Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก

เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก

Published by alongkorn.arsa, 2020-10-20 04:20:16

Description: เหตุการณ์สำคัญที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก

Search

Read the Text Version

เหตุการณ์สำคัญทม่ี ีผลตอ่ การเปลย่ี นแปลงของโลก เหตุการณ์สำคัญที่มผี ลต่อการเปลี่ยนแปลงของโลก การปฏวิ ตั ิดาร์วนิ ชาลส์ ดาร์วิน (Charles Darwin) นักวิทยาศาสตรช์ าวอังกฤษในคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 เปน็ ผ้นู ำเสนอ “ทฤษฎี วิวฒั นาการของสิ่งมีชวี ติ ” ( Theory of Evolution ) ซ่ึงสาระสำคัญที่สรุปไดค้ ือ “การอยู่รอดของผทู้ ีเ่ หมาะสมที่สุด” 1. การปฏวิ ัติดารว์ ิน ผลจากการนำเสนอทฤษฎวี ิวฒั นาการของชาลส์ ดาร์วนิ คอื มผี นู้ ำทฤษฎขี องชาลส์ ดาร์วนิ ไปประยุกต์ใช้โดยอธบิ ายถึง ปรากฏการณต์ า่ งๆ ในสงั คมและแนวคดิ ในการจัดระเบียบสงั คมในขณะนน้ั ทำใหเ้ กิดการเปลี่ยนแปลงทางความคดิ ของผคู้ นและ สงั คมตะวนั ตกในช่วงปลายคริสตศ์ ตวรรษที่ 19 เป็นต้นมา เรียกวา่ “การปฏิวตั ิดารว์ ิน” 1.1 เกดิ แนวคดิ สงั คมแบบดาร์วนิ มีผ้นู ำทฤษฎีของดาร์วินไปใชอ้ ธิบายอา้ งอิงใหส้ อดคล้องกบั ระบบเศรษฐกิจหรือระบบ นายทุนและลทั ธิชาตินิยม กลา่ วโดยสรปุ คือ “ คนทแ่ี ขง็ แรงที่สุดหรือชาติที่เข้มแข็งท่สี ุดเทา่ นั้นจงึ จะอยู่รอดได้ “ ความเหลอื่ มลำ้ ทางสังคมของมนษุ ยจ์ ึงเป็นผลมาจากความสามารถทีแ่ ตกตา่ งกัน ซ่ึงเปน็ ไปตามกฎของธรรมชาติ 1.2 เกิดปฏกิ ริ ยิ าต่อต้านจากฝา่ ยคริสตจกั ร ทฤษฎีววิ ฒั นาการของดารว์ ินถูกพระสันตะปาปา ( Pope ) ประมุขของ ครสิ ตจกั รนิกายโรมันคาทอลกิ โจมตีอยา่ งรนุ แรง เพราะขดั ตอ่ หลักคำสอนในพระคัมภรี ์ที่ว่า พระเจ้าเปน็ ผู้สรา้ งโลก สร้างมนษุ ย์ และสรรพส่ิงท้งั มวล มนุษยม์ ิได้มีววิ ัฒนาการมาจากลงิ แต่อยา่ งใด แต่อย่างไรกต็ าม มีชาวครสิ ต์เปน็ จำนวนมาก ท้ังฝ่ายท่ีนับถอื นิกายโรมันคาทอลกิ และนกิ ายโปรเตสแตนตเ์ ชื่อถือในทฤษฎขี องดารว์ นิ 2. ผลกระทบของลัทธดิ ารว์ ินที่มีตอ่ โลก แนวความคิดของลทั ธดิ ารว์ นิ มผี ลกระทบทำใหโ้ ลกเกิดความเปลยี่ นแปลง ดังนี 2.1 เกิดแนวคิดในระบบธุรกิจการคา้ สมัยใหม่ของโลกทนุ นิยม คือ ระบบของธุรกจิ หรืออตุ สาหกรรมขนาดใหญเ่ ปน็ การ สะท้อนถงึ การอยู่รอดของผทู้ เ่ี หมาะสมทสี่ ุดตามกฎของธรรมชาติ ดังนน้ั จงึ เป็นความชอบธรรมท่ีจะตอ้ งแข่งขนั พฒั นาการผลติ ของตนใหเ้ หนือกวา่ คูแ่ ข่ง

2.2 เกิดการขยายตัวของลทั ธิจกั รวรรดินยิ ม มผี ู้นำทฤษฎขี องดารว์ นิ ไปขยายว่าคนผวิ ขาวเป็นชนชาติทเ่ี หนือกวา่ คนผิว ดำและคนผวิ เหลอื ง และนำไปอ้างวา่ เปน็ “ภาวะของคนผิวขาว” ซ่ึงมสี ทิ ธอิ ันชอบธรรมที่จะเขา้ ไปปกครองดนิ แดนท่ีล้าหลงั และ ด้อยความเจริญในทวีปแอฟริกาและเอเชีย เป็นผลใหช้ าติมหาอำนาจในยโุ รปแข่งขนั กนั ล่าอาณานิคมในชว่ งปลายคริสตศ์ ตวรรษ ที่ 19 เปน็ ตน้ มา 2.3 การฆา่ ลา้ งเผา่ พนั ธุ์ ความเชือ่ ทว่ี ่า ชนผิวขาวเป็นเผา่ พนั ธ์ุทีเ่ กดิ จากการเลือกสรรแล้วของธรรมชาติ ทำให้เกิดการ สังหารผ้คู นในดนิ แดนอาณานิคมตา่ ง ๆ รวมท้งั การฆ่าล้างเผ่าพนั ธช์ุ าวยวิ ในยุโรปเกือบ 6 ลา้ นคนในสมยั สงครามโลก ครง้ั ที่ 2 โดย อดอลฟ์ ฮิตเลอร์ (Adolf Hitler) ผนู้ ำเยอรมนั ในสมยั น้ัน 2.4 ความเจริญก้าวหนา้ ทางด้านชีววิทยา จากทฤษฎีวิวัฒนาการของสิง่ มีชีวิตของดาร์วนิ กระตนุ้ ใหน้ ักวทิ ยาศาสตร์ร่นุ หลงั ๆ ค้นคว้าทดลองจนเกดิ ความรใู้ หม่ ๆ ทางด้านชวี วทิ ยา ดังน้ี 2.4.1 ความรู้เรือ่ งพนั ธุกรรมโดยเกรเกอร์ (Greger Mendel) ชาวออสเตรยี ได้คน้ พบวิธถี ่ายทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม อย่างใดอยา่ งหนง่ึ ของสิ่งมีชวี ิตจากร่นุ หนง่ึ ไปยังอีกร่นุ หนงึ่ ซ่งึ นำไปใช้ประโยชนใ์ นการศึกษาเร่ืองการผสมพันธ์พุ ชื และพันธุส์ ัตว์ 2.4.2 การคน้ พบเรื่องดีเอนเอ (DNA) ซ่ึงเปน็ สารเคมที ี่พบในโครโมโซมท่เี ปน็ ส่วนหนึง่ ในนวิ เคลยี สของเซลล์ ทำหนา้ ท่ี สืบทอดลกั ษณะทางพันธุกรรมของส่ิงมชี ีวิตจากรุน่ หนึง่ ไปยังรุน่ ต่อไป 2.4.3 การตัดตอ่ DNA ระหว่างสง่ิ มชี ีวิตจำพวกเดยี วกนั หรือตา่ งจำพวก เรียกวา่ “วิศวพันธุกรรม” หรือ GMO ทำให้ได้ พชื หรือสตั ว์ตามลกั ษณะทีต่ ้องการ นับต้ังแตส่ งครามนโปเลยี นในยโุ รปสิ้นสุดลง ความสำเรจ็ และความก้าวหนา้ ทางสาขาวชิ าวทิ ยาศาสตรแ์ ขนงตา่ งๆ ได้ เกดิ ขึน้ อย่างรวดเรว็ จนทำให้ครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 ได้ชือ่ วา่ \"ยคุ ทองของวิทยาศาสตร\"์ ชาวยุโรปเกดิ ความเชื่อมั่นในการเรียนรู้ และแสวงหาความจริงมากข้นึ โดยเฉพาะการศึกษาทางวิทยาศาสตรท์ เ่ี ก่ียวข้องกบั ส่งิ มีชีวิตหรือชวี วิทยา หลงั จากที่ชาร์ลส์ ดารว์ นิ (Charles Darwin, ค.ศ. 1809 – 1882) นักวิทยาศาสตร์และนักธรรมชาตวิ ทิ ยาชาวองั กฤษ ไดน้ ำเสนอทฤษฎวี ิวัฒนาการของสิ่งมีชีวติ ตา่ งๆ และการอยรู่ อดของผู้ทเี่ หมาะสมท่สี ดุ (survival of the fittest) ทฤษฎขี องเขา ก็ถูกนักคิดตะวนั ตกแทบทุกสาขา รวมทั้งมนุษยศาสตรแ์ ละสงั คมศาสตร์ นำไปใช้อธบิ ายถึงปรากฏการณ์ตา่ งๆ ทางสงั คม ส่งผล ต่อแนวคิดในการจัดระเบียบสังคมในขณะน้นั และในอนาคต จนนำไปสกู่ ารเปลีย่ นแปลงทางความคดิ และสังคมครัง้ ใหญ่ที่ เรยี กวา่ “การปฏวิ ตั ดิ าร์วนิ ” ลัทธิดาร์วนิ (Darwinism) ความสนใจในดา้ นธรรมชาตวิ ิทยาและชีววทิ ยาของดาร์วินเกิดข้ึนเมื่อเขาได้มีโอกาสเดนิ ทาง รอบโลกกับเรือรบของอังกฤษเปน็ เวลา 5 ปี เพอ่ื ศึกษาธรรมชาติและทำการสำรวจทางวทิ ยาศาสตร์ ในปี ค.ศ. 1859 ดารว์ ินได้จัดพิมพห์ นังสอื ช่อื On the Origin of Species by Means of Natural Selection on the Preservation of Favoured Races in the Struggle for Life หรอื ต่อมาเรยี กสัน้ ๆ ว่า Origin of Species (กำเนดิ สรรพ ชวี ิต) ดาร์วินเสนอความเหน็ วา่ ในโลกของอนิ ทรยี วตั ถุ สัตวแ์ ละพืชท่ีมคี ุณสมบตั เิ หมาะสมกับธรรมชาติทีส่ ดุ เท่าน้ันจึงจะมีชีวิต รอดได้สง่ิ มีชวี ติ จำตอ้ งมวี วิ ฒั นาการหรอื การปรบั เปล่ยี นลักษณะบางประการให้มลี ักษณะพิเศษและสอดคลอ้ งกบั สภาพรอบตัว ใหม้ ากที่สุด ซึ่งก่อให้เกิดสิ่งมีชวี ติ ใหม่ๆ หลายชนดิ และผทู้ ีเ่ หมาะสม ท่ีสุดเท่านั้นที่จะสามารถเพ่ิมจำนวนมากข้ึน ซงึ่ กระบวนการ

น้ี ดาร์วินเรยี กว่า “การเลอื กสรรของธรรมชาติ” (natural selection) ซึ่งถือวา่ เป็นแก่นความคดิ หรือหวั ใจของลทั ธิดารว์ ิน ดงั นัน้ ในความคิดของดาร์วนิ บรรพบุรษุ ของสรรพชีวิต รวมทง้ั มนุษยด์ ้วย อาจมีเพียง 4 - 5 ชนดิ กอ่ นท่ีจะเกิดววิ ัฒนาการจาก สิง่ มชี วี ิตง่ายๆ ไปสู่สิ่งที่มชี ีวติ ซบั ซอ้ นและแตกแขนงต่อไป ในเวลาตอ่ มา หนังสือเร่ือง The Descent of Man ของเขาไดส้ รุปว่า บรรพบรุ ษุ ของมนษุ ยม์ ีเช้ือสายแยกมาจากสายพนั ธข์ุ องลงิ และมนษุ ย์กเ็ ปน็ วิวฒั นาการอันสมบรู ณ์ขั้นสุดท้ายในวิวฒั นาการของ สิ่งมชี วี ติ Origin of Species จดั ว่าเปน็ “หนังสอื ที่สร้างความสั่นสะเทือนแก่โลก” เลม่ หนง่ึ และมีความสำคญั ไม่ย่งิ หย่อนไปกว่า หนงั สอื The Mathematical Principles of Natural Knowledge (ค.ศ. 1687) และการค้นพบความโน้มถว่ งของเซอรไ์ อแซค นิวตนั ( ค.ศ. 1642 - 1727) ซงึ่ ถือวา่ เปน็ คมั ภรี ์ทางวทิ ยาศาสตร์ ลทั ธิดาร์วนิ กับครสิ ต์ศาสนา ในระยะแรกๆ ลทั ธิดาร์วนิ ถกู ตอ่ ตา้ นจากองค์กรครสิ ต์ศาสนาและผู้นับถือครสิ ต์ศาสนาส่วน หน่งึ เป็นอนั มาก เพราะแนวคดิ เรือ่ งวิวฒั นาการของดารว์ นิ ขัดแยง้ กับคัมภีร์ไบเบิลทกี่ ลา่ ววา่ พระผูเ้ ป็นเจา้ ทรงสร้างโลกและสรรพ สิ่งทั้งปวง ทั้งยังทรงสร้างมนุษยใ์ ห้มรี ูปลักษณ์ที่คล้ายคลึงกับพระองค์และมนุษย์ก็เป็นสิ่งสมบูรณ์ทุกประการ ไม่ใช่สืบสายพันธุ์ มาจากลงิ ทฤษฎวี ิวัฒนาการของดาร์วนิ จึงก่อให้เกิดความขัดแย้งอยา่ งรุนแรงทเี่ รยี กกนั ว่า “การทำสงครามของวิทยาศาสตร์กับ เทววิทยา” ใน ค.ศ. 1864 สันตะปาปาไพอัสท่ี 9 ทรงออกจุลสารชื่อว่า A Syllabus of the Principal Errors of Our Times สาปแช่งแนวคิดทางด้านการเมือง เศรษฐกิจและวิทยาศาสตร์ท่ีขัดต่อหลักปฏิบัติและความเชื่อที่มีมาแต่อดีต และยังทรง จัดการให้สภาคริสตจักรออกแถลงการณ์ว่าด้วย \"หลักการอันถูกต้องดีพร้อมของสันตะปาปา\" (Doctrine of Papal Infallibility) ที่ให้อำนาจสันตะปาปาอย่างกว้างขวางและเป็นทางการ โดยกำหนดว่าทุกอย่างที่สันตะปาปากระทำหรือมีพระ วาจาในเร่ืองเกยี่ วกับศรัทธาและศีลธรรมให้ถือว่าถูกต้องสูงสุด โดยปราศจากข้อโตแ้ ย้งใดๆ อย่างไรก็ดี แถลงการณ์ดังกล่าวกลับ ก่อใหเ้ กิดปฏกิ ิริยาจากคริสต์ศาสนกิ ชนทง้ั คาทอลิกและโปรเตสแตนต์ในอติ าลี ฝร่งั เศสและดนิ แดนเยอรมัน ซ่ึงส่วนใหญ่เป็นพวก เสรนี ิยมและชาตนิ ยิ มท่เี หน็ ว่าท่าทีและแนวคดิ ของสนั ตะปาปาแสดงถึงโลกทศั น์ที่คบั แคบและพยายามจะฟ้ืนฟูอำนาจของตนเอง ให้เหนือกว่าอำนาจของรัฐชาติ ต่อมาเมื่อสันตะปาปาลีโอที่ 13 ขึ้นสืบทอดตำแหน่ง สันตะปาปาก็เริ่มเปลี่ยนท่าทีเป็นการ ประนีประนอมมากขึ้น คริสต์ศาสนจักรโรมันคาทอลิกจึงยอมยุติการต่อต้านการค้นพบใหม่ๆ ทางวิทยาศาสตร์ที่ไม่ขัดกับ หลักการของคริสต์ศาสนา แต่สำหรับทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตของดาร์วินนั้น สันตะปาปายังทรงต่อต้านต่อไป อย่างไรก็ตามผู้นับถือคริสต์ศาสนานิกายคาทอลิกจำนวนมากก็พยายามหาหนทางเพื่อประนีประนอมความขัดแย้งระหว่าง วทิ ยาศาสตร์กับเทววิทยา จนก่อใหเ้ กดิ ความเชื่อในหม่ผู ู้นับถอื นกิ ายคาทอลิกวา่ พระเปน็ เจา้ ทรงสร้างจักรวาล แต่ก็ทรงปล่อยให้ จักรวาลวิวัฒนาการไปอย่างอิสระเหมือนกับที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบ ส่วนพวกโปรเตสแตนต์ที่แตกแยกกว่า 300 นิกายต่างก็มี คำตอบที่แตกต่างกัน บางพวกที่ยึดถือคัมภีร์ไบเบิลเป็นอำนาจสงู สุดไม่อาจประนปี ระนอมกับทฤษฎีวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ แต่บางกลุ่มที่เน้นเรื่องสิทธิเสรีภาพของปัจเจกชนและความสามารถของปัจเจกชนในการแสวงหาศรัทธาแล ะความสัมพันธ์กับ พระเปน็ เจ้าสามารถหาข้อสรปุ ระหว่างศรทั ธากบั เหตผุ ลไดใ้ นท่สี ุด แนวคิดสังคมแบบดาร์วนิ (Social Darwinism) ทฤษฎขี องดาร์วินไดถ้ กู นำไปใช้อธิบายปรากฏการณใ์ นศาสตรอ์ น่ื ๆ และสังคมด้วย เชน่ จิตวทิ ยา สงั คมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ เรยี กว่า แนวคดิ สังคมแบบดาร์วิน ซึ่งวอลเตอร์ แบเจต (Walther Bagehet) นายธนาคารและนักรัฐศาสตร์ชาวองั กฤษเป็นบุคคลแรกท่ีคิดคำน้ีข้ึนมาและปรากฏเป็นครัง้ แรกในงานเขียนของเขา เรอ่ื ง Physics and Politics : Thought on the Application of the Principles of Natural Selection and Inheritance to Political Science (ค.ศ. 1872)

สำหรบั แบเจต การดิ้นรนเพื่อการอยรู่ อดเป็นปรากฏการณ์ทเี่ กดิ ขน้ึ กับกลุ่มชนด้วย มใิ ช่แต่ปัจเจกชนเท่านัน้ ประชากรที่ ดน้ิ รนและได้รบั ชยั ชนะย่อมดีกวา่ ประชากรที่พา่ ยแพแ้ ละถูกทำให้สูญหายไป โดยนัยนี้ ชาตทิ ่เี ขม้ แขง็ เทา่ นั้นถงึ จะอยรู่ อดได้ แนวคิดสงั คมแบบดาร์วนิ ได้รับการตอบรับอยา่ งดีในวงการธรุ กจิ อตุ สาหกรรมทก่ี ำลงั ขยายตัวไปท่ัวยุโรปในขณะน้นั โดยเฉพาะ กลุ่มนายทนุ ทผ่ี ูกขาดการลงทุน ซ่ึงถือวา่ การดำเนนิ ธรุ กิจทเ่ี ต็มไปดว้ ยเล่หเ์ หล่ียมและการเอารดั เอาเปรยี บน้ันเป็นความชอบ ธรรม เพราะพวกเขากำลงั ต่อสู้เพ่อื ความอยูร่ อด และคนทแี่ ขง็ แรงท่สี ุดและเหมาะสมที่สุดเท่านน้ั ทจ่ี ะอยูร่ อดได้ ดังนนั้ ความ แตกต่างระหวา่ งคนมีกับคนจนหรอื ปญั หาความเหลื่อมลำ้ ในสังคมจงึ เป็นผลมาจากพลงั ความสามารถท่แี ตกตา่ งกันระหวา่ งชน ชัน้ ดงั กล่าว ซ่ึงเป็นผลมาจากการเลือกสรรของธรรมชาตดิ ้วย ส่วนผูท้ น่ี ิยมในลทั ธจิ ักรวรรดินิยม แนวคิดสังคมแบบดาร์วินไดถ้ ูกนำมาสรปุ เรื่องความเหนอื กว่าของคนขาวตอ่ คนผวิ ดำ และผวิ เหลอื ง ทำให้คนขาวมีสิทธอิ ันชอบธรรมและมหี นา้ ท่ีปกครองพวกทด่ี ้อยกว่าตน แนวคดิ นแี้ พร่หลายมากในองั กฤษ รวมทั้ง ในจักรวรรดิเยอรมัน และยังมีอทิ ธพิ ลต่อบรรดาผนู้ ำในประเทศต่างๆ อีกดว้ ย มีการอ้าง \"ภาระหนา้ ทีข่ องคนขาว\" (The White Man's Burden) ในการนำอารยธรรมทสี่ งู กว่าไปเผยแพร่ในดนิ แดนดอ้ ยอารยธรรม โดยไมต่ อ้ งสนใจประชาชนท่ีถูกคกุ คาม เพราะเปน็ การนำอารยธรรมอันสูงส่งไปมอบให้ นอกจากนี้ หลกั การของดารว์ ินเรื่องการอยู่รอดของผู้ที่เหมาะสมที่สดุ กม็ สี ่วนกระตนุ้ ใหม้ หาอำนาจยโุ รปแขง่ ขันกนั เอง เพ่ือขยายอิทธิพลและอำนาจของตนมากย่ิงขึ้น จนเกิดการแยง่ ชิงดนิ แดนในทวีปต่างๆ และก่อใหเ้ กิดความขดั แยง้ กันจน กลายเป็นสาเหตหุ น่ึงของสงครามโลก เรอ่ื งความเหนือกวา่ ของเผ่าพันธ์ทุ ่ีเกิดจาก \"การเลือกสรรของธรรมชาต\"ิ ของดาร์วินยงั กลายเป็นการสร้างความชอบ ธรรมใหแ้ กค่ นขาวในการทำสงครามและเขน่ ฆา่ คนสผี วิ อนื่ ๆ ในปลายครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 เป็นต้นมา ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครง้ั ใหญ่ ค.ศ. 1929 ภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ คร้ังใหญ่ ค.ศ. 1929 1. ความสำคัญของภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ ครง้ั ใหญ่ ค.ศ.1929 ภาวะเศรษฐกจิ ตกตำ่ คร้งั ใหญ่ ค.ศ. 1929 เกิดข้ึนในสหรฐั อเมริกาแต่มีผลกระทบต่อนานาประเทศทว่ั โลก และเป็น สาเหตปุ ระการหนงึ่ ของสงครามโลกครัง้ ที่ 2 เน่ืองจากชาติมหาอำนาจ เชน่ เยอรมนั อิตาลี และญปี่ ่นุ ใชว้ ธิ ีแก้ไขปัญหาโดยการ ขยาดดินแดนเพ่ือใช้เป็นแหลง่ ทรพั ยากร วตั ถุดบิ และฐานทางเศรษฐกิจของตน 2. สาเหตุของปัญหาวกิ ฤตกิ ารณท์ างเศรษฐกจิ ค.ศ. 1929

ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำคร้ังใหญ่ในสหรัฐอเมรกิ า เม่ือปี ค.ศ. 1929 มีสาเหตุ ดังนี้ 2.1 ปริมาณผลผลติ ทางการเกษตรมีมากเกดิ ความต้องการทำให้ราคาตกต่ำ และมูลคา่ การส่งออกก็ลดลงด้วย ใน ขณะเดยี วกันเกษตรกรประสบปัญหาขาดแคลนเงนิ ทุนและมภี าระหน้ีสินมาก 2.2 การขยายตวั ของการผลิตภาคอตุ สาหกรรมลดลง ทำให้สินค้าอุตสาหกรรมมีราคาสูงแตก่ ำลงั ซื้อของผ้บู ริโภคกลับมี น้อยสินคา้ จงึ เหลือล้นตลาด และเป็นสาเหตทุ ำให้กจิ การของธรุ กจิ ภาคอุตสาหกรรมต้องลม้ ละลาย 2.3 การชำระหนี้ค่าปฏิกรรมสงครามของประเทศผู้แพใ้ นสงครามโลกครั้งท่ี 1 โดยเฉพาะเยอรมนี ถูกบังคบั ให้ผ่อนชำระ เป็นรายปี (ปลี ะ 100 ลา้ นปอนด)์ เป็นสาเหตหุ นงึ่ ที่ทำให้เกิดภาวะเงนิ เฟ้อ และทำใหค้ ่าของเงนิ มารก์ ของเยอรมนีขาด เสถยี รภาพและมคี ่าลดตำ่ ลงจนเกิดวกิ ฤตทางเศรษฐกิจตามมา 2.4 การเกิดภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ ในสหรฐั อเมริกา มผี ลกระทบต่อประเทศต่าง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งอย่างมาก เช่น การนำเข้า สนิ คา้ จากตา่ งประเทศลดลง สนิ เชือ่ หรือเงนิ กู้ และเงนิ ลงทุนของสหรัฐฯในประเทศตา่ งๆ กล็ ดลงดว้ ย เป็นผลใหเ้ กดิ ภาวะ เศรษฐกจิ ตกต่ำในประเทศอืน่ ๆ ตามมา 3. ผลกระทบของวกิ ฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ค.ศ. 1929 ท่ีมีต่อโลก ภาวะวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ค.ศ. 1929 ทเ่ี กดิ ในสหรฐั อเมริกา ได้ส่งผลกระทบตอ่ ประเทศในภูมภิ าคตา่ ง ๆ ท่ัวโลก สรปุ เฉพาะท่ีสำคัญได้ ดังนี้ 3.1 ผลกระทบต่อประเทศต่าง ๆ ในยโุ รป เน่อื งจากสหรฐั อเมรกิ าเป็นตลาดสนิ ค้าขนาดใหญ่ของประเทศตา่ ง ๆ ในยโุ รป ลดลง และสหรัฐฯ ยงั ลดปริมาณเงนิ กู้และการลงทนุ ในยโุ รปลงอีกด้วย ทำให้เกดิ ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำในประเทศตา่ ง ๆ ของ ยุโรปตามมา 3.2 ผลกระทบต่อประเทศญป่ี ุ่น คอื ปริมาณและมูลคา่ การส่งออกสนิ คา้ ญ่ปึ ุ่นในตลาดโลก ลดลง อัตราการวา่ งงานจึงขยายตัวเพ่มิ สูงขึ้น และต้องประสบปัญหาขาดดุลการค้าอย่างหนัก ญี่ปุน่ จึงแกป้ ัญหาโดยการขยาย ดินแดนเข้ายดึ ครองแมนจูเรียของจนี ในปี ค.ศ.1931 3.3 ผลกระทบต่อประเทศไทย ภาวะเศรษฐกิจตกตำ่ ของโลก ปี ค.ศ. 1929 ตรงกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยหู่ วั รชั กาลที่ 7 ประเทศไทยต้องประสบปัญหาการขาดดุลการคา้ สินค้าออกของไทย เชน่ ขา้ ว ไมส้ กั และดีบกุ มีราคา ตกต่ำ ภาวะวิกฤตทางเศรษฐกจิ ดงั กล่าวเปน็ สาเหตุหนึ่งทีท่ ำใหเ้ กิดการปฏวิ ัติเปล่ียนแปลงการปกครอง เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475

การยกพลขน้ึ บกในวนั ดี เดย์ (D-Day) แผนที่การยกพลขน้ึ บกในวัน ดี เดย์ การยกพลขน้ึ บกของฝ่ายพันธมติ ร ทีห่ าดนอร์มงั ดี ของฝรัง่ เศสในวันที่ 6 มิถุนายน 1944 หรอื ทีเ่ รยี กวา่ วนั ดี เดย์ จะ เหน็ เมืองแชร์บูรกก์ (Cherbourg) อยูท่ างซ้ายมือของแผนท่ี ถดั มาคือหาดยูท่าห์ (Utah) โอมาฮา่ (Omaha) โกลด์ (Gold) จโู น (Juno) และซอรด์ (Sword) สแี ดงคือกำลังของฝ่ายเยอรมัน จะเห็นกำลงั ของกองพลยานเกราะท่ี 21 (21st Panzer Division) ต้ังอยูท่ างตอนใต้ของเมืองคานส์ (Caen) ถัดมาทางขวา จะเห็น กองพลยานเกราะ เอส เอส ที่ 12 ฮิตเลอรจ์ เู กน (12th SS. Panzer Division Hitler Jugend) ทางขวาลา่ งขงแผนที่จะเห็นกองทัพ บี ของจอมพล เออรว์ นิ รอมเมล ผรู้ ับผิดชอบกำแพงแอ ตแลนติค ตอ่ ต้านการยกพลข้ึนบกของฝ่ายพนั ธมิตร วันท่ี 6 มถิ นุ ายน 1944 ถือว่าเป็นวันดี เดย์ เปน็ วนั ท่ีฝา่ ยสมั พันธมติ รทุ่มกำลงั ยกพลข้ึนบก โจมตปี อ้ มปราการยุโรปของ ฮติ เลอร์ (Fortress Europe) ด้วยกำลงั มหาศาลเท่าทเ่ี คยมีมา เพ่ือเปิดสงครามดา้ นที่สองของเยอรมนั ซึ่งกำลังเผชิญกับรัสเซีย ทางด้านตะวนั ออก จรงิ ๆแลว้ เยอรมันนนั้ รู้ล่วงหน้ามาก่อนแล้ววา่ ฝา่ ยสัมพันธมิตร จะทำการยกพลข้ึนบกในฝรงั่ เศส แต่ไม่ทราบแน่ชัดว่า เปน็ ทใี่ ด เนื่องจากแนวชายทะเลของฝรัง่ เศสดา้ นท่ตี ิดกับอังกฤษน้ันยาวมาก ฮติ เลอร์และฝ่ายเสนาธกิ ารบางคนเชือ่ วา่ การยก พลขึน้ บกจะเกิดขน้ึ ท่ี เมอื งทา่ คาเลย่ ์ (Calais) ซึง่ อยูท่ างตอนเหนือและเปน็ สว่ นท่ีแคบทีส่ ุดระหวา่ งอังกฤษกบั ฝรงั่ เศส ในขณะที่ จอมพลเออร์วนิ รอมเมล (Erwin Rommel) ของนาซเี ยอรมัน ซง่ึ ได้รบั การแต่งตง้ั ให้เปน็ แม่ทพั กลุ่มบี ใน ประเทศฝรง่ั เศส เมอื่ เดือน พย. 1943 เช่ือว่าการยกพลขึน้ บกจะเกิดขึน้ ในบริเวณอืน่ เขาจงึ สั่งการให้สรา้ งสร้างป้อมและบังเกอร์ ขึ้นเรยี งรายตามแนวชายฝัง่ ฝร่งั เศส เพ่ิมจำนวนรังปืนกล เครอ่ื งยงิ ลูกระเบดิ หรือปืนครก บนหาดกม็ กี ารสรา้ งสง่ิ กดี ขวางสำหรบั เรือยกพลขน้ึ บก ทเ่ี รียกว่า เม่นทะเลและงาแซง บวกกับการติดทนุ่ ระเบิดและกับระเบดิ จำนวนมากเขา้ ไป แนวต้งั รับนี้มชี ่อื เรียกวา่ กำแพงแอตแลนตคิ (Atlantic Wall) รอมเมลเชือ่ ว่าชยั ชนะของการต่อตา้ นการยกพลขน้ึ บกจะอยทู่ ชี่ ายหาด ใครท่ียึดหาดได้จะเป็นผู้ชนะ แต่ฮติ เลอร์มองว่า หากการยกพลขึ้นบกเกิดขึน้ จริง การรบขัน้ แตกหกั จะอยบู่ นฝงั่ คือปลอ่ ยใหพ้ นั ธมิตรขนึ้ ฝั่งแล้วใชก้ ำลงั เขา้ บดขย้ี

ด้วยความเห็นที่แตกตา่ งกันนเ้ี อง ฮิตเลอรจ์ ึงส่งั การให้วางกำลังส่วนใหญ่ไว้ในแนวหลงั เน่อื งจากไม่มั่นใจวา่ การยกพลข้ึนบกจะ เกิดท่ใี ด เม่อื มีการยกพลขนึ้ บก ก็จะใช้กำลงั หลักท่ีอยู่สว่ นหลังนีเ้ ข้าเสริมกำลังท่ปี อ้ งกันชายหาด สว่ นรอมเมลตอ้ งการใหว้ าง กำลงั หลกั ตามแนวชายหาดเพ่ือสกดั ก้ันการยกพลข้ึนที่ชายหาดไดท้ ันทว่ งที แน่นอนฮิตเลอร์เป็นฝ่ายชนะในความคิดของเขา ฮิตเลอรแ์ ละนายพลรดุ ชเทด็ (Gerd Von Rundstedt) จึงดงึ กำลงั สำคัญ เช่น หนว่ ยยานเกราะ (Panzer) เกอื บทง้ั หมดไปอยู่ส่วนหลัง เหลือเพียงกองพลยานเกราะที่ 21 (21st Panzer Division) ใหร้ อมเมลบังคับบัญชาเพยี งกองพลยานเกราะเดียว นอกจากนร้ี อมเมลยงั มีกองพลทหารราบอกี 38 กองพล วางกำลงั อยู่ตัง้ แตเ่ มอื งทา่ คาเล่ย์ ของฝรั่งเศส ข้ึนเหนือไปถงึ ฮอลแลนด์ และเลยลงไปทางใตถ้ งึ ชายแดนสเปน จะเห็นวา่ แนวตงั้ รับของเยอรมนั มีระยะทางยาวมาก กำลงั ทหารเยอรมนั จงึ ดู ไมเ่ พียงพอต่อการต่อต้านการยกพลขน้ึ บก ในขณะเดียวกัน กำลงั ทางอากาศของเยอรมัน(Luftwaffe) ก็มเี ครื่องบินขบั ไล่เพียง 70 ลำ เคร่ืองบนิ ทงิ้ ระเบิด 90 ลำ และเคร่อื งบินอนื่ ๆ 160 ลำ น้อยเกนิ ไปทจี่ ะรับมอื กบั ฝูงบนิ พนั ธมติ รจำนวนมหาศาล กำลังของพนั ธมิตร ที่จะทำการยกพลขน้ึ บกนั้นประกอบด้วย กองพลทหารราบ 39 กองพล (สหรฐั 20 กองพล องั กฤษ 3 กองพล คานาดา 1 กองพล ฝรงั่ เศสอิสระ 1 กองพลและโปแลนด์ 1 กองพล) มเี ครื่องบินขบั ไล่ กว่า 5,000 ลำ เครื่องร่อน 2,600 ลำ เรอื รบและเรอื อ่ืนๆกว่า 6,000 ลำ จะเหน็ วา่ กำลังทหารราบของท้งั สองฝา่ ยใกลเ้ คยี งกันที่จำนวน แตเ่ ยอรมันกระจาย กันต้งั แตเ่ หนือจรดใต้ ในขณะท่พี นั ธมติ รทุ่มไปที่จดุ ๆ เดียว กองทัพนาซเี ยอรมนั เชือ่ ว่า การยกพลขน้ึ บกจะมขี ึน้ ในฤดรู ้อนของปี 1944 เพราะมีการเตรียมการขนานใหญท่ ี่สามารถ สงั เกตเุ ห็นได้ชัดในองั กฤษ ไม่ว่าจะเปน็ การระดมพลครงั้ ยิ่งใหญ่ การระดมเรือท้ังเรอื ยกพลข้ึนบก เรือลำเลียงขนาดใหญ่ เรือรบ นานาชนดิ แต่วันเวลาทแี่ นน่ อนนนั้ ก็ยังเปน็ ความลบั ท่ีดำมืด ฝา่ ยสมั พนั ธมิตรเองก็พยายามลวงใหเ้ ยอรมันมั่นใจวา่ การยกพลขนึ้ บกจะมีขึ้นท่ีคาเล่ย์ (Calais) สายลบั ของทงั้ สองฝ่าย ทำงานกนั อยา่ งหนัก สายลบั พนั ธมิตรพยายามปลอ่ ยขา่ วสถานท่ยี กพลขน้ึ บกหลายแหง่ จนสายลับเยอรมนั ในอังกฤษเกิดความ สับสน และแลว้ นายพลไอเซนฮาว (Eisenhower) ของสหรัฐอเมริกา ซึ่งเปน็ ผตู้ ดั สินใจวา่ การบุกจะเกดิ ขึ้นที่ใด และเมอ่ื ใด ก็ วางแผนทีจ่ ะเร่ิมการยกพลข้ึนบกในวันที่ 5-6-7 มิย. 1944 ในเวลารุ่งอรณุ แต่สภาพภูมิอากาศท่ีเลวรา้ ย คลน่ื ลมบริเวณชอ่ งแคบ อังกฤษแรงราวกับทะเลกำลังบา้ คลง่ั ทำให้การปฏิบตั ิการต้องเลอ่ื นออกไปอีก 24 ชว่ั โมง จนกระทั่งเช้าของวันท่ี 6 มิย. ไอเซนฮา วจึงตกลงใจท่จี ะเร่ิมการยกพลข้นึ บก ฝ่ายเยอรมันนัน้ ก็สบั สนกบั ขา่ วการยกพลขน้ึ บก ขา่ ววทิ ยจุ ากสถานวี ิทยุบี บี ซี ทีก่ ระจายเสยี งจากกรงุ ลอนดอนของ อังกฤษ สามารถรบั ฟังได้อยา่ งชัดเจนในฝร่งั เศส ซ่งึ มักจะส่งขา่ วใหพ้ วกใต้ดินในฝร่งั เศส ผ่านทางข้อความท่เี ปน็ รหสั ลบั ออกข่าว เปน็ เปน็ บทกววี า่ \"Chanson d'Automne\" ซึ่งเปน็ สญั ญานให้หน่วยใตด้ นิ ฝร่งั เศสทราบว่าการรกุ กำลังจะเกิดข้นึ เยอรมนั สามารถจับรหสั นไ้ี ด้ แต่สภาพอากาศทเ่ี ลวรา้ ย ทะเลที่มีแต่คลื่นลมแรง ทำใหเ้ ยอรมันตายใจ ไมค่ ิดวา่ การยกพล จะเกดิ ข้ึนในสภาพอากาศทเี่ ลวแบบน้ี จอมพลรอมเมลเอง กเ็ ดนิ ทางกลับเยอรมันเพื่อไปเย่ยี มภรรยาของเขา ไม่มใี ครคาดคดิ ว่า การยกพลขนึ้ บกที่ยงิ่ ใหญ๋ท่ีสดุ ในประวตั ศิ าสตร์สงครามสมัยใหม่กำลงั จะเกดิ ขึน้

และแล้วในคืนของวันท่ี 5 ต่อเชา้ มดื ของวันท่ี 6 มิย. พนั ธมิตรกไ็ ด้ทำแผนลวง เชน่ ส่งพลร่มลงท่หี มายอื่นๆ ในฝร่ังเศส มีการปฏบิ ตั กิ ารทางอากาศทีเ่ มอื งบูโลน (Boulogne) ในขณะเดยี วกนั กำลังของฝ่ายสัมพนั ธมติ รท้ังหมดก็ออกจากองั กฤษ มุ่ง หนา้ สนู่ อร์มงั ดี (Normandy) ท่ามกลางความมืดสนทิ พลร่มและเครื่องร่อนบรรทุกทหารราบของสหรัฐและองั กฤษ ร่อนลงใน ดินแดนส่วนหลังของแนวต้งั รับของเยอรมนั ตามชายหาด และในแผน่ ดินใหญ่ เพ่อื ป้องกันการเสริมกำลังของเยอรมัน หาดตา่ งๆ ถูกแบง่ ออกโดยใช้นามเรียกขานคือ ยูทา่ ห์ (Utah), โอมาฮ่า (Omaha), โกลด์ (Gold), จโู น (Juno), และ ซอรด์ (Sword) (ดูแผนที่การยกพลขึน้ บกท่ีนอร์มังดี) กองพลพลรม่ ที่ 6 ของอังกฤษบกุ ขึน้ บกทหี่ าดซอร์ด (Sword) และยึดได้อย่างงา่ ยดาย กองพลพลร่มหรือกองพลสง่ ทาง อากาศของสหรฐั ที่ 82 และ 101 อันเลือ่ งชอื่ บุกเข้ายึดหาดยูทา่ ห์ (Utah) แตไ่ ด้รบั การต้านทานจากเยอรมัน จงึ มีการสญู เสีย มากกว่าหาดของอังกฤษ เนอื่ งจากเยอรมันทราบถึงการเขา้ โจมตขี องทหารพลร่ม จึงต่อสู้อย่างทรหด แต่เนอื่ งจากการขาดการเตรยี มพรอ้ ม ทำใหเ้ ยอรมันต่อตา้ นได้ไมเ่ ตม็ ทเ่ี ทา่ ท่ีควรจะเปน็ กองพลทหารราบท่ี 4 ของ สหรัฐซ่งึ ยกพลขนึ้ บกทย่ี ูทา่ ห์ พรอ้ มท้ังรถถงั แบบ เอม็ 4 เชอร์แมน (M 4 Sherman) สามารถรุกเขา้ สมทบกับหนว่ ยพลร่มกอง พลท่ี 101 ไดใ้ นทสี่ ุด สถานการณ่ร์ ุนแรงทส่ี ุดนา่ จะเป็นท่หี าดโอมาฮา่ (Omaha) ซง่ึ กองพลทหารราบท่ี 1 (1st US Infantry Division) ของ สหรฐั ทีไ่ ดร้ ับการสนบั สนนุ ด้วยรถถังเพยี ง 5 ลำ ได้พบกับหน่วยทหารเยอรมนั ที่มปี ระสบการณ์จากกองพลที่ 352 แม้ปนื เรอื จะ ได้ระดมยิงหาดก่อนการยกพลขนึ้ บกอย่างหนัก แต่กำลงั ของเยอรมันส่วนใหญ่ ก็แทบไม่ไดร้ บั ความเสยี หายแต่อยา่ งใด ดงั นนั้ เม่ือฝ่ายอเมริกนั มาถึงหาดกพ็ บว่า พวกเขาถูกยิงตรงึ อยา่ งหนาแน่น ยอดผู้บาดเจ็บเสียชวี ิตเพมิ่ มากขนึ้ เรอ่ื ยๆ ความสูญเสยี มมี ากถึงขนาดนายพลโอมาร์ แบรดลี่ย์ (Omar Bradly) ของสหรัฐ ได้พจิ ารณาถึงการถอนตวั จากหาดโอมาฮ่า ก่อนที่มกี ารสูญเสยี มากกว่าที่เป็นอยู่ แตใ่ นท่สี ดุ เมื่อเวลา 1100 น. หาดโอมาฮา่ ก็ตกเปน็ ของอเมริกัน เยอรมนั ถูกกดดันใหถ้ อยร่นไปตั้งรับที่แนวถนนของ หาด ณ หาดจโู น กองพลทหารราบที่ 3 ของแคนาดา พบกับการตา้ นทานจากฝา่ ยเยอรมัน ท่ปี กั หลกั อยู่ตามท่ีม่ันทีแ่ ขง็ แรง ตาม แนวชายหาด แมว้ ่ารถถังของทหารแคนาดาจะไม่สามารถขึ้นฝ่งั ได้ เนอ่ื งจากคลน่ื ลมทีแ่ รงจดั ทหารแคนาดา ก็ต่อสอู้ ย่าง เดด็ เดย่ี วและกล้าหาญ โดยปราศจากการสนบั สนนุ ของอาวุธหนัก และสามารถรกุ คืบหน้าได้ถึง 11 กม.จากชายหาด ส่วนที่ หาด โกลด์ กองพลทหารราบท่ี 50 และกองพลนอ้ ยยานเกราะท่ี 8 ของกองทัพอังกฤษที่พร่ังพรอ้ มไปด้วยรถถัง และอาวธุ หนัก ไดบ้ กุ เขา้ โจมตีแนวต้านทานของเยอรมนั ตลอดแนวชายหาด การส้รู บท่ีหนักหนว่ งทส่ี ดุ เกิดขึ้นที่ หมบู่ ้าน Le Hamel ซ่ึงเปน็ หมบู่ า้ น เล็กๆ ทีส่ งบ ต้ังอยู่ตามแนวชายหาด ทหารเยอรมันสว่ นสมทบของกองพลท่ี 352 ได้ยดึ หมบู่ า้ นเอาไว้ และดดั แปลงให้เป็นปอ้ ม ปราการ มีการวางปนื ใหญข่ นาด 75 มม.จำนวนหนงึ่ เอาไว้ ซ่ึงสามารถยิงครอบคลุมได้ทวั่ ทัง้ หาด นอกจากน้ี ทหารเยอรมันยงั ไดน้ ำปนื กลหนกั ไปซ่มุ ไว้ตามอาคารตา่ งๆ พร้อมดว้ ยพลซุม่ ยิง การต้านทานดังกล่าว ทำให้ รถถงั ของทหารอังกฤษ 4 ใน 5 คนั ถกู ทำลายทันที ทถ่ี งึ หาดโกลด์ การต้านทานของเยอรมนั ไม่ใช่มีแคเ่ พยี งบนหาดเท่าน้ัน ทหาร เยอรมนั ยังวาง \"งาแซง\" ซึ่งทำจากทอ่ นเหลก็ รางรถไฟ ตดั เป็นท่อนแลว้ มาประกอบกนั เปน็ สามเหลีย่ ม ความสูงกวา่ 1 เมตร จำนวนมากกวา่ 2,500 อนั

เมือ่ นำ้ ขึ้น \"งาแซง\" น้ี จะมองไมเ่ หน็ เพราะถูกน้ำท่วม จนเกอื บมิด แตป่ ลายสามเหล่ียมท่โี ผลพ่ น้ นำ้ ขน้ึ มา ก็สามารถฉีกท้องเรือ ยกพลขน้ึ บก จนได้รบั ความเสียหาย ใชก้ ารไม่ได้ สว่ นหาดทรายก็มที ัง้ ลวดหนาม และกบั ระเบดิ จำนวนมากมาย อย่างไรก็ตาม ไม่วา่ ทหารเยอรมนั จะต้านทานอยา่ งเหนียวแน่นเพียงใด ทหารองั กฤษกต็ ่อสู้อย่างยนื หยัดนานกวา่ 8 ชม. โดยปราศจากอาวุธหนกั อยา่ งรถถงั การต่อส้ดู ุเดือดจนถึงข้ันประชดิ ตัว (hand to hand fighting) ในท่สี ดุ ทหารอังกฤษ ก็ สามารถรุกเข้าไปไดถ้ ึง 13 กม. จากหวั หาดโกลด์ สน้ิ สดุ วนั อนั ยาวนาน (the longest day) ฝ่ายสมั พนั ธมิตรกวา่ 150,000 คน ก็สามารถยึดครองพื้นที่กวา่ 200 ตารางกโิ ลเมตร ตามแนวหาดนอร์มังดีได้ สายน้ำแห่งสงครามได้มาถึงจดุ วกกลบั แล้ว นับจาก วันดี เดยเ์ ปน็ ตน้ ไป เยอรมันก็เร่ิมเปน็ ฝา่ ยถอย ชัยชนะทมี่ ีมาแต่ต้น กลายเปน็ ตำนานของอาณาจักรไรซ์ท่ี 3 ของฮติ เลอร์ การ เร่ิมต้นของการปลดปล่อย ฝรง่ั เศส กเ็ ร่ิมต้นขึน้ พร้อมๆกับการเรมิ่ ตน้ ของการลม่ สลายของระบอบนาซีในปี 19 ภาพถา่ ยขณะทหารอเมรกิ าลงจากเรือยกพลขึ้นบก เพือ่ เข้ายึดหาดนอรม์ งั ดี ในวนั ดี เดย์ บนหาดไกลๆ จะเห็นภาพ ความโกลาหล การกระจัดกระจายของทหารระลอกแรก บ่งบอกว่า เรือยกพลลำน้นี ่าจะเป็นระลอกที่สอง ท่สี ่งมาตามระลอก แรก โปรดสังเกตุหมอกควันหนาทบึ ทอ่ี ยหู่ ลงั ชายหาดลึกเข้าไป ซง่ึ เกิดจากจากการระดมยิงฝงั่ ของปนื เรอื ฝา่ ยสมั พนั ธมิตร จะ เห็นวา่ ระดมหนาแนน่ มากท้ังกระสนุ จรงิ และกระสุนควันเพื่อพรางการยกพลขึน้ บก ภาพนค้ี ือสัญลักษณ์ของกองพลท่ี 352 ของเยอรมันทีท่ ำหน้าที่ตรึงชายหาดนอร์มงั ดเี อาไว้อยา่ งเหนยี วแน่น แม้จะไม่ได้ เตรยี มการมาก่อน กองพลนี้ตั้งขึน้ ในเดือน พ.ย. 1943 รับผิดชอบพื้นท่ีนอร์มังดี เดิมสังกัดอยู่ในกองทัพกลมุ่ ดี ต่อมาในเดอื น พ.ค. 1941 จงึ เปลี่ยนสงั กัดกองทัพกลมุ่ บี ของนายพลเออรว์ นิ รอมเมล เจ้าของฉายา จ้ิงจอกทะเลทราย ผูร้ ับผิดชอบกำแพงแอ ตแลนตคิ

ภายหลังทสี่ ถาปนาความม่ันคงบนหาดนอร์มังดีแล้ว ทหารพันธมิตรกว่า 150,000 คนก็หลั่งไหลเขา้ สูห่ าด เพื่อ ปลดปล่อยฝรัง่ เศสเป็นเปา้ หมายตอ่ ไป บอลลนู ท่เี ห็นอยูด่ ้านหลงั จะเปน็ สงิ่ ขดั ขวางการโจมตรี ะยะตำ่ ของเครื่องบินเยอรมนั ที่ อาจมีต่อทหารพันธมติ ร ทหารอเมริกันอีกคนหนึง่ ทไ่ี ม่มโี อกาสไดเ้ หน็ ชัยชนะของสมั พันธมติ รเหนอื หาดนอรม์ ังดี เคร่อื งกีดขวางท่ีเหน็ อยดู่ ้านขา้ ง แสดงให้เห็นวา่ เมือ่ น้ำขึ้น จะขึ้นสงู มากจนท่วมเคร่ืองกดี ขวางน้ี ยอดของมนั ท่อี ยู่เรยี่ ผิวน้ำจะเปน็ ตวั สกดั เรือยกพลขนึ้ บกทแี่ ล่น เขา้ มา ส่วนเครื่องกดี ขวางที่เหน็ อยู่ด้านหลงั เรียกว่า รอมเมลแอสปาราคัส (Rommel's Asparacus) ทำจากเหลก็ รางรถไฟ หรอื เสาเหลก็ ทว่ั ๆไป จะมผี ลเมือ่ นำ้ ขน้ึ ไม่สงู นัก นอกจากนี้บางส่วนของเครอื่ งกีดขวางเหลา่ น้ี ยังผกู กับระเบิดเอาไว้อีกด้วย

ทหารอเมริกนั ไดร้ ับบาดเจบ็ ระหว่างการยกพลขึ้นบกในวันดี-เดย์ท่ีหาดโอมาฮ่า ความสูญเสยี ของอเมริกันทห่ี าดนี้มีมาก จนมีการพิจารณาถอนทหารออกจากหาด ทหารอังกฤษกำลงั ว่ิงขึ้นจากเรือยกพลข้นึ บก ในวันดี เดย์ ทา่ มกลางการระดมของฝา่ ยเยอรมัน ฝ่ายอังกฤษค่อนข้างโชค ดีกว่าทหารอเมรกิ นั มาก ที่การต้านทานมีน้อยกวา่ และการสูญเสยี ก็น้อยกวา่ ดว้ ยเชน่ กนั ความสญู เสียของฝ่ายพนั ธมติ รในวันดี เดย์ เป็นความสญู เสียท่ีคุ้มค่า เพราะนบั จากนี้ไป สงครามกำลงี เดินทางไปสู่จุดสิน้ สดุ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook