Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 0024

0024

Published by yleyle_2539, 2017-07-19 08:05:39

Description: 0024

Search

Read the Text Version

เสน่ห์ขนมไทย

1เสน่ห์ขนมไทย “ขนม” เป็ นของกินเลน่ ยามว่าง เป็ นอาหารเบา ๆ มีหลากหลายชนิด หลายรสชาติ หลายรูปแบบ ขนมมีอิทธิพลต่อการกินและชีวิตความเป็ นอยอู่ ย่างมาก คาวา่ “ขนม” มีใช้มาหลายร้อยปี ยากจะสนั นิฐานแน่นอนได้ เช่นเดียวกบั ไม่มีหลกั ฐานยืนยนั แนน่ อนวา่ \"ขนมไทย\" เกิดขนึ ้ มาตงั้ แตส่ มยั ใดเป็ นครัง้ แรก แตต่ ามประวตั ศิ าสตร์ไทยมหี ลกั ฐานตอนหนง่ึ วา่ มีการจารึกชื่อขนมในแท่งศิลาจารึก เป็ นการจารึกแบบลายแทงสมยั โบราณ ขนมที่ปรากฏคือ \" ไข่กบ นกปล่อย มะลิลอยอา้ ยตือ้ \" ผ้หู ลกั ผ้ใู หญ่คนโบราณ ได้อธิบายความหมายของขนมเหลา่ นไี ้ ว้วา่ ไขก่ บ หมายถงึ เมด็ แมงลกั ท่แี ช่นา้ จนโป่ งพองดคู ล้ายไข่กบ นกปลอ่ ย หมายถึง ลอดช่องไทย ทกี่ ดผา่ นตะแกรงรู หลดุ ลอดลงมาเป็ นตวั คล้ายกบั นกปลอ่ ยของเสยี มะลิลอย หมายถงึ ข้าวตอก ทเ่ี ป็ นแผน่ แบบสขี าว ดคู ล้ายมะลลิ อยนา้ อ้ายตอื ้ หมายถึง ข้าวเหนียวดานง่ึ สกุ ขนมทงั้ สช่ี นิดนี ้ใช้นา้ กระสายอย่างเดียวกนั คือ \"นา้ กะทิ\" เค่ียวกบั นา้ ตาลโตนด เวลาเสิร์ฟจะเสริ ์ฟเป็ นถ้วย ๆ แยกกนั 4 ชนิด ซงึ่ เราเรียกการเลยี ้ งขนม 4 อยา่ งนวี ้ า่ \"ประเพณีกนิ 4 ถ้วย\" “ขนมไทย” เป็ นขนมที่เกิดจากฝี มือล้วน ๆ เป็ นของหวานท่ีมกั ทาและรับประทานกนั ในครัวเรือน มีเอกลกั ษณ์ด้านวฒั นธรรมประจาชาติไทยคือ มีความละเอียดออ่ นประณีตในการเลือกสรรวตั ถดุ ิบ มีวิธีการทา ที่พิถีพิถนั รสชาติอร่อยหอมหวาน สสี นั สวยงาม รูปลกั ษณ์ชวนรับประทาน ตลอดจนกรรมวิธีการรับประทานที่ปราณีตบรรจงของขนมแตล่ ะชนิดซง่ึ ยงั แตกตา่ งกนั ไปตามลกั ษณะของขนมชนิดนนั้ ๆ ขนมไทยทว่ั ไปจะมีความหวานนา หรือมีความหวานจนรู้สกึ ในลนิ ้ ของผ้รู ับประทาน การทาขนมไทยเป็ นเรื่องทีต่ ้องศกึ ษาและฝึกฝน ต้องใช้ศิลปะ วทิ ยาศาสตร์ ความอดทน และความเป็ นระเบยี บความพิถีพิถนั ในการประกอบประเภทของขนมไทย : ขนมไทย คือ อาหารชนิดหนึ่งท่ีไม่ใช่กับข้าว แต่เป็ นอาหารที่รับประทานตามหลงั ของคาว เช่น ในอาหารมือ้กลางวนั มกี ๋วยเต๋ียวไก่เป็ นของคาว ผ้รู ับประทานอาจจะรับประทานทบั ทิมกรอบเป็ นของหวาน เป็ นต้น เม่อื บริโภคอาหารมือ้สาคญั ๆ เชน่ มือ้ เช้า มือ้ กลางวนั มือ้ เย็น ควรบริโภคทงั้ ของคาวและของหวาน สง่ิ ท่ีใช้เป็ นของหวานอาจเป็ นขนมหรือผลไม้ก็ได้ นอกจากจะรับประทานขนมหวานหลงั ของคาว เราอาจรับประทานขนมหรือของหวานในเวลาท่ีมิได้รับประทานอาหารคาว แตจ่ ะรับประทานขนมหรือของหวานเป็ นของวา่ ง ขนมไทยสามารถจดั แบง่ เป็ นชนดิ ตา่ ง ๆ ได้ตามลกั ษณะของเคร่ืองปรุงลกั ษณะกรรมวิธีในการทา และลกั ษณะการหงุ ต้ม คอื :1. ขนมประเภทเช่ือม : เป็ นการใสส่ ว่ นผสมลงในนา้ เช่ือมท่ีกาลงั เดือดจนสกุ เช่น กล้วยเชื่อม จาวตาลเชื่อม และขนมเชื่อมท่ีทาจากไข่ทงั้ หลาย เชน่ ทองหยิบ ทองหยอด ฝอยทอง ซึ่งเรามกั เรียกวา่ ขนมเคร่ืองทอง ขนมประเภทนี ้เป็ นขนมที่ทาจากไข่แดง แต่เดิมตารับขนมไทยมีวตั ถดุ ิบเพียง 3 อยา่ ง คือ แป้ ง นา้ ตาล และมะพร้าว ไมค่ ่อยมีการใช้ไข่เป็ นสว่ นผสมอาจเป็ นเพราะไขม่ ีกล่ินคาว มกั ใช้ทาอาหารคาวเป็ นกบั ข้าวมากกว่า แต่ท้าวทองกีบม้า ต้นเครื่องคนสาคญั ในรัชสมยั ของพระนารายณ์มหาราช เป็ นบุคคลสาคญั ที่มีบทบาทคิดค้นประยกุ ต์เอาขนมฝร่ังเข้ามาผสมผสานกบั เคร่ืองปรุงขนมไทยจนทาให้มีรสชาติ และหน้าตาทแี่ ตกตา่ งมากมาย เป็ นทีเ่ ลอื่ งช่ือตราบจนทกุ วนั นี ้

2ตวั อย่างขนมเช่ือม : จาวตาลเช่ือม (จาวตาลเช่อื ม) จงั หวดั เพชรบรุ ีได้ช่ือวา่ เป็ นจงั หวดั ท่ีมตี ้นตาลมากท่ีสุดในประเทศไทย ต้นตาลเมืองเพชร ให้ผลผลติ นา้ ตาลโตนดทด่ี ีท่ีสดุ จึงมชี ่ือเสียงตดิ ปากคนทว่ั ไปวา่ “นา้ ตาลเพชรบรุ ี” เพราะมีรสหวานหอมอร่อย มีรสชาติกลมกลอ่ มชวนรับประทานจนเป็ นท่ีมาของคาวา่ “หวานเหมือนนา้ ตาลเมอื งเพชร” \"จาวตาลเชื่อม\" เป็ นจาวตาล ในระยะทีส่ าม ซ่งึ เนอื ้ ในของจาวตาลจะแข็งซยุ คล้ายจาวมะพร้าว นามาเช่ือมจนนา้ ตาลแทรกเข้าไปในเนอื ้ ขนมชนดิ นไี ้ ด้รับความนยิ มมาก จึงมรี าคาสงู กวา่ ขนมเช่ือมอน่ื ๆ ตัวอย่างขนมเช่ือมท่ที าจากไข่ “ขนมฝอยทอง” (ขนมฝอยทอง) ฝอยทอง เป็ นขนมดงั้ เดิมของโปรตุเกส ลกั ษณะเป็ นเส้นฝอย ๆ สีทอง ทาจากไข่แดงของไข่เป็ ด เคี่ยวในนา้ เดือดและนา้ ตาลทราย ชาวโปรตเุ กสใช้รับประทานกบั ขนมปัง กบั อาหารมือ้ หลกั จาพวกเนือ้ สตั ว์ และใช้รับประทานกบั ขนมเค้กโดยมีกาเนดิ จากเมอื งอาไวโร่ (โปรตเุ กส: Aveiro) เมืองชายฝั่งทางทิศตะวนั ตกเฉียงเหนือของประเทศโปรตเุ กส2. ขนมประเภทต้ม น่ึง มูน : ขนมประเภทต้มจะใช้หม้อหรือกระทะต้มนา้ ให้เดือด ใสข่ นมลงไปต้มจนสกุ แล้วตกั ขึน้เช่น ขนมปลากริมไข่เต่า ขนมประเภทนึ่ง เช่น ขนมสายบวั ขนมชนั้ เป็ น การทาขนมให้สกุ โดยใช้ไอนา้ ด้วยการนาขนมที่ต้องการน่งึ ใสล่ งในลงั ถงึ ท่ีมีนา้ เดือด ปิ ดฝาลงั ถึงไมใ่ ห้ไอนา้ ออก สว่ นขนมประเภท มนู เป็ นการเอาสว่ นเนอื ้ ขนมผสมกบันา้ เชื่อมขณะที่สกุ รัอนใหม่ ๆ เพื่อให้สว่ นผสมเข้ากนั ปิ ดด้วยภาชนะให้ไอร้อนระอแุ ละสว่ นของเนือ้ ขนมดดู ซึมนา้ เชื่อมเข้าไว้จนแห้ง เชน่ ขนมขหี ้ นู เป็ นต้น

3 ตวั อย่างขนมประเภทต้ม : ขนมปลากริมไข่เต่า (ขนมปลากริมไข่เต่า) ขนมปลากริมไขเ่ ตา่ เป็ นขนมทแี่ ยกเป็ นสองหม้อ ปลากริมเป็ นชื่อของปลานา้ จดื มีหวั แหลม แป้ งขนมปลากริมจึงมีรูปร่างเป็ นเส้นยาว หวั ท้ายเรียว รสชาติของขนมปลากริมออกหวานและหอมนา้ ตาลโตนด ตวั สนี า้ ตาล มีช่ือเลน่ ที่ชาวบ้านเรียกวา่ “ตวั หวาน” สว่ นขนมไขเ่ ตา่ เลยี นแบบไขเ่ ตา่ นา้ จืด ตวั กลม ๆ แตป่ ัจจบุ นั ทาตวั แป้ งเหมือนกบั ปลากริม เพียงแตเ่ ป็ นตวั ขาว รสชาติเค็ม ๆ มนั ๆ ของกะทิ ชาวบ้านเรียก “ตวั เค็ม” เม่ือรับประทานจะได้ครบทกุ รสชาติ คือ รสกลมกลอ่ ม หวานมนั หอม และเค็ม ตัวอย่างขนมประเภทน่ึง : ขนมชัน้ (ขนมชนั้ ) ขนมชนั้ เป็ นขนมไทยโบราณที่ใช้ในงานพิธีมงคล โดยมีความเช่ือว่าจะต้องหยอดขนมให้ได้ 9 ชนั้ จึงจะเป็ นศิริมงคลเจริญก้าวหน้าแก่เจ้าภาพ ขนมชนั้ เป็ นขนมท่ีมีความน่มุ เหนียว หวาน มนั จะมีสว่ นผสมของ กะทิ นา้ ตาล และแป้ ง 3 – 4 ชนิด แล้วแตส่ ตู รและความชอบเนอื ้ ขนมในแตล่ ะแบบ ซง่ึ แป้ งแตล่ ะอย่างก็จะมคี ณุ สมบตั ทิ าให้ขนมมีเนอื ้ ตา่ งกนัโดย : - แป้ งมนั : จะทาให้เนอื ้ ขนมเนียน นมุ่ เหนยี ว หนดื ดใู สเป็ นมนั - แป้ งท้าวยายมอ่ ม : จะทาให้เนอื ้ ขนมเนียน เหนยี ว แขง็ แตจ่ ะใสน้อยกวา่ แป้ งมนั - แป้ งข้าวเจ้า : จะทาให้เนอื ้ ขนมแขง็ และอยตู่ วั - แป้ งถวั่ เขียว : จะทาให้ขนมอยตู่ วั ไมเ่ หนยี วมากเกินไป

4ตวั อย่างขนมประเภทมนู : ขนมขหี้ นูหรือขนมทราย (ขนมขหี้ นูหรือขนมทราย) ขนมขหี ้ นู ทาจากแป้ งข้าวเจ้า นวดกบั นา้ ลอยดอกไม้ท่ใี ห้ความหอม เชน่ ดอกมะลิ ดอกกระดงั งา เม่ือนวดแป้ งกบันา้ จนได้แป้ งที่เป็ นก้อนแล้ว นากระชอนหรือแร่งมาร่อนแป้ งบนผ้าทีป่ ไู ว้บนลงั ถงึ สาหรับน่ึง ร่อนแป้ งเสร็จก็นาแป้ งนนั้ ไปนง่ึ ให้สกุ พอแป้ งสกุ จงึ นาแป้ งนนั้ ไปมนู กบั นา้ เช่ือมท่ตี ้องเค่ียวให้เสร็จเสยี ก่อน ด้วยการเอานา้ เชื่อมเทใสแ่ ป้ งร้อน ๆ คนด้วยพายให้แป้ งเข้ากบั นา้ เช่ือม ปิ ดฝากะเวลาให้ได้ท่ีจึงเปิ ดฝาแล้วใช้พายคนตะลอ่ มให้ขนมที่มนู ไว้ ฟู เบา ถ้าต้องการให้ขนมมีสสี นัน่ารับประทาน ก็ใสส่ ีเล็กน้อยในนา้ เช่ือม เมื่อจะรับประทานให้โรยด้วยมะพร้าวขดู ขนมที่ดีจะต้องเป็ นเหมือนเม็ดทรายละเอยี ด ร่วนซยุ ไมจ่ บั เป็ นก้อน หวามเลก็ น้อย หอมชื่นใจเมอื่ รับประทาน3. ขนมประเภททอด : เป็ นการทาขนมให้สกุ ด้วยการนาขนมท่ีต้องการจะทอด ใสล่ งในกระทะที่มนี า้ มนั ตงั้ ไฟร้อน แล้วทอดจนขนมสกุ เหลอื งตามต้องการ เช่น ขนมกง ขนมสามเกลอ ตัวอย่างขนมประเภททอด # 1 : ขนมกง (ขนมกง) ขนมกง เป็ นขนมไทยโบราณ สมยั อยธุ ยาเรียก ขนมกงเกวียน เพราะมีรูปร่างเป็ นวงกลม ตรงกลางเป็ นกากบาทคล้ายล้อเกวียน นิยมใช้ในงานแตง่ งาน มคี วามหมายให้บ่าวสาวรักกันชวั่ นิรันดรดจุ กงเกวียนท่ีหมนุ ตอ่ เน่ืองไมจ่ บสนิ ้ การทาขนมกงแบบชาวบ้านจะใช้ถวั่ เขยี วคว่ั ทงั้ เปลือกจนเหลอื ง ป่ นให้ละเอยี ด นาไปต้มจนเป่ื อยแล้วใสน่ า้ ตาลปี๊ บ มะพร้าวขดูกวนในกระทะใบบวั จนเหนียวได้ท่ี พกั ไว้ให้เยน็ แล้วจงึ ปัน้ เป็ นเส้นกลม จบั ปลายชนกนั ให้เป็ นวงกลม แล้วปัน้ ไส้อีกสองเส้นวางพาดบนวงกลมให้เป็ นรูปกากบาท กดให้ปลายแต่ละมุมขึน้ เป็ นป่ ุม แล้วชุบแป้ งนาลงทอดในนา้ มนั แป้ งที่ใช้เป็ น

5แป้ งข้าวเหนยี วนวดกบั กะทิ ใสไ่ ข่ไก่ เกลือ และนา้ ปนู ใส ทางภาคใต้ ของประเทศไทย นาไปประกอบพิธีกรรมในประเพณีสารทเดอื นสบิ ตัวอย่างขนมประเภททอด # 2 : ขนมสามเกลอ (ขนมสามเกลอ) ขนมสามเกลอ ถกู จดั เป็ นขนมเสีย่ งทายในงานแตง่ งาน สว่ นผสมท่ีใช้ทาเหมือนกบั ขนมกง ตา่ งกนั เพียงใสง่ าขาวคว่ั เพ่ิมเติม ปัน้ เป็ นลกู กลม ๆ บีบติดแล้วชบุ แป้ งทอด ถ้าทอดแล้วติดกนั ทงั้ 3 ลกู ถือวา่ บา่ วสาวจะรักใคร่กลมเกลยี วกนั ดีหากติดกนั 2 ลกู แสดงว่าจะมีลกู ยากหรืออาจไม่มีเลย และหากหลดุ จากกนั หมดทงั้ 3 ลกู ทายวา่ ทงั้ ค่จู ะอย่กู นั ไม่ยง่ั ยืนหรือมีชีวิตสมรสทีไ่ มม่ คี วามสขุ บางทีชบุ แป้ งทอดถงึ 3-4 ครัง้ ก็ไมส่ าเร็จ ต้องเปลย่ี นคนทาใหม่ เรียกวา่ “หาหมอมาแก้”4. ขนมประเภท ปิ้ง ย่าง : เป็ นการทาให้สกุ โดยการวางขนมที่ต้องการปิ ง้ ไว้เหนือไฟ มีตะแกรงรองรับ ไฟไม่ต้องแรงนกักลบั ไปกลบั มาจนขนมสกุ อาหารบางชนดิ ใช้ใบตองหอ่ แล้วปิ ง้ จนใบตองท่หี อ่ เกรียมหรือกรอบ เชน่ ขนมจาก ข้าวเหนยี วปิ ง้ก่อนทีจ่ ะปิ ง้ ใช้ขเี ้ถ้ากลบไว้ เพื่อให้ไฟร้อนสมา่ เสมอกนั ตัวอย่างขนมประเภทปิ้ง ย่าง : ขนมจาก (ขนมจาก) ขนมจาก เป็ นขนมพนื ้ บ้านในยา่ นจงั หวดั สมทุ รปราการและบริเวณท่ีติดชายฝั่งทะเลอ่ืนๆ ทาด้วยแป้ งข้าวเหนียวสว่ นมากนิยมใช้ข้าวเหนียวดา มะพร้าวทึนทึกขดู หยาบๆ นา้ ตาลมะพร้าว และเกลอื เลก็ น้อย ที่เรียกว่าขนมจาก เพราะเป็ นขนมที่ห่อด้วยใบจากสด ที่ได้จากต้นจาก ซง่ึ เป็ นพืชในสกลุ วงศ์ปาล์ม ขนึ ้ เป็ นกออย่ตู ามป่ าชายเลนและบริเวณริมนา้ เค็มขนมนที ้ าให้สกุ ด้วยการยา่ งไฟคล้ายการเผาข้าวหลามแตใ่ ช้ความร้อนน้อยกวา่

65. ขนมประเภทกวน : ขนมไทยประเภทกวน โดยมากมสี ว่ นผสมของของเหลวผสมให้รวมเข้าเป็ นเนอื ้ เดียวกนั โดยมีเทคนคิ ในการกวนสว่ นผสมให้ไปในทศิ ทางเดียวกนั เพื่อให้สว่ นผสม ข้น เหนียวเร็ว ย่ิงกวนนาน ขนมยง่ิ เหนยี ว การกวนขนมที่ใช้แป้ ง ควรคนให้ทวั่ ถงึ ก้นกระทะ เพื่อไมใ่ ห้ติดก้นกระทะ จนแป้ งเร่ิมจบั ตวั ข้น หรือเร่ิมสกุ แป้ งจะจบั ตวั เป็ นก้อน มีความหนดื ต้องจบั พายไม้ในการกวนให้แนน่ การกวนขนมท่ีใช้พชื ท่นี ามากวนมหี ลายชนิด ถ้าเป็ นพชื เนอื ้ แนน่ เช่น เผอื ก ถวั่ เมลด็แห้ง ควรนง่ึ หรือต้มให้สกุ เสยี กอ่ น จึงบดให้ละเอยี ด แล้วกวนกบั นา้ กะทิ ให้เป็ นเนอื ้ เดยี วกนั ไมเ่ ป็ นก้อน จงึ ใสน่ า้ ตาล กวนให้ทวั่ ถึงก้นกระทะ ไม่หยดุ มือ จนกว่าขนมจะข้นและเหนียว ลกั ษณะท่ีดีของสว่ นผสมขนมไทยประเภทกวน คือ สว่ นผสมจะเป็ นก้อน มคี วามข้นเหนยี ว เกือบแห้ง ไมต่ ดิ ภาชนะ สามารถกดปัน้ เป็ นรูปร่างได้ โดยฉพาะการกวนผลไม้ เช่น ขนมลกู ชบุ ตวั อย่างขนมประเภทกวน : ขนมลกู ชุบ (ขนมลูกชุบ) ขนมลกู ชุบ เป็ นขนมไทยท่ีใช้ถ่ัวทองหรือถัว่ เขียวกะเทาะเปลือกแล้วต้ม นามาบดแล้วกวนกับกะทิจนเนือ้ เนียนละเอยี ดได้ท่ี นามาปัน้ เป็ นรูปทรงตา่ ง ๆ ของ ผกั ผลไม้ เชน่ พริก มะเขือมว่ ง มะยม มงั คดุ มะมว่ ง เป็ นต้น แล้วทาด้วยสผี สมอาหารให้เป็ นสีของผกั และผลไม้นนั้ ๆ สตี ้องเนียนเรียบเสมอกนั ทาแล้วสไี ม่สะดดุ เสยี บไม้ นาไปชบุ กบั ว้นุ ให้ ขนึ ้ เงางามทงิ ้ ให้แห้ง เสยี บก้นขนมด้วยใบแก้วทีน่ ามาตดั เจียนประดบั ให้สวยงาม การทาลกู ชบุ จะต้องใช้ศลิ ปะในการปัน้ ให้เหมือนของจริงเพียงแตย่ อ่ สว่ นให้เลก็ ลง เป็ นขนมทม่ี รี ูปลกั ษณ์ที่สวยงาม มีเสนห่ ์ และเป็ นทป่ี ระทบั ใจสาหรับผ้ทู ีเ่ ห็นครัง้ แรก โดยเฉพาะชาวตา่ งชาติ ปัจจบุ นั นหี ้ าทานขนมลกู ชบุ ทีอ่ ร่อยไมไ่ ด้งา่ ยนกั สรุป : ของหวานไทยหรือขนมไทย กลา่ วได้ว่ามีอยคู่ ่กู บั คนไทยมาช้านาน เพราะเป็ นวฒั นธรรมอย่างหนึ่งท่ีบง่ บอกว่า คนไทยเป็ นคนมีลกั ษณะนิสยั อย่างไร เน่ืองด้วยขนมไทยแต่ละชนิด ล้วนมีเสน่ห์ มีรสชาติที่แตกตา่ งกนั ออกไปแตแ่ ฝงไว้ด้วยความละเมียดละไม ความวิจิตรบรรจง ขนมไทยยงั สามารถสะท้อนให้เห็นวา่ คนทาเป็ นคนใจเย็น มีฝี มือเชิงศิลปะ จากขนมธรรมดาๆ ที่มีส่วนประกอบเพียงแป้ ง นา้ ตาล และมะพร้ าว สามารถดดั แปลงเป็ นขนมได้หลายชนิดหลายรสชาติ ในสมยั โบราณคนไทยจะทาขนมเฉพาะวาระที่สาคญั เท่านนั้ เป็ นต้นวา่ งานบญุ งานแต่งงาน งานเทศกาลตา่ ง ๆ หรืองานต้อนรับแขกคนสาคญั เพราะขนมบางชนดิ จาเป็ นต้องใช้ทงั้ กาลงั คน ทงั้ ต้องอาศยั เวลาในการทาพอสมควร

7แหล่งอ้างองิ“ขนมกง” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ขนมกง“ขนมขหี้ นู” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ขนมขหี ้ นู“ขนมจาก” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ขนมจาก“ขนมชนั้ ” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ขนมชนั้“ขนมไทย” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ขนมไทย“ขนมไทย 2” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://kanomthai.site90.com/Khanomthai2.html“ขนมไทยประเภทต่างๆ” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.isaansmile.com/kahnomthai/prapet1.phpขนมแม่เอ๊ย ตอน ประวัตขิ นมไทย” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://www.yes-iloveyou.com/smfboard/index.php? topic=3564.0. 2009.“ขนมลกู ชุบ ศิลปะการทาขนมของไทยหน่ึงในความภมู ใิ จ\" (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://gotoknow.org/blog/naree-food/209283. 2551.“ขนมสามเกลอ” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://th.wikipedia.org/wiki/ขนมสามเกลอ“ต้นตาลเมืองเพชรกบั แกงหัวตาล” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://www.oknation.net/blog/coolnews/ 2007/08/28/entry-1“ทาขนมลกู ชุบตารับชาววัง” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://atcloud.com/stories/62149“เทคนิคการทาขนมไทย” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://food-recipes.vzazaa.com/2009/article/บทความ/ เทคนิคการทาขนมไทย. 2009.“ประวัตขิ นมไทยและความสาคญั ของขนมไทย” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จากhttp://article.konmun.com/know155.htm“ประวัติขนมฝอยทอง” (ออนไลน์). เข้าถงึ ได้จาก: http://guru.google.co.th/guru/thread?tid=7f531e32c37c440f. 2553.เส้นทางขนมไทย : กาเนิดและวิวัฒนาการขนมไทยตงั้ แต่สมยั สุโขทยั จนถงึ ปัจจุบัน. กรุงเทพฯ : สานกั พมิ พ์ แสงแดด, 2553.หมายเหตุ : หนงั สอื เร่ือง “เส้นทางขนมไทย : กาเนิดและวิวฒั นาการขนมไทยตงั้ แตส่ มยั สโุ ขทยั จนถึงปัจจบุ นั ” มีบริการท่ี ศนู ย์วทิ ยบริการ ทา่ นสามารถติดตอ่ ยืมได้ตงั้ แตบ่ ดั นเี ้ป็ นต้นไป.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook