Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Best Practice 65

Best Practice 65

Published by jackky3075, 2022-05-17 03:40:10

Description: Best Practice 65

Search

Read the Text Version

Best Practice ประจำปี ๒๕๖๕ เร่อื งการขบั เคล่ือนภาคีเครือขา่ ย ชุมชนจติ อาสาสู่การเรียนรทู้ ีย่ ง่ั ยนื กศน.ตำบลสงู เม่น ศูนย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสงู เม่น สำนกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั แพร่



คำนำ รายงานผลการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice) ของกศน.ตำบลสูงเม่น เป็นการรายงานผลการ ปฏิบัติงานปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ดำเนินการจัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสรุปผลการดำเนินงานการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยทุกรูปแบบ ท่ีได้ดำเนินการให้แก่ประชาชนและภาคีเครือข่าย ผู้จัดทำ รายงานฉบับนี้ ได้รวบรวมสาระและประเด็นสำคัญเพื่อบันทึกผลการปฏิบัติงานที่สะท้อนทั้งคุณภาพและ ปรมิ าณของสถานศกึ ษา กศน.ตำบลสูงเม่น ขอขอบคุณผู้บริหาร คณะครู กศน.อำเภอสูงเม่น หน่วยงานเครือข่าย และผู้ท่ี เก่ียวข้องทุกท่าน ท่ีให้การสนับสนุนร่วมวางแผน ร่วมปฏิบัติงาน ส่งผลให้งานประสบความสำเร็จ บรรลุตาม เป้าหมายที่วางไวแ้ ละทำใหก้ ารจัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย เกิดประโยชนต์ ่อประชาชน ในพนื้ ทตี่ ำบลสงู เมน่ กศน.ตำบลสูงเม่น

Best Practice การขบั เคล่อื นภาคีเครอื ข่ายชมุ ชนจติ อาสาสกู่ ารเรยี นรูท้ ย่ี ั่งยืน • โดย นางสาววรรณา ลำ้ เลิศ ครูกศน.ตำบลสูงเม่น กศน.อำเภอสูงเมน่ • ๑. ความสำเร็จของผลงาน / นวตั กรรมท่นี ำเสนอ • ชื่อผลงาน : การขับเคลือ่ นภาคีเครือขา่ ยชุมชนจติ อาสาสู่การเรียนรทู้ ย่ี ่ังยืน • ๒. จดุ ประสงค์ และเป้าหมายของการดำเนินงาน ๒.๑ เพอ่ื ขยายผลการดำเนนิ งานภาคีเครือขา่ ยชมุ ชนจติ อาสาสกู่ ารเรยี นรู้ในรปู แบบ การศึกษานอกระบบ ๒.๒ สร้างชมุ ชนจติ อาสาที่เขม็ แข็งและเปน็ ตน้ แบบใหช้ ุมชนอืน่ ๆ ๓. กระบวนการหรอื ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน ๓.๑ ขนั้ ตอนของการวางแผน (Plan) - ศึกษาสภาพปัจจบุ ันของชมุ ชนบ้านท่ามด หมู่ท่ี ๔ ตำบลสูงเมน่ อำเภอสงู เม่น จังหวดั แพร่ - วเิ คราะห์บริบท ของชุมชนบ้านทา่ มด หมู่ที่ ๔ ตำบลสูงเม่น อำเภอสูงเม่น จังหวดั แพร่ - วางแผนการดำเนินงาน - แต่งตงั้ คณะทำงาน - จัดทำแผนปฎบิ ัตงิ าน - นำเสนอแผนต่อผบู้ ริหาร - ประชาสมั พันธ์ใหป้ ้ทู ่เี กี่ยวข้อง - กำหนดรปู แบบการจดั กิจกรรมภายใต้นโยบาย ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ ๓.๒ ขนั้ ตอนการดำเนิน (Do) - ประชมุ ช้ีแจงรายละเอยี ดในตำบล ประกอบด้วย ผ้นู ำชุมชน หน่วยงานราชการในระดับ อำเภอ ระดับตำบล บคุ ลากร กศน.อำเภอสูงเมน่ และประชาชนบ้านท่ามด หม่ทู ี่ ๔ ตำบลสูงเม่น อำเภอสงู เม่น จงั หวดั แพร่ - ดำเนนิ งานตามแผนงบประมาณปงี บประมาณ ๒๕๖๕ ๓.๓ ขนั้ ตอนตรวจสอบ (Check) - นเิ ทศ กำกบั ติดตาม และประเมินผล - จัดทำรายงานเผอ่ื เผยแพรต่ ่อสาธารณชน - ประเมินผลการดำเนินกจิ กรรม ๓.๔ ข้ันตอนการปรับปรงุ และพฒั นา (Act) - แลกเปลีย่ นเรียนรู้ เพอื่ เปน็ แนวทางพิจารณาในการปรบั ปรงุ กจิ กรรมเพื่อเกดิ ประสทิ ธิภาพ ตอ่ ผ้เู รยี นอย่างสูงสดุ - มีการจัดกจิ กรรมอยา่ งตอ่ เนื่อง

๒ ๔. ผลสำเรจ็ ของงาน/กิจกรรม หรอื ประโยชน์ท่ไี ดร้ บั จากการดำเนนิ งานการขับเคลอ่ื นภาคเี ครือข่ายชมุ ชนจติ อาสาชุมชนบ้านทา่ มด หมู่ท่ี ๔ ตำบลสูงเมน่ อำเภอสูงเม่น จังหวดั แพร่ ส่กู ารเรียนรู้ท่ยี ั่งยืนในรปู แบบงานการศกึ ษานอกระบบ เปน็ การนำ กจิ กรรมจิตอาสาไปเผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์ให้คนในชุมชนตำบลสงู เมน่ ทง้ั ๑๐ หม่บู ้าน โดยเฉพาะปลกู ฝงั ความคดิ ต่อยอดการพัฒนาจิตอาสาใหก้ ับเยาวชนในชุมชนเขา้ รว่ มกจิ กรรมจิตอาสา เพ่อื ให้ได้เล็งเหน็ ถึง ความสำคัญในการพฒั นา ซ่ึงก็คอื จิตอาสาพระราชทาน ท่ีมวี ตั ถุประสงคเ์ พื่อพฒั นาท้องถิ่นของแตล่ ะชุมชนให้มี คุณภาพชีวิตและความเปน็ อยู่ทด่ี ขี ึ้นไมว่ า่ จะเปน็ กจิ กรรมบำเพญ็ ประโยชนส์ าธารณประโยชน์ การอนุรกั ษ์ ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การอำนวยความสะดวก และความปลอดภยั ในการดำรงชวี ติ การประกอบอาชพี รวมทัง้ สาธารณสุขจนก่อให้เกิดความสำเร็จ เปน็ ตน้ แบบในดา้ นตา่ งๆได้มากมาย ซง่ึ บางครั้งพบว่าเกนิ ความ คาดหมาย และนอกเหนอื หลักทฤษฎวี ชิ าการ ในตำรา แต่ดว้ ยวิถีชวี ิตของคนในชมุ ชน ส่วนใหญม่ งุ่ ดา้ นการมี ชีวิตอย่แู บบพอมีพอกิน ถา่ ยทอดความรู้ คือ จากปากสู่ปาก ปฎิบตั ิให้ดู อยูใ่ หเ้ ห็นเป็นให้สุข ภายใต้การ ดำเนนิ งานการมสี ว่ นร่วมของภาคเี ครอื ขา่ ยที่สามารถสง่ เสริม สนับสนุนการจดั การศึกษานอกระบบได้อยา่ งมี คณุ ภาพและมีนวตั กรรมที่เป็นประโยชนแ์ ละสามารถนำไปใช้ไดจ้ ริงในชวี ิตประจำวนั ๕. รางวัลแหง่ ความสำเร็จ หมูบ่ ้านต้นแบบประชาธปิ ไตยดเี ด่น ประจำปี ๒๕๖๓ โครงการชุมชนนา่ อยภู่ าคเหนือ ต้งั แตป่ ี ๒๕๖๑-๒๕๖๓

๓ ๖. ข้อคิดในการนำไปขยายผล ส่งเสริมสนับสนุน ใหช้ ุมชนบา้ นทา่ มด หม่ทู ี่ ๔ ตำบลสูงเม่น อำเภอสงู เม่น จงั หวดั แพร่ นำ กิจกรรมจิตอาสา ไปเผยแพร่ ประชาสัมพนั ธ์ ใหค้ นในชุมชนในตำบลสงู เม่นทงั้ ๑๐ หมบู่ ้าน โดยเฉพาะปลูกฝังความคิด ต่อยอดพฒั นาจติ อาสาให้กับเยาวชนในชุมชนเข้ารว่ มกจิ กรรมจิตอาสา เพ่ือใหเ้ ลง็ เหน็ ถงึ ความสำคัญในการทำจติ อาสาพัฒนา ซ่ึงก็คือจติ อาสาพระราชทาน ท่ีมวี ตั ถุประสงค์ เพือ่ พฒั นาท้องถ่ินของแตล่ ะชุมชนให้มคี ณุ ภาพชวี ิตและความเปน็ อยู่ท่ีดขี ึ้น ๗. การเผยแพร่ / การได้รับการยอมรับ / รางวัลทีไ่ ดร้ บั - การเผยแพร่ ใน facebook กศน.ตาบลสูงเมน่ อำเภอสงู เมน่ จังหวัดแพร่

…………………………………………..ผู้รายงาน (นางสาววรรณา ล้ำเลิศ) ครู กศน.ตำบล ขอ้ เสนอแนะ……………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………..……………………………… ………………………………………………………………………………………………………………..………………… (นางสาวอรุณี พนั ธุ์พาณชิ ย์) ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอสูงเม่น

ภาคผนวก

Best Practice การขับเคลอ่ื นภาคเี ครือขา่ ยชุมชนจิตอาสาสู่การเรียนรู้ท่ยี ั่งยืน ผเู้ ข้าร่วมกิจกรรม ผลัดกนั รำลึกถงึ เส้นทางในการกอ่ เกดิ กจิ กรรมแตล่ ะกจิ กรรมตกผลกึ เป็นกจิ กรรมเดน่ ของ ชมุ ชนและภาคเี ครือข่ายรว่ มต่อเติมความสมบรู ณ์ การเชื่อมโยงผลจากกิจกรรมท่ชี ุมชนดำเนนิ การจนประสบความสำเร็จ เกิดวัฒนธรรมเกอ้ื กูลกันใหโ้ ดย ไม่หวังผลเกิดเปน็ ชมุ ชนจิตอาสา คณะทำงานร่วมถอดบทเรียน และบนั ทึก ผลเป็นรูปเลม่

Best Practice การขับเคลื่อนภาคีเครอื ขา่ ยชุมชนจิตอาสาสกู่ ารเรยี นรู้ท่ยี ัง่ ยืน ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอสูงเม่น ดำเนินการจัดอบรมตาม โครงการ จิตอาสา ของสำนักงาน กศน. จังหวัดแพร่ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ครู กศน.เป็นจิตอาสาตัวอย่าง เป็นกำลัง เป็นแกนนำ เป็นรากแก้วที่ จะเป็นเบ้า เป็นแม่พิมพ์ ท่ีจะนำความรู้ ความเข้าใจ คำว่าจิตอาสาไปขยายผลใน การพัฒนา บุคลากรภายในสังกัดสำนักงาน กศน. รวมถึงประชาชน ผู้เรียน ให้เกิดการสร้างอุดมการณ์ สร้าง จิตสำนึก สร้างระเบียบวินัย สามารถเป็นผู้นำสำคัญในการประสานความร่วมมือ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อน ให้กบั ประชาชนในพน้ื ที่ และนำความรู้ทไี่ ด้รับไปช่วยเหลอื ผ้ทู ี่ได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณว์ ิกฤติ และ ภยั พบิ ัติ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ

Best Practice การขับเคล่อื นภาคเี ครอื ขา่ ยชุมชนจิตอาสาสูก่ ารเรียนรูท้ ย่ี ง่ั ยืน - ครู กศน.ตำบล นำความรู้ท่ีได้รับไปถ่ายทอดให้กับทุกชุมชนในตำบลสูงเม่น โดยการให้ความรู้ใน เรื่องของจิตอาสาและลงมือปฏิบัติจริง โดยการจัดกิจกรรม \"จิตอาสา เราทำความดีด้วยหัวใจ\" ในการร่วมกัน พฒั นาวัด โรงเรยี น บริเวณรอบๆ ชมุ ชน การถางหญ้าตดั ต้นไม้ เก็บขยะ บนไหลท่ างสาธารณะในชุมชน

Best Practice การขบั เคลื่อนภาคเี ครอื ขา่ ยชมุ ชนจิตอาสาส่กู ารเรยี นรทู้ ่ยี ่ังยนื - การจัดกจิ กรรมจติ อาสาในหม่บู า้ น ร่วมกบั คนในชุมชน - การจัดกจิ กรรมร่วมกบั กศน.อำเภอสงู เม่น กศน.ตำบลสงู เมน่ ดังน้ี - กิจกรรมการการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ - กิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพัฒนาสงั คมและชมุ ชน - กิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวติ - กจิ กรรมการจดั กระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง - กิจกรรมการจดั การศึกษาตามอธั ยาศยั กจิ กรรมการศึกษาเพ่อื พัฒนาสังคมและชมุ ชน การประดิษฐ์ดอกไมจ้ ากถุงพลาสตกิ ท่ีใชแ้ ล้วใน ครัวเรือน ประชาชนและชุมชนสามารถบริหารจัดการขยะท่ีเป็นมติ รกับส่ิงแวดล้อมทำให้ลดภาวะโลกร้อนลงได้ โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน

Best Practice การขบั เคล่อื นภาคเี ครอื ขา่ ยชุมชนจิตอาสาสกู่ ารเรยี นรู้ที่ยัง่ ยนื กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ กจิ กรรมการทำเสปรย์แอลกฮอล์ ประชาชน มีความรู้ และ ทักษะเกย่ี วกับสขุ ภาวะอนามัยด้านการดูแลสุขภาพกายและสุขภาพจิต มีความรู้ ความเขา้ ใจเรือ่ งการป้องกนั การป้องกนั โรคต่างๆ ท่ีเกดิ ข้ึนในปจั จุบนั และมสี ขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิตทดี่ ี และนำความรู้ไปปรับใช้ในการ ดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครวั กิจกรรมการจัดกระบวนการเรยี นรตู้ ามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง การเพาะถ่ัวงอกในตะกร้า ไดร้ ับความรู้ความเขา้ ใจและตระหนกั ในความสำคัญในการดำเนนิ ชวี ติ ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สร้างทักษะกระบวนการดำเนินชีวติ ตามแนวทางหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปปรบั ประยุกตใ์ ช้ จริง

Best Practice การขับเคล่ือนภาคีเครอื ขา่ ยชมุ ชนจิตอาสาส่กู ารเรยี นรทู้ ยี่ ั่งยนื - การจัดกิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย เปิดป้ายหมู่บ้านไม่ขายเสียง ร่วมกับกศน.ตำบลสูงเม่นและ สำนกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้งประจำจังหวัดแพร่ เปิดป้ายหมู่บ้านไม่ขายเสียง ร่วมกับกศน.ตำบลสูงเม่นและสำนกั งานคณะกรรมการการเลือกต้ัง ประจำจงั หวดั แพร่

Best Practice การขับเคลอ่ื นภาคีเครอื ขา่ ยชมุ ชนจติ อาสาส่กู ารเรยี นร้ทู ี่ยง่ั ยนื ประชาชนในชุมชนมคี วามเสียสละ และทำประโยชน์เพอื่ ส่วนรวม ร่วมกันบริจาคเงนิ และเสยี สละแรงกาย ช่วยกันจดั สร้างบ้านให้ผู้ยากไร้ปรับปรงุ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน หมู่บ้านมีความสะอาดสวยงาม เป็นระเบียบเรียบรอ้ ย เป็นต้นแบบของหมู่บ้านประชาธิปไตยดีเด่น ให้หมู่บ้านอื่นในเขตอำเภอสูงเม่น ใช้เป็นต้นแบบในการพัฒนา หม่บู ้านใหเ้ กิดความยง่ั ยืน การยอมรับเสียงสว่ นมากโดยการยกมือ การวัดดัชนมี วลกายของคนในชมุ ชน การตรวจสารพิษตกค้างในร่างกายของคนในชมุ ชนการ สำรวจขยะในครัวเรอื น

Best Practice การขบั เคลอ่ื นภาคีเครอื ขา่ ยชุมชนจิตอาสาสู่การเรยี นรทู้ ีย่ งั่ ยนื คณะกรรมการบริหารอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย บ้านท่ามด หมู่ท่ี 4 ตำบลสูงเม่น อำเภอ สูงเม่น จังหวัดแพร่ ผ่านการฝึกอบรมอาสาสมัครต้นแบบประชาธิปไตย (อสปช.) และจัดตั้งเป็นหมู่บ้าน ต้นแบบประชาธิปไตยในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖2 ประโยชน์ท่ีได้รับ ได้รับทราบข้อปัญหาของหมู่บ้าน เพื่อ ติดตามความก้าวหน้าของโครงการชุมชนน่าอยู่ รวมถึงปัญหาอุปสรรคและวางแผนเพื่อการแก้ไข ประชาชนมี ความสนใจที่จะลดขยะในชุมชน โดยการคัดแยกขยะในชีวิตประจำวัน นอกจากน้ันยังเกิดการถกเถียงกันถึง เร่ืองการคดั แยกขยะให้ถูกวิธีและมีผทู้ ่ีมีความตง้ั ใจทจี่ ะคดั แยกขยะอยา่ งต่อเน่ือง การประชุมตดิ ตามประเมนิ ผลเชิงผลลัพธ์ เปน็ การประชุมของสภาผูน้ ำชมุ ชน จัดมหกรรมลดขยะเพอ่ื ชุมชนน่าอยู่ ส่สู ุขภาพดี เป็นเวทแี ลกเปลย่ี นเรียนรู้ การจัดการขยะในชุมชนและการใช้ ประโยชนจ์ ากขยะ

Best Practice การขับเคลอ่ื นภาคีเครือขา่ ยชุมชนจติ อาสาสู่การเรียนรู้ท่ีย่งั ยนื ผลการดำเนินงานเปน็ ท่ปี ระจักษ์ จะเป็นผลการดำเนนิ งานท่ีเป็นประจักษ์ของชมุ ชนไดน้ ้อมนำพระราชดำรัส เรอื่ งการออม ซึ่งประชาชนทุกคนได้รว่ มแรงรวมใจ เสียสละเวลา ในการพฒั นาชุมชนด้วยจิตอาสา ศูนย์จัดการ กองทนุ ชุมชนบ้านท่ามด จนประสบความสำเรจ็ ในด้านการออม การลดหนี้ ปลดหน้ี ของคนในชมุ ชน เมื่อได้ เข้ารว่ มกองทุนแล้วสามารถ ลดหนี้ให้กบั ตนเองและครอบครวั ไดแ้ ลว้ จึงนำไปปฏิบตั ิในชวี ิตประจำวันทุกวนั ทำ ใหช้ ุมชนบ้านท่ามด ไดร้ ับรางวัลจากหนว่ ยงานเครอื ข่ายที่ร่วมจดั และสนบั สนนุ กิจกรรม ดงั น้ี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook