Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ประเทศสวีเดน sweden

ประเทศสวีเดน sweden

Published by rattana.puw, 2019-01-30 00:01:09

Description: ประเทศสวีเดน sweden

Search

Read the Text Version

ประเทศสวีเดน sweden

ประวัติประเทศสวเี ดน สวเี ดน Sweden หรือชือ่ ทางการคอื ราชอาณาจกั รสวีเดน (อังกฤษ: Kingdom of Sweden; สวีเดน: Konungariket Sverige) เปน ประเทศกลมุ นอรดิกตั้งอยบู นคาบสมุทรสแกนดเิ นเวยี ในยุโรปเหนอื เขตแดนทางตะวันตกจรดประเทศนอรเวย ทางตะวันออกเฉยี งเหนอื จรดประเทศฟนแลนด และชอ งแคบ ส แกเกอรแ รก (Skagerrak) ทางตะวนั ตกเฉยี งใตจรดชองแคบแคทแี กต (Kattegat) และทางตะวันออกจรด ทะเลบอลติก และอา วบอทเนยี มกี รุงสต็อกโฮลม เปนเมืองหลวง ประเทศสวเี ดนมปี ระชากรท่เี บาบาง เวนแตในเขตเมอื งใหญ พืน้ ทส่ี วนใหญของประเทศประกอบดวยปาไม และภเู ขาสูง หลังจากสิน้ สุดยคุ ไวกิง สวเี ดนกลายเปนสวนหน่งึ ของสหภาพคาลมาร รว มกบั เดนมารก และนอรเวย (ในชว งเวลาน้ี ฟนแลนดเ ปน สว นหนง่ึ ของราชอาณาจักรสวเี ดน) สวีเดนไดออกจากสหภาพในชว งตน คริสตศ ตวรรษท่ี 16 และไดรบสูกบั ประเทศเพ่อื นบา นเปนเวลาหลายป โดยเฉพาะรสั เซีย และเดนมารก กบั นอรเวยท ย่ี ังเปน สหภาพอยู ซ่ึงไมย อมรับการที่สวีเดนออกจากสหภาพ ในครสิ ศตวรรษท่ี 17 สวีเดนได ขยายเขตดว ยสงครามและกลายเปนมหาอํานาจดว ยขนาด 2 เทาของปจ จุบัน ถึงพ.ศ. 2457 สวีเดนไดสญู เสียพ้ืนท่ีราชอาณาจกั รรวมถงึ ฟนแลนดท เี่ คยเปนสว นหนง่ึ ของราชอาณาจกั รสวเี ดน ตง้ั แตพ .ศ. 2457 นั้น สวีเดนอยใู นภาวะสันติ โดยทมี่ นี โยบายตา งประเทศทไ่ี มฝ กใฝฝ ายใดในชวงสันติและเปนกลางระหวาง สงคราม

การเมืองการปกครอง สวเี ดนมกี ารปกครองระบอบราชาธปิ ไตยภายใตรฐั ธรรมนญู โดยใชระบอบประชาธปิ ไตยแบบ ตัวแทน มรี ัฐสภา พระมหากษตั ริยส วเี ดนเปนประมขุ แหง รฐั ซ่ึงองคป จจบุ นั คือสมเดจ็ พระราชาธบิ ดคี ารล ที่ 16 กสุ ตาฟ พระ มหากษัตริยท รงเปนตัวแทนสงู สดุ ของประเทศ แตไมมอี าํ นาจทางการเมอื งใด ๆ รวมถึงไมจ ําเปนตอ งลง พระปรมาภไิ ธยในการตดั สินใจของรฐั สภาดว ย[3] จากการแกไขกฎการสืบราชสมบตั ใิ นป พ.ศ. 2522 ใหส ิทธเิ ทา เทียมกนั กบั รัชทายาทท้ังชายและหญงิ ทาํ ใหตําแหนงรชั ทายาทสูงสดุ ในปจ จุบนั เปนของเจา ฟาหญิงวิกตอเรยี ซ่ึงเสด็จพระราชสมภพในป พ.ศ. 2520 ประมขุ แหงรัฐ ตราแผนดิน

เศษฐกจิ เศรษฐกจิ สวีเดนเปน ประเทศทมี่ ีการพัฒนาดานอตุ สาหกรรมสงู มาก เกษตรกรรมทเ่ี คยเปน เศรษฐกจิ หลกั ของประเทศ มีการจา งงานนอ ยกวา รอ ยละสองของแรงงานทั้งหมดในปจ จบุ ัน อุตสาหกรรมดั้งเดมิ ที่สาํ คัญของสวีเดนไดแ ก การปา ไม เหล็ก และไฟฟาพลังนํ้า แตในปจจุบัน อุตสาหกรรมขัน้ สูงเชน รถยนตอ ากาศยาน อาวธุ และเวชภัณฑ เขา มามคี วามสาํ คัญตอเศรษฐกิจอยางมาก การที่สวีเดนมปี ระชากรไมส งู นกั ทําใหตลาดภายในประเทศจํากัด และตองพง่ึ พาการสงออก สวเี ดนจึงเปนแหลง กาํ เนดิ ของบรษิ ทั ท่ปี ระสบความสาํ เร็จในตลาดโลกจํานวนมาก เชน วอลโว ซาบ อีริกสสนั อีเล็กโทรลักซ เอชแอนดเอ็ม เปน ตน สวเี ดนไดรบั อนั ดับสามจากการจัดอันดบั ความสามารถในการแขง ขนั ของเวลิ ดอ ิโคโนมิกฟอรัมประจําป 2006/07สวเี ดนมกี ารเก็บภาษีในอัตราที่สงู เชนเดียวกับประเทศอน่ื ๆในภูมภิ าค และมสี หภาพแรงงานท่ีแข็งแกรง ธนาคารแหงชาติสวเี ดน Sveriges Riksbank เปน ธนาคารกลางทีเ่ กาแกทสี่ ุดในโลก กอตัง้ ในปพ .ศ. 2211โดย ปจจบุ นั ธนาคารใหค วามสําคัญกบั เสถยี รภาพของราคา มีเปาหมายเงนิ เฟอไมเ กนิ รอ ยละ 2 ปจ จบุ นั สวีเดนยงั คง ใชสกลุ เงนิ โครนาสวีเดน โดยในปพ .ศ. 2546 ไดม ีการลงประชามติเกยี่ วกับการใชคา เงินยโู ร ซ่ึงรอยละ 56 ลง คะแนนเสยี งไมเหน็ ดวย

ศาสนาและภาษา ศาสนา ในปพ.ศ. 2549 ชาวสวเี ดนประมาณ 6.9 ลา นคนเปนสมาชกิ ของคริสตจักรแหงสวเี ดน คิดเปน รอยละ 75 ของ ประชากรท้ังประเทศ โดยจาํ นวนสมาชิกลดลงเรอ่ื ยๆทกุ ป คริสตจักรแหง สวีเดนเปน โบสถนิกายลูเธอรัน นกิ าย โรมนั คาทอลกิ ในสวีเดนมสี มาชิกราว 80,500 คน นอกจากคริสตศ าสนาศาสนาอิสลามเปนศาสนาท่ีใหญเปนอัน ดบั สองของประเทศ จากการอพยพเขา จากการสํารวจ \"ยูโรบารอมิเตอร\" ในปพ.ศ. 2548 รอ ยละ 23 ตอบ แบบสอบถามวาเชอ่ื วาพระเจามีอยูจริง ภาษา ประเทศสวเี ดนมภี าษาทางการ โดยมภี าษาสวีเดนเปน ภาษาหลักของประเทศที่ประชากรสวนใหญพูด สวีเดนรบั รองภาษาของชนกลมุ นอ ยหาภาษา ไดแก ภาษาฟนแลนด เมแอนเกยี ลิ (Meänkieli) ภาษาซามิ ภาษา โรมานี และภาษายิดดิช ประเด็นเร่อื งการใหภ าษาสวเี ดนเปน ภาษาทางการถกู หยิบยกขึน้ มาในปพ.ศ. 2548 แต การลงคะแนนเสียงในรัฐสภาแพไ ป 145-147

เทศกาลสาํ คัญ เทศกาลสําคัญ: เทศกาลมากมายในสวเี ดนนนั เปนเทศกาลทจี ดั ขึนมาตามความเชือของศาสนาเเละวฒั นธรรมของชาวสวีเดนทีมีมาตังเเต่โบราณเเลว้ โดยหลายๆ เทศกาลนนั มีความคึกคักเปนอย่างยงิ เทศกาลอีสเตอร์ จดั ขึนในช่วงฤดูใบไม้ผลิ โดยเปนเทศกาลทกี ารระลกึ ถึงการสนิ พระชนม์และการกลบั คืนพระชนมข์ องพระเยซู โดยจะมีการเเตง่ กายกันเปนเเมม่ ดพร้อมกบั มไี ม้ กวาดเปนเครืองประดับ เเล้วออกไปเคาะประตเู พอื นบา้ น เเลว้ กล่าวประโยคเพอื ทีจะไดร้ ับขนมหวานเเละเหรียญเงนิ ต่างๆ เปนการตอบเเทน เทศกาลกองไฟ จัดขึนในวนั สดุ ทา้ ยของเดอื นเมษายน โดยจะเปนการฉลองเพอื ตอ้ นรับการมาของฤดูใบไมผ้ ลิ ซึงกิจกรรมทสี ําคัญกค็ อื การละเล่นตา่ งๆ รอบกองไฟขนาดใหญ่ โดยมที ังการเต้นราํ เเละรอ้ งรําทําเพลงต่างๆ ซงึ เปนเทศกาลทมี คี วามคึกคกั เเละสนกุ สนานเปนอยา่ งมากเลยทีเดยี ว เทศกาลวันชาตสิ วีเดน จะตรงกบั วันที 6 มิถนุ ายนของทุก ๆ ป โดยภายในงานนนั จะมกี จิ กรรมต่างๆ มากมายโดยมที งั การบรรเลงดนตร,ี การเตน้ รํา เเละการกล่าวสุนทรพจนป์ ลุกใจ ต่างๆ โดยบา้ นเรอื นทวั ไปจะมีการประดับธงชาตสิ วเี ดนกนั อย่างสวยงาม นบั ว่าเปนเทศกาลทีคกึ คกั เปนอย่างยงิ

อาหาร อาหารประจําชาตขิ องประเทศสวเี ดนคล้ายกบั อาหารของแถบสแกนดเิ นียเวยี เช่น ปลา (herring), ปลาเปรยี ว (pickled herring) และไข่ปลาคาเวียร์ แต่ทีขึนชือจรงิ ๆและไมค่ วรพลาดทีจะลิมรสก็คอื Swedish meatball หรอื ทเี รียกกนั วา่ Köttbullar น่าตากค็ ล้ายกับ ลกู ชนิ บา้ นเราแต่ลกู ชินของสวเี ดนจะเปนลูกชินทปี รุงรสแล้วมที ังเนือหมู, เนือไก่และเนือวัว รบั ประทานกับมนั ฝรัง ซอสและควบคู่ไปกับแยมผลไม้ แยมจะมีรสหวานทานงา่ ย คนสวเี ดนส่วนใหญ่จะทานเนือสตั ว์กับแยมผลไม้ เพอื เปนการเพิมรสชาติของอาหารและแกเ้ ลียนไปในตวั นอกจากอาหารคาวแลว้ กย็ งั มีเคก็ ทีขนึ ชืออีกดว้ ย ถา้ มีโอกาสไดม้ าสวีเดนลองชมิ เค็กทีมีชือวา่ พรินเสทเค็ก (Prinsesstårta)รสชาติอร่อยมากเลยทีเดยี ว

ภาษา ภาษา ประเทศสวเี ดนมภี าษาทางการ โดยมภี าษาสวเี ดนเปนภาษาหลักของประเทศทปี ระชากรสว่ น ใหญพ่ ดู สวีเดนรบั รองภาษาของชนกลมุ่ นอ้ ยห้าภาษา ไดแ้ ก่ ภาษาฟนแลนด์ เมแอนเกียลิ (Meänkieli) ภาษาซามิ ภาษาโรมานี และภาษายดิ ดชิ ประเดน็ เรอื งการให้ภาษาสวีเดนเปนภาษา ทางการถูกหยบิ ยกขนึ มาในปพ.ศ. 2548 แตก่ ารลงคะแนนเสยี งในรัฐสภาแพไ้ ป 145-147

ภมู อิ ากาศ ฤดกู าลในประเทศสวีเดนแบ่งไดช้ ดั เจนเปน 4 ฤดู (seasons) คอื ● ฤดูใบไม้ผลิ (Spring) เรมิ ประมาณเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม กนิ เวลาสนั มาก อากาศในฤดนู ีจะเปลยี นแปลง งา่ ย โดยปกตจิ ะมีฝนตกโปรยปรายและมแี สงแดด อณุ หภมู ริ ะหวา่ งกลางวันและกลางคืนจะคอ่ นข้างแตกตา่ งกนั มาก ประมาณ 5 ถงึ 15 องศาเซลเซียส ● ฤดูรอ้ น (Summer) เร่มิ ตังแตเ่ ดอื นมิถุนายนถึงเดอื นสงิ หาคม อากาศค่อนขา้ งอบอนุ่ อุณหภูมโิ ดยเฉลียอยู่ทีประมาณ 20 ถึง 25 องศาเซลเซียส ตอนกลางวันจะกนิ เวลายาวนานกว่าตอนกลางคนื มาก โดยเฉพาะพนื ทีตอนเหนือของประเทศ ถอื ได้วา่ เปนดินแดนแหง่ พระอาทติ ยเ์ ทยี งคืน (Land of the midnight sun) เพราะพระอาทิตย์ไมเ่ คยตกดินเลย ● ฤดูใบไมร้ ่วง (Fall/ Autumn) เริมจากเดือนกันยายนถึงเดอื นพฤศจกิ ายน อากาศคอ่ นข้างสดชืนมแี สงแดดอ่อนๆ ใน ตอนกลางวัน ส่วนตอนกลางคืนอากาศเย็นสบาย อุณหภมู อิ ยรู่ ะหวา่ ง 5 ถึง 18องศาเซลเซยี ส ● ฤดหู นาว (Winter) เปนชว่ งฤดกู าลทกี นิ เวลานานเรมิ ตังแตเ่ ดือนธันวาคมถงึ เดอื นมีนาคม อากาศหนาวและมีหมิ ะตก ตอนกลางวนั จะสนั สว่ นกลางคืนจะยาว อุณหภมู อิ ยรู่ ะหว่าง -4 ถงึ 2 องศาเซลเซยี ส (สาํ หรบั ตอนเหนือสุดของประเทศ ในช่วงฤดูหนาว อากาศจะหนาวจดั และกินเวลายาวนานมากประมาณ 8 เดอื น)

สถานทท่ี องเทย่ี วประเทศสวเี ดน Gamla Stan ในภาษาสวีเดน แปลว่า เมอื งเก่า ทนี ีมมี าตงั แต่สมยั เรมิ กอ่ ตังเมอื งสตอกโฮล์มนู่นนนนคะ่ เปนสว่ นทเี กา่ แก่และ ลํ า้ คา่ ทางประวัติศาสตร์มากทสี ดุ ในเมืองเลยทีเดยี ว เปนสถานทีตังของพระราชวงั หลวง และยงั คงกลนิ อายยอ้ นยคุ ของ ศตวรรษที 17 ผสมผสานกับความทันสมยั เขา้ ไว้ด้วยกนั ไดอ้ ย่างลงตัวคะ่ บรเิ วณแถบพระราชวงั มตี รอกซอกซอยต่างๆ เต็มไปด้วยร้านคา้ ทีมีให้เลอื กชมมากมาย เรียงรายไปดว้ ยร้านกาแฟและรา้ น หนงั สือ ให้เราได้เดนิ กันไมร่ ้เู บอื เลยละ่ คะ่ ทังยังไดเ้ ทยี วชมสิงปลูกสรา้ งบ้านเรอื นมคี วามสวยงามในรูปแบบสถาปตยกรรม แบบสวเี ดน อาคารบา้ นเรือนสมยั โบราณราวครสิ ตศ์ ตวรรษที 13 ซงึ ปจจบุ นั ยังคงรักษาสภาพอาคารบา้ นเรือนเกา่ แกท่ ไี ดอ้ ย่าง ดเี ยยี มจริงๆ เปนสถานทีเทยี วทมี ที งั พระราชวงั และสถาปตยกรรมย้อนยุคสวยๆ ให้เราไดถ้ า่ ยรปู กนั จนจใุ จ รวมไปถงึ แหลง่ ช้อปปงมากมาย ถอื เปนสถานทีโปรดของนกั ท่องเทยี วอกี แห่งหนึงเลยทเี ดยี วคา่

พธิ ีมอบรางวัลโนเบล ณ ศาลาวา การเมอื งสตอกโฮลม Stockholm City Hall ศาลาวา การเมืองสตอกโฮลม ในภาษาทองถิ่นเรยี กวา Stadshuset เปนสถานท่ที าํ งานของนกั การเมอื ง และขา ราชการจํานวนหน่งึ แตก็เปรยี บ เสมอื นพิพธิ ภัณฑแหง หนงึ่ ของเมืองสตอกโฮลมดวยนะคะ เพราะไดมกี ารจัดแสดงทงั้ ศิลปะและโบราณวตั ถุตา งๆ หลากหลายประเภทใหคนเขาชม เปน อาคารท่ีมคี วามสวยงามสะดดุ ตา ดว ยคุณลักษณะพิเศษของตวั อาคารท่กี อ สรางดวยอฐิ สแี ดง ดูมีมนตเ สนห  และทรงพลงั ซ่ึงเปนสญั ลักษณของ เกาะที่ยง่ิ ใหญ ทั้งววิ ทิวทัศน บรรยากาศโดยรอบยงั สวยงามไมแ พก นั ใชเ วลาสรางถงึ 12 ป ทส่ี าํ คญั ที่นีย่ งั ใชเปน สถานท่ใี นการมอบรางวัลโนเบล รางวัลอนั ทรงเกยี รติและทรงคณุ คา ของโลกอกี ดว ยคะ

เที่ยวพพิ ิธภัณฑวาซา Vasa Museum พิพิธภัณฑวาซา Vasa Museum, Stockholm สวีเดน เปน พพิ ธิ ภณั ฑท ่มี ชี อื่ เสยี งโดง ดงั มาก ตั้งอยูบน เกาะ Djurgarden ในเขต Ostermalm ของสตอกโฮลม เปน พพิ ิธภณั ฑเ รอื รบโบราณที่เปนทรัพยสมบตั ทิ ี่ โดดเดนและล้ําคา เปนอยา งมากคะ วาซา คือเรอื รบแหงราชอาณาจกั รสวเี ดน เปนเรือรบท่ียง่ิ ใหญส งา งามจริงๆ ประดบั ประดาดว ยรปู แกะสลักสมยั โบราณนบั รอ ยชิน้ วากนั วา ทํามาจากไมโ อก ทัง้ ลํา ทําใหเรือลํานี้ทรงอานภุ าพ นาเกรงขาม และมูลคา ลงทนุ แพงท่ีสุดในเวลาน้ัน ถูกสรา งขึน้ เพือ่ ใชใ นการทาํ สงคราม แตกลบั ยงั ไมมโี อกาสทจ่ี ะได ออกไปพบศัตรูเลยคะ ก็ไดจมลงสูกน ทะเลหลงั จากไดถกู ปลอยลงน้ําไดเพยี ง 30 นาทเี ทา นัน้ และถกู ทง้ิ ใหจมอยูใตท ะเลบอลตกิ นานถงึ 333 ปเลยทเี ดียว กอ นทจ่ี ะไดรบั การกขู ้ึนมาในศตวรรษท่ี 17 และถูกนํา มาตง้ั แสดงไวทพ่ี พิ ธิ ภณั ฑแหง นน้ี ่นั เองคะ เนอ่ื งจากสามารถรกั ษาโครงสรางและชิน้ สว นเดมิ ของเรอื ไวได กวา 95 เปอรเซน็ ตแ นะ

เท่ียวชมสถานีรถไฟใตด นิ สตอกโฮลม Stockholm Metroหนึง่ ในเมืองที่มสี ถานีรถไฟใตดินทีส่ วยท่ีสุดในโลก คอื กรุงสตอกโฮลม ประเทศสวเี ดนคา เสมอื นเปน พิพธิ ภัณฑศ ลิ ปะใตดินทใ่ี หญ และยาวทส่ี ุดในโลก เปดใหบรกิ ารในป ค.ศ. 1950 ปจ จุบนั มีจาํ นวน 100 สถานี โดยเปน สถานใี ตด ิน 47 สถานี และยกระดบั 53 สถานี มจี ํานวน 10 เสน ทาง จัดเปนกลุม สาย 3 กลมุ ไดแก กลุมสายสนี ํา้ เงนิ แดง และ เขียว มีระยะทางยาวกวา 110 กิโลเมตรเลยทีเดียว

ระบบการศกึ ษาของโรงเรียนในประเทศสวเี ดน บตุ รหลานของท่านสามารถเริมเข้าเรียนในชนั เตรยี มอนบุ าลไดต้ งั แต่อายุ หนึงป การเล่นถอื เปนสิงส.ําคัญสาํ หรับชนั เตรยี มอนบุ าล เมอื เดก็ อายไุ ด้ 6 ป พวกเขาสามารถเรมิ เรียนในชนั อนบุ าลได้ ทงั ชันเตรยี มอนบุ าลและชนั อนบุ าล ถอื เปนการเข้าเรยี นตามความสมคั รใจ เดก็ ทกุ คน จะต้องเขา้ เรียนในระดบั ประถมศกึ ษาและมัธยมศกึ ษาตอน ตน้ ตามกฎหมาย ซึงถือเปนการศกึ ษาภาค บงั คับ ตงั แตอ่ ายุ 7 ปขนึ ไป หนา้ ทใี นการเข้าชันเรยี นเรมิ ตงั แตร่ ะดบั เกรด 1 ถงึ เกรด 9 หรือหมายถงึ เปนเวลาเกา้ ป หลงั จากนี เด็ก หรอื วยั รุ่นส่วนใหญ่ จะเข้าเรยี นในระดบั มธั ยมศกึ ษา ตอนปลาย เปนเวลาสามป ทุกคนมีสิทธิในการ เรมิ เรยี นระดับชัน มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย จนถงึ อายุ 20 ป โรงเรียนระดับมธั ยมศกึ ษาตอน ปลาย สามารถช่วยเตรียม ความพร้อมในการเรียนระดับมหาวิทยาลัย และ วิทยาลยั หรอื เพอื เรมิ ใหท้ .ํางาน ประกอบอาชีพไดท้ นั ที

จัดทําโดย นางสาว รัตนนา ภูวนา ปวส.1/13 เลขท1ี 4 สาขาการบญั ชี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook