Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประวัติเจ้าแม่นางร่อนแร่

ประวัติเจ้าแม่นางร่อนแร่

Published by kunsupon9999, 2020-05-01 05:31:27

Description: ประวัติเจ้าแม่นางร่อนแร่

Search

Read the Text Version

คำนำ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอร่อนพบิ ลู ย์ โดยห้องสมุดประชาชนอาเภอร่อน พิบูลย์ ได้จัดทาเอกสาร “ประวัติแม่นางร่อนแร่” ขึ้นเพ่ือเป็นข้อมูลสาหรับคนรุ่นหลังได้ศึกษาเรียนรู้ประวัติศาสตร์ที่ เกี่ยวข้องกับอาเภอร่อนพิบูลย์ ประกอบด้วยห้องสมุดประชาชนอาเภอร่อนพิบูลย์เป็นแหล่งเรียนรู้ ที่ส่งเสริมและ สนบั สนนุ ด้านข้อมลู ให้กบั ชมุ ชน ประชาชนทกุ เพศ ทกุ วยั จึงได้รวบรวมจดั ทาเอกสารเล่มนี้ ศนู ยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อาเภอร่อนพบิ ูลย์ โดยหอ้ งสมุดประชาชนอาเภอ ร่อนพิบูลย์ ขอขอบคุณคุณวนิดา มณีฉาย ท่ีได้ให้ความอนุเคราะห์ข้อมูลอนั เป็นประโยชน์ ท้ังด้วยการให้สัมภาษณ์ และอนุเคราะห์เอกสารท่ีท่านได้รวบรวมไว้ ทาให้เอกสาร “ประวัติแม่นางร่อนแร่” ของห้องสมุดประชาชนอาเภอ รอ่ นพบิ ลู ย์ สมบูรณม์ มากย่ิงข้ึน (วา่ ที่ ร.ต.หญงิ กัญจน์ศภุ ร สายนา้ ) ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอาเภอรอ่ นพิบลู ย์

อำเภออำรเภอ่ นอพรอ่ิบนลู ยพ์ บิ ลู ย์ อาเภอร่อนพิบูลย์ตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ของจังหวัด มีอาณาเขตทิศเหนือติดกบอาเภอพระพรหม ทิศใต้ติดกับอาเภอ จุฬาภรณ์ ทิศตะวนั ออกตดิ กบั อาเภอเฉลมิ พระเกยี รติและอาเภอ เชียรใหญ่ และทางทิศตะวันตกติดกับอาเภอทุ่งส่ง ก่อนมาเป็นอาเภอ ร่อนพบิ ลู ย์ เคยมีฐานะเปน็ หมบู่ า้ น ช่ือ “บา้ นรอ่ น” เน่ืองจากราษฎรสว่ นใหญ่มีอาชีพรอ่ นแร่ ตอ่ มาไดย้ กฐานะเป็นตาบล ช่ือ “ท่ีรอ่ น” ครนั้ ถงึ พ.ศ. 2447 ไดรั บั การยกฐานะเป็น “แขวง” และเปล่ยี นมาเป็น “อาเภอ” ตามลาดบั

สาเหตุที่ได้ตั้งช่ืออาเภอนี้ว่า “ร่อนพิบูลย์” เน่ืองจากพน้ื ที่ของอาเภอน่ีมีสินแร่ท่ีสาคัญและอุดมสมบูรณ์อยู่หลายชนิด ได้แก่ วุลแฟรม ดีบุก ยิปซ่ัม พลวง แบไรต์ โดไลไมท์ ฟอตเฟต และ เฟสต์สาปาร์ เป็นต้น ชาวบ้านจึงพากันแสวงหาแร่เหล่าน้ีมาใช้ประโยชน์ โดยเฉพาะดีบุกและวุลแฟรม ซ่ึงเป็นสินแร่ท่ีมีค่าใน เชิงพาณิชย์และอุตสาหกรรม ซ่ึงสามารถส่งออกไปจาหน่ายในต่างประเทศได้ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนกลางเป็นต้นมา จงึ พากันประกอบอาชีพร่อนแร่กันอย่างกว้างขวาง ผู้คนต่างถิ่นจานวนมาท่ีรู้ข่าวก็เข้ามาจับ จองพนื้ ท่ที ามาหากินด้วยการร่อนแร่เป็นอาชีพหลัก เป็นสาเหตุให้ชุมชนบ้านร่อนแร่เติบโตอย่างรวดเร็ว เมื่อทางการจัดต้ังแขวงและอาเภอ ขน้ึ จงึ ต้งั ช่ือว่า “รอ่ นพิบลู ย”์ และใช้สบื มาถงึ ปัจจุบัน

เรอื่ งประวตั ิเจำ้ แมน่ ำงรอ่ นแร่ เจา้ แม่นางร่อนแร่ตามประวตั เิ ล่าเรื่องสบื ทอดตอ่ ๆกนั มา เจา้ แมน่ างรอ่ นแร่เปน็ บรวิ ารของพระแมเ่ ศรษฐีอาศัยสถิตอยู่ทเี่ ขารอ่ น ที่เขาร่อน มแี ร่เปน็ ทรัพยากรธรรมชาติอยเู่ ป็นจานวนมาก ประชาชนอาเภอรอ่ นพบิ ูลยส์ มยั ก่อนประกอบอาชีพทาเหมืองแรแ่ ละข้ึนไปบนเขารอ่ นหาแรม่ า ขายเป็นการประกอบอาชีพในชีวติ ประจาวันของคนอาเภอรอ่ นพบิ ลู ย์ ตอ่ มาเมอ่ื พ.ศ. ๒๕๐๗ ถงึ พ.ศ. ๒๕๑๐ นายอาเภอร่อนพิบูลย์ นายนอง ปานชู ได้มาเปน็ นายอาเภอรอ่ นพิบลู ย์ ท่านเห็น ความสาคญั ในการประกอบอาชพี ทาเหมอื งแรแ่ ละหาแรม่ าขายทารายไดใ้ หก้ ับประชาชนอาเภอรอ่ นพบิ ลู ยเ์ ป็นจานวนมาก

นายอาเภอนอง ปานชู ท่านไดอ้ ญั เชิญเจ้าแม่นางรอ่ นแรท่ ี่เปน็ เจ้าที่ของอาเภอรอ่ นพิบูลย์ สรา้ งเป็นรูปปนู ป้ันมีลกั ษณะดังน้ี เปน็ แบบนั่งอยใู่ นสระนา้ ผมยาวทหี่ ูทัดดอกยบี ีรา่ สีแดง หม่ ผ้าสไบ สีแดง นุ่งผา้ ถุงลายตาหมากรุกในมือถือเลยี งและมนี า้ หยดออกมาจาก เลยี ง (เลียงเป็นเครือ่ งมอื ไว้สาหรับร่อนแร่) ไดส้ รา้ งสระน้าและรปู ปัน้ เจ้าแมน่ างร่อนแรไ่ ว้ตรงกลางในสระนา้ ตรงบริเวณสีแ่ ยกอาเภอ ร่อนพิบูลย์ (ปจั จบุ ันนเ้ี ป็นทส่ี ร้างบา้ นและรา้ นขายยารอ่ นพบิ ลู ยเ์ วชภณั ฑ์) และไดท้ าพิธที างพระพุทธศาสนา และพธิ ีพราหมณบ์ วงสรวง บายศรี ขา้ วตอก ดอกไม้ กลว้ ย อ้อย ฯลฯ อัญเชิญเจา้ แมน่ างรอ่ นแร่จากเขารอ่ นมาสงิ สถิตให้อยู่ใน รูปปนั้ ทีเ่ ปน็ รา่ งของเจา้ แมน่ าง รอ่ นแร่ จดุ ประสงคข์ องนายอาเภอนอง ปานชู ท่ีสรา้ งเจา้ แมน่ าง รอ่ นแรไ่ วเ้ พ่ือเป็นสญั ลกั ษณข์ องคนอาเภอ รอ่ นพิบลู ยเ์ พราะเจา้ แม่ นางรอ่ นแรเ่ ป็นเจา้ ท่ีรอ่ นมานานแลว้ สมยั โบราณ ตอ่ มานายอาเภอนอง ปานชู ได้ย้ายไปเปน็ นายอาเภอท่ีอาเภออื่น นายอาเภอคนตอ่ มาไม่มีใครสนใจและให้ความสาคญั กบั เจา้ แม่ นางรอ่ นแร่ซ่ึงเป็นเจ้าทรี่ อ่ น

ตอ่ มาถงึ ยุคทาลายเจ้าแมน่ างรอ่ นแร่ ได้มีเจา้ หน้าท่ีแขวงการทางของอาเภอพบิ ูลย์พร้อมด้วยคนงานทุบรูปป้ันเจ้าแม่ร่อนแร่ ใส่ไว้ในสระและฝังดินปรับพื้นที่ให้เสมอตามท่ีแขวงการทางร่อนพิบูลย์ต้องการ (ปัจจุบันน้ีคนงานที่ทุบรูปป้ันเจ้าแม่นางร่อนแร่และ รว่ มกันฝัง ผลปรากฏวา่ เสียชวี ิตไปหมดแลว้ และครอบครวั อยู่ไมเ่ ป็นสุข) เม่ือร่างเจา้ แม่นางรอ่ นแร่ถูกฝัง ไดม้ ีเหตกุ ารณ์เกิดขึน้ กับประชาชนชาวอาเภอรอ่ นพิบูลยแ์ ละประชาชนท่ีขบั รถผ่านไป ผ่านมาบนถนนหนา้ ท่ีว่าการอาเภอรอ่ นพิบลู ยแ์ ละบริเวณส่ีแยกไฟแดงหนา้ สถานีตารวจภูธรร่อนพิบลู ยจ์ ะเกิดอบุ ตั ิเหตรุ ถชนคน ตายเป็นจานวนมากและรถจะขบั ไปชนบา้ นและรา้ นคา้ ชนประตหู นา้ บา้ นพกั นายอาเภอรอ่ นพิบลู ยด์ ว้ ยเป็นการสญู เสียทงั้ ชีวิต และทรพั ยส์ ินเป็นจานวนมาก

ต่อมาได้เกิดไฟไหม้ตลาดร่อนพิบูลย์ ประชาชนอาเภอร่อนพิบูลย์ได้สูญเสียทรัพย์สินคร้ังย่ิงใหญ่อกี ครั้ง เมื่อเกิดไฟไหม้ตลาด ร่อนพบิ ูลย์สร้างความสะเทือนใจให้กับประชาชนอาเภอร่อนพิบูลย์เป็นอย่างมากกับเหตุการณ์ที่เกิดไฟไหม้คร้ังยิ่งใหญ่ และคนเฒ่าคน แก่ไดพ้ ูดวิพากษว์ ิจารณ์ กนั ว่าอาเภอร่อนพิบูลยท์ ไ่ี ด้เกิดเหตุรา้ ยๆ ครัง้ นเ้ี พราะ ๑. ไมส่ นใจชาวแม่นางร่อนแรซ่ ึง่ เปน็ เจ้าท่รี ่อนพิบูลย์ จะทาอะไรๆไปอย่ตู รงไหน เจา้ ทม่ี ีความสาคัญและใหญก่ ว่าส่ิงอื่นใด ๒. ประชาชนชาวอาเภอร่อนพิบูลย์โดยเฉพาะประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตตลาดร่อนพิบูลย์ ไม่นับถือไม่บวงสรวงเทวดาเจ้าร่อนเจ้าตรังท่ี สิงสถิตอยู่ที่เขาร่อน สมัยก่อนประชาชนชาวอาเภอร่อนพิบูลย์ทุกๆปี จะมีพิธีบวงสรวงเทวดาเจ้าร่อนเจ้าตรังตามความเชื่อที่ว่าต่อๆ กันมา จะทาให้ประชาชนอยู่ดี มีความสุข มีเงิน มีทอง มีข้าว มีของ ครบบริบูรณ์พูนสุข ส่ิงศักด์ิสิทธ์ิของอาเภอร่อนพบิ ูลย์ที่ได้กล่าว มาขา้ งต้นถูกลืมไปแลว้ (ไดม้ าจาก คาบอกเลา่ จากคณุ แมล่ าดวน สุรภกั ดี ป้าลา้ น ) ตอ่ มา พ.ศ. ๒๕๕๔ นายอาเภอนฤนาท สุภัทรประทีป เจา้ แม่นางร่อนแร่ท่ีถูกฝังรา่ งอยู่ใต้ธรณีได้มาสื่อกับ นางวนิดา มณี ฉาย ใหช้ ว่ ยท่านในเร่อื งตอ่ ไปนี้ ๑. ทา่ นขอให้เอารา่ งทเ่ี ปน็ รปู ป้นั ฝงั ไว้ใต้ธรณขี ึน้ มาจากหลมุ ทอ่ี ย่ใู นสระ ท่านบอกว่าตอนนีร้ ้อนเหลอื เกิน ถา้ เอารา่ งที่เป็นรปู ปั้นขน้ึ มาได้ ดวงวญิ ญาณท่ีตายจากการถูกรถชนทกุ ๆดวงวญิ ญาณจะไดไ้ ปผดุ ไปเกิดหมด ถ้าไม่เอารา่ งที่ป้นั ข้ึนมาจากหลุมดวงวญิ ญาณทกุ ดวง วญิ ญาณทเี่ ปน็ บรวิ ารเจ้าแมน่ างรอ่ นแรท่ กุ ดวงวญิ ญาณจะไม่ไดไ้ ปผดุ ไปเกิดดว้ ย

๒. เม่ือเอารา่ งท่ีเป็นรูปปั้นฝังไวใ้ ตธ้ รณีขนึ้ มาแลว้ ให้ นางวนิดา มณีฉายสรา้ งศาลเพียงตาท่ีบรเิ วณส่แี ยกและใหท้ าพิธีอญั เชิญดวง วญิ ญาณของท่านมาสิงสถิตไวบ้ นศาลเพียงตาดว้ ย ทงั้ ๒ เรอ่ื ง ท่ีกลา่ วมาขา้ งตน้ นางวนิดา มณีฉาย ไมส่ ามารถท่ีจะขดุ เอารา่ งท่ีเป็นรูปปั้นขนึ้ มาจากใตธ้ รณีได้ เพราะเจา้ ของท่ีตรง นนั้ กาลงั ถมดนิ จะสรา้ บา้ น (ปัจจบุ นั เป็นรา้ นขายยารอ่ นพบิ ลู ยเ์ วชภณั ฑอ์ ยตู่ รงหวั มมุ ของถนน) นางวนิดา มณีฉาย เป็นทกุ ขใ์ จมากท่ีไม่ สามารถช่วยได้ ถา้ ช่วยไม่ไดเ้ หตรุ า้ ยๆจะตามมาเจา้ แมน่ างรอ่ นแรห่ ่มผา้ สไบสีแดง สีแดงแรงฤทธิ์ทา่ นดมุ าก ถา้ ไมด่ าเนินการชว่ ยท่าน เหตรุ า้ ยๆเรอ่ื งรา้ ยๆก็จะเกิดรถชนคนตายอีกต่อไป เม่ือ พ.ศ. ๒๕๔๔ นางวนิดา มณีฉาย ไปขอความช่วยเหลือจากนายอาเภอนฤนาท สภุ ทั รป่ ระทีป และเลา่ เรอ่ื งทงั้ หมดท่ี เก่ียวกบั แม่นางรอ่ นแรใ่ หท้ า่ นนายอาเภอฟังโดยละเอียด ท่านนายอาเภอรบั เรอ่ื งและดาเนินการใหต้ ่อไป ทา่ นใหค้ วามสาคญั กบั เรอ่ื ง แมน่ างรอ่ นแร่ และไดส้ รา้ งเจา้ แม่นางรอ่ นแรข่ นึ้ มาใหม่ เป็นรูปหลอ่ ทองเหลอื งนายช่างออกแบบรา่ งเจา้ แมน่ างรอ่ นแรช่ ่ือว่า นายสาเรงิ อินทรศิริ (ช่างแดง) เป็นลกู ศษิ ยว์ ดั วิเชียรรงั สฤษฎิ์ (หว้ ยรกั ษไ์ ม)้

เมอื่ สรา้ งรา่ งเจา้ แม่นางรอ่ นแรเ่ สร็จเรยี บร้อยแล้ว นายอาเภอนฤนาท สภุ ทั รประทีป พร้อมด้วยข้าราชการและประชาชน อาเภอรอ่ นพบิ ูลย์ ไดท้ าพธิ ีบวงสรวงมพี ธิ ที างพระพุทธศาสนาและพธิ พี ราหมณ์ อัญเชิญร่างท่ีเป็นรูปหล่อทองเหลืองมาประดิษฐ์ไว้ บนแท่นฐานรองรับรูปหล่อเจ้าแม่นางร่อนแร่ที่เป็นทองเหลืองไว้ท่ีตรงข้างหน้าท่ีว่าการอาเภอร่อนพบิ ูลย์ และได้ให้พราหมณ์ทาพิธี เชิญเจ้าแม่นางร่อนแร่ไปสิงสถิตที่ร่างรูปหล่อทองเหลืองท่ีสร้างขึ้นมาใหม่ เพ่อื เป็นสัญลักษณ์ของอาเภอร่อนพบิ ูลย์จนถึงปัจจุบันน้ี และขอให้บอกลูกหลานสืบทอดต่อๆกันไปว่า เจ้าที่เมืองร่อนพิบูลย์ คือเจ้าแม่นางร่อนแร่ ประดิษฐานอยู่ที่หน้าว่าการอาเภอ รอ่ นพบิ ลู ยป์ ัจจบุ ันนี้

กำรบชู ำเจำ้ แม่นำงรอ่ นแร่ (เป็นเชื่อควำมสว่ นบุคคล) ๑. ผา้ สไปสีแดง ,สีชมพู หรือตามศรัทธา ๒. เครอ่ื งประดบั เชน่ สร้อยคอ,สรอ้ ยมือ,ตุ้มหู ฯลฯ ๓. ใหต้ ิดทองในเลียง ๔. พวงมาลัยท้ังดอกไม้แหง้ และพวงมาลยั ดอกไมส้ ด ๕. บายศรเี ทพ ๑ คู่ ๖. เทยี น ๙ ธปู ๙ หมากพลู ๙ ดอกไม้ดาวเรือง บานไม่รู้โรย ๙ ดอก ๗. ผลไม้,น้า,น้าแดง,กล้วย,อ้อย,มะพร้าวอ่อน ฯลฯ ตา ศรทั ธา และอาหารหวานคาว ขอขอบคุณ คุณวนิดา มณีฉาย ผูอ้ านวยการโรงเรยี นร่อนพบิ ลู ยว์ ทิ ยา ผู้ใหข้ ้อมลู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook