ประพนั ธ์ เกยี รตเิ ผา่ รายวชิ า มนษุ ย์กบั สังคม (Man & Soc) รหัสวชิ า 999141

ภาพของการเปลย่ี นแปลงจากอดตี สู่... ปัจจุบนั 2

ภาพของการเปลยี่ นแปลงสู่อนาคต 3

การเปลย่ี นแปลงทางสังคมและ วฒั นธรรม (Social & Culture Change)

การเปลยี่ นแปลง 1. Webster’s Encyclopedic Unabridged Dictionary of the English Language ไดบ้ ญั ญตั ิไวว้ า่ การเปล่ียนแปลง (Change) มีความหมายตรงกบั หลายคา อาทิเช่น Transformation หรือ Modification หรือ Alteration 5

สังคม เสถยี รโกเศส ใหค้ วามหมายของคาวา่ “สังคม” ไวว้ า่ “มนุษยท์ ่ีรวมกนั อยเู่ ป็นหม่คู ณะ ที่มีท้งั หญิงและชาย ต้งั ภูมิลาเนา เป็นหลกั แหล่ง ณ ที่ใดท่ีหน่ึงเป็นประจาเป็นเวลานานพอสมควร มีความสนใจร่วมกนั ในส่ิงอนั เป็นมลู ฐานแห่งชีวติ มีการดารงชีพ ความปลอดภยั ทางร่างกายกเ็ ป็นส่วนหน่ึงของส่วนรวม ม นุ ษ ย์ ท่ี ร่ ว ม กั น เ ป็ น ค ณ ะ ต า ม เ งื่ อ น ไ ข ท่ี ก ล่ า ว ม า นี้ เ รี ย ก ว่ า “ สั ง ค ม ” 6

การเปลยี่ นแปลงทางสังคม หมายถงึ - การเปล่ียนแปลงของระบบความสัมพนั ธ์ระหวา่ งสมาชิกในสังคม - การเปลี่ยนแปลงทางด้านโครงสร้ างของความสัมพันธ์ ระหว่างกลุ่มและ ระหว่างส่วนประกอบของสังคมน้ัน เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างชาวชนบท ชาวเมือง เป็นตน้ การเปล่ียนแปลงทางสังคมดงั กล่าวน้ีย่อมเกิดข้ึนในระดบั กลุ่มบุคคลและใน ระดบั สถาบนั ทางสังคมไม่ว่าจะเป็ นในสถาบนั ครอบครัว เครือญาติ การสมรส ครองเรือน หรือสถาบนั การเมืองเศรษฐกิจ ฯลฯ กไ็ ด้ ทม่ี า : สุริชัย หวนั แก้ว (2549:155) 7

John F. Cuber “สั งคมอาจให้ คาจากัดความว่ า เป็ นกลุ่มของ ประชาชนที่อาศัยอยู่รวมกันเป็ นเวลานานพอที่มี การจัดระเบียบร่ วมกันและเห็นว่ าพวกเขาแตกต่ าง ไ ป จ า ก ก ลุ่ ม อ่ื น ” 8

วฒั นธรรม 2. พระยาอนุมานราชธนได้ อธิบายคาวา่ วฒั นธรรม คือ ส่ิงที่มนุษยเ์ ปลี่ยนแปลงปรับปรุง หรือผลิตข้ึน เพอ่ื ความเจริญงอกงามในวถิ ีชีวิตมนุษย์ - ในส่วนรวมท่ีถา่ ยทอดกนั - ไดเ้ ลียนแบบกนั ได้ - เอาอยา่ งกนั ได้ \"วฒั นธรรม\" ในความหมายทางสังคมวทิ ยา คือ วถิ ีการดาเนินชีวติ และกระสวนแห่ง พฤติกรรม และบรรดาผลงานท้งั มวลท่ีมนุษยไ์ ดส้ ร้างสรรคข์ ้ึน ตลอดจนความคิด ความเชื่อ ความรู้ เป็นตน้ 9

การเปลยี่ นแปลงทางสังคมและวฒั นธรรม 1. What? การเปลี่ยนแปลงสงั คม หมายถึงอะไร ? 2. Why? ทาไมจึงเกิดการเปล่ียนแปลงข้ึนมา ? 3. How? การเปล่ียนแปลงน้นั เกิดข้ึนไดอ้ ย่างไร ? 4. Where? การเปลี่ยนแปลงเป็นไปในทศิ ทางใด ? 5. When? อตั ราเร็วชา้ ในการเปลี่ยนแปลง ? 10

What? การเปลยี่ นแปลงสังคมหมายถึงอะไร 1. การเปลี่ยนแปลงน้นั จะตอ้ งเป็ นปรากฏการณ์ร่วม หมายความวา่ เกิดจาก คนส่วนใหญ่ในสงั คมและมีผลกระทบต่อคนส่วนใหญ่ดว้ ย 2. การเปลี่ยนแปลงน้นั จะตอ้ งเป็นการเปล่ียนแปลงถึงระดบั โครงสร้างสังคม สถาบนั สังคมหรือความสัมพนั ธ์ระหว่างสถาบัน 3. การเปลี่ยนแปลงน้นั จะตอ้ งกินระยะเวลานานพอสมควร มิใช่การ เปลี่ยนแปลงในชวั่ พริบตา 4. ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงน้นั จะตอ้ งกระทบต่อประวตั ิศาสตร์ของ สังคมน้ัน 11

Why? ทาไมจงึ เกดิ การเปลย่ี นแปลง 1. ทฤษฎวี วิ ฒั นาการ (Evolutionary theory) เป็น แนวความคิดท่ีไดร้ ับอิทธิพลจากทฤษฎีวิวฒั นาการทาง ชีวภาพของ ชาร์ลส์ ดาร์วนิ (Charles Darwin) โดยนกั สงั คมวทิ ยาในกลุม่ ทฤษฎีววิ ฒั นาการเสนอวา่ ..... “การเปลี่ยนแปลงของสังคมเป็ นกระบวนการท่ีมีการเปลี่ยนแปลง อยา่ งเป็นข้นั ตอนตามลาดบั โดยมีการเปล่ียนแปลงจากข้นั หน่ึงไปสู่อีกข้นั หน่ึงใน ลกั ษณะที่มี การพฒั นาและกา้ วหนา้ กวา่ ข้นั ท่ีผา่ นมา มีการเปล่ียนแปลงจากสังคมท่ีมี รูปแบบเรียบง่ายไปสู่รูปแบบท่ีสลบั ซบั ซอ้ นมากข้ึน และมีความเจริญกา้ วหนา้ ไปเร่ือย ๆ จนเกิดเป็นสงั คมที่มีความสมบูรณ์” 12

Why? ทาไมจงึ เกดิ การเปลย่ี นแปลง 2. ทฤษฎคี วามขดั แย้ง (Conflict theory) แนวความคิด ของนกั ทฤษฎีความขดั แย้งที่สาคญั ได้แก่ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) ซงึ่ เป็นแนวความคดิ ท่ีมีข้อ สมมตุ ฐิ านท่ีวา่ พฤตกิ รรมของสงั คมสามารถเข้าใจ ได้จากความขดั แย้งระหวา่ งกลมุ่ ตา่ ง ๆ และบคุ คลตา่ ง ๆ เพราะการแขง่ ขนั กนั ในการเป็ นเจ้าของทรัพยากรที่มีคา่ และหายาก นักสังคมวทิ ยาใช้ทฤษฎีความขัดแย้งอธบิ ายการเปล่ียนแปลงทางสังคม 13

Why? ทาไมจึงเกดิ การเปลย่ี นแปลง 3. ทฤษฎโี ครงสร้าง-หน้าท่ี (Structural-Functional theory)………… แนวความคดิ ในการพฒั นาทฤษฎีโครงสร้าง-หน้าที่เป็นผลมาจาก การนาเอา แนวความคิดทางด้านชีววิทยามาใช้ โดยอปุ มาวา่ โครงสร้าง ของสงั คมเป็ นเสมือนร่างกายท่ีประกอบไปด้วยเซลล์ตา่ ง ๆ และมองวา่ หน้าที่ของสงั คมก็คอื การทาหน้าท่ีของอวยั วะสว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย โดยแตล่ ะสว่ นจะชว่ ยเหลือและเกือ้ กลู ซงึ่ กนั และกนั เพ่อื ให้ระบบทงั้ ระบบ มีชีวติ ดารงอยไู่ ด้ 14

Why? ทาไมจงึ เกดิ การเปลย่ี นแปลง (Robert K. Merton) ไดจ้ าแนกหนา้ ท่ีทางสังคมเป็น 2 ประเภทคือ 1. หนา้ ท่ีหลกั (Manifest) 2. หนา้ ท่ีรอง (Latent) (Emile Durkheim) มีแนวความคิดวา่ หนา้ ที่ของสังคมคือ ส่วนท่ีสนบั สนุนให้ สงั คมสามารถดารงอยไู่ ด้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกบั (A.R. Radcliffe-Brown) (Bronislaw Malinowski) ที่มองวา่ หนา้ ท่ีทางสงั คม เป็นส่วนสนบั สนุนใหโ้ ครงสร้างสังคมคง อยอู่ ยา่ งตอ่ เน่ือง เพราะสงั คมมีกระบวนการทางสังคมที่ทาใหส้ ังคมเกิดความเป็น อนั หน่ึงอนั เดียวกนั เช่น บรรทดั ฐาน ค่านิยม ความเช่ือ วฒั นธรรม และประเพณี เป็ นตน้ 15

Why? ทาไมจงึ เกดิ การเปลย่ี นแปลง 4.ทฤษฎีจติ วทิ ยา-สังคม (Social-Psychological theory) จากแนวความคดิ ด้าน จิตวทิ ยา-สงั คม เสนอวา่ การพฒั นาทางสงั คมเกิดจากการทางานของปัจจยั ทางด้านจิตวิทยาท่ีเป็นแรงขบั ให้ประชาชนมีการกระทา มีความกระตือรือร้น มี การประดิษฐ์ มีการค้นพบ มีการสร้างสรรค์ มีการแยง่ ชิง มีการกอ่ สร้าง และ พฒั นาสิ่งต่างภายในสงั คม นกั สงั คมวิทยาที่ใช้ปัจจยั ทางด้านจิตวิทยาอธิบายการ เปล่ียนแปลงทางสงั คม มีดงั นี ้ 16

Why? ทาไมจงึ เกดิ การเปลยี่ นแปลง (Max Weber) เป็นนกั สงั คมวทิ ยาคนแรกที่ใชห้ ลกั จิตวทิ ยามาใชใ้ นการอธิบายการ เปลี่ยนแปลงทางสังคม Max เสนอวา่ การพฒั นาของในสังคมอุตสาหกรรมสมยั ใหม่ ตามลทั ธิทุนนิยม มีสาเหตุมาจากปัจจยั ดา้ นจิตวทิ ยา ท่ีเกิดข้ึน หลงั สมยั ศตวรรษท่ี 16 เม่ือในยโุ รปตะวนั ตกมีการแพร่กระจาย คาสอนของศาสนาคริสต์ ลทั ธิโปรแตสแตน (Protestant ethic) ท่ีสอนใหศ้ าสนิกชนเกิดจิตวญิ ญาณแบบทุนนิยม (Spirit of Capitalism) เป็นนกั แสวงหาสิ่งใหม่ มุ่งสู่ความสาเร็จเพื่อให้ เกิดการยอมรับ ทางานหนกั เพอื่ สะสมความร่ารวย เกบ็ ออมเพ่ือ นาไปใชใ้ นการลงทุน สร้างกาไรอยา่ งต่อเน่ือง 17

How? การเปลี่ยนแปลงนนั้ เกิดขึน้ ได้อย่างไร นักสังคมให้ความสนใจกบั 3 ปัจจัย คอื 1. ตวั แปรทก่ี ่อให้เกดิ การเปลยี่ นแปลง : ประชากร เทคโนโลยี วฒั นธรรม 2. เงื่อนไขท่ี เออื้ อานวยหรือขดั ขวาง ต่อการเปลยี่ นแปลง : สภาพการณ์ที่ ปัจจยั ของการเปล่ียนแปลงเกิดข้ึน หรือถูกนาเขา้ ไป เช่น โรงงานมีการนา เครื่องจกั รเขา้ ไปใช้ เครื่องจกั รคือตวั แปรของการเปลี่ยนแปลง ส่วน ทศั นคติของคนงานต่อเคร่ืองจกั รเป็นเง่ือนไข 3. ตวั แทนผู้เปลย่ี นแปลง ในบรรดาปัจจยั ท้งั 3 ตวั น้ี อาจจะแบ่งเป็นประเภท ใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ 3.1 ปัจจยั ทางด้านวตั ถุ เช่น จานวนประชากร ความเจริญของเทคโนโลยี เศรษฐกิจ ฯลฯ 3.2 ปัจจยั ทางวฒั นธรรม เช่น คา่ นิยม ความเช่ือ อุดมการณ์ ฯลฯ 18

Where? การเปลี่ยนแปลงเป็ นไปในทศิ ทางใด แบ่งเป็น 2 ทฤษฎี 1. ทฤษฎเี ส้นตรง (linear theory of social change) : การสะสมการเปล่ียนแปลงในประวตั ิศาสตร์ของมนุษยจ์ ะเพิ่มพนู กา้ วหนา้ ดีข้ึน ไปเรื่อยๆ เหมือนเส้นตรง ดี เสื่อม 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook