Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระบวนการที่สำคัญในระบบนิเวศ ตอนที่ 1 และตอนที่ 2

กระบวนการที่สำคัญในระบบนิเวศ ตอนที่ 1 และตอนที่ 2

Published by wavenonpang2, 2022-01-24 04:34:27

Description: กระบวนการที่สำคัญในระบบนิเวศ ตอนที่ 1 และตอนที่ 2

Search

Read the Text Version

กระบวนการทส่ี าคญั ในระบบนเิ วศ ตอนท่ี 1 และตอนท่ี 2 ระบบนเิ วศ(ecosystem) คือ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างกลมุ่ ส่ิงมชี วี ิตกบั สงิ่ แวดลอ้ ม โครงสร้างของระบบนิเวศ ระบบนเิ วศมีองคป์ ระกอบท่ีสาคญั 2 สว่ น คือ 1. องคป์ ระกอบทางชวี ภาพ (biological component) ไดแ้ ก่ สงิ่ มีชวี ติ ในระบบนเิ วศ เชน่ พืช สตั ว์ มนษุ ย์ เห็ด รา จลุ นิ ทรีย์ เป็นตน้ 2. องคป์ ระกอบทางกายภาพ (physical component) ไดแ้ ก่ สง่ิ ไม่มีชวี ติ ในระบบนิเวศ เช่น ดนิ นา้ แสง อณุ หภมู ิ เป็นตน้

โครงสรา้ งของส่งิ มีชวี ิตในระบบนิเวศแบง่ ออกเป็น 3 ระดบั (trophic levels) คอื 1. ผผู้ ลิต(producer) ไดแ้ กพ่ ืช สาหรา่ ย โปรโตซวั เช่น ยกู ลีน่า หรือเเบคทเี รียบางชนดิ โดยมีบทบาทในการนา พลงั งานจากแสงอาทิตยม์ ากระตนุ้ สารอนินทรียบ์ างชนดิ ใหอ้ ย่ใู นรูปของสารอาหาร 2. ผบู้ รโิ ภค(consumer) ไดแ้ ก่ สตั วท์ ่ดี ารงชวี ิตอยไู่ ดด้ ว้ ยการกนิ สิง่ มชี ีวิตอ่นื ไดแ้ ก่ - ผบู้ รโิ ภคพืช (herbivore หรือ primary consumer) เช่น ชา้ ง มา้ โค กระบอื กระต่าย เป็นตน้ - ผบู้ รโิ ภคสตั ว์ (carnivore หรือ secondary consumer) เช่น เสอื สิงโต เหย่ยี ว งู เป็นตน้ - ผบู้ รโิ ภคทงั้ สตั วท์ งั้ พืช (omnivore) เช่น คน ไก่ ลิง เป็นตน้ 3. ผยู้ ่อยสลายสารอนิ ทรีย(์ decomposer) ไดแ้ ก่ เหด็ รา แบคทเี รีย และจลุ ินทรียต์ ่างๆ ท่สี ามารถยอ่ ยสลาย ซากพชื ซากสตั ว์ หรือสารอินทรยี ์ ใหเ้ ป็นสารอนินทรียพ์ ืชสามารถนาไปใชป้ ระโยชนไ์ ด้ กระบวนการหลกั สองอย่างของระบบนเิ วศคอื การไหลของพลงั งานและการหมนุ เวียนของสารเคมี การไหลของ พลงั งาน (energy flow) เป็นการสง่ ผ่านของพลงั งานในองคป์ ระกอบของระบบนิเวศ สว่ นการหมนุ เวียนสารเคมี (chemical cycling) เป็นการใชป้ ระโยชนแ์ ละนากลบั มาใชใ้ หม่ของแรธ่ าตภุ ายในระบบนเิ วศ อาทิเชน่ คารบ์ อน และ ไนโตรเจน

พลงั งานท่สี ง่ มาถึงระบบนิเวศทงั้ หลายอย่ใู นรูปของแสงอาทิตย์ พชื และผผู้ ลิตอ่นื ๆจะทาการเปลีย่ นพลงั งาน แสงใหเ้ ป็นพลงั งานเคมใี นรูปของอาหารท่ใี หพ้ ลงั งานเชน่ แปง้ หรอื คารโ์ บไฮเดรต พลงั งานจะไหลต่อไปยงั สตั ว์ โดยการกินพืช และผผู้ ลิตอ่นื ๆ ผยู้ อ่ ยสลายสารท่สี าคญั ไดแ้ ก่ แบคทเี รียและฟังไจ (fungi)ในดนิ โดยไดร้ บั พลงั งานจากการย่อยสลายซากพืชและซากสตั วร์ วมทงั้ ส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ท่ีตายลงไป ในการใชพ้ ลงั งานเคมีเพ่อื ทางาน สงิ่ มชี ีวิตจะปลอ่ ยพลงั งานความรอ้ นไปสบู่ รเิ วณรอบๆตวั ดงั นนั้ พลงั งานความรอ้ นนจี้ งึ ไมห่ วนกลบั มา ในระบบนเิ วศไดอ้ ีก ในทางกลบั กนั การไหลของพลงั งานผ่านระบบนเิ วศ สารเคมีต่างๆสามารถนากลบั มาใชไ้ ด้ อกี ระหว่าง สงั คมของสงิ่ มีชีวติ และส่งิ แวดลอ้ มท่ีไม่มีชวี ติ พืชและผผู้ ลิตลว้ นตอ้ งการธาตคุ ารบ์ อน ไนโตรเจน และแรธ่ าตอุ ่นื ๆในรูปอนินทรียสารจากอากาศ และดนิ การสงั เคราะหด์ ว้ ยแสง(photosynthesis)ไดร้ วมเอาธาตเุ หลา่ นเี้ ขา้ ไวใ้ นสารประกอบอินทรยี ์ อาทเิ ช่น คารโ์ บไฮเดรต และโปรตนี สตั วต์ ่างๆไดร้ บั ธาตเุ หล่านโี้ ดยการกินสารอินทรีย์ เมแทบบอลซิ มึ (metabolism) ของทกุ ชวี ิตเปลย่ี นสารเคมีบางสว่ นกลบั ไปเป็นสารไม่มีชีวติ ในส่ิงแวดลอ้ มในรูปของสารอนินทรีย์ การหายใจ ระดบั เซลล(์ respiration) เป็นการทาใหโ้ มเลกลุ ของอนิ ทรยี สารแตกสลายออกเป็นคารบ์ อนไดออกไซด์ และนา้ การหมนุ เวียนของสารสาเรจ็ ลงไดด้ ว้ ยจลุ ินทรยี ท์ ่ีย่อยอนิ ทรียสารท่ีตายลงและของเสียเชน่ อจุ จาระ และเศษ ใบไม้ ผยู้ ่อยสลายเหลา่ นจี้ ะกกั เก็บเอาธาตตุ ่างๆไวใ้ นดิน ในนา้ และในอากาศ ในรูปของ สารอนนิ ทรีย์ ซ่งึ พชื และผผู้ ลิตสามารถนามาสรา้ งเป็นสารอนิ ทรยี ไ์ ดอ้ กี ครง้ั หมนุ เวียนกนั ไปเป็นวฏั จกั ร ความหลากหลายของระบบนิเวศ ระบบนเิ วศประกอบดว้ ยส่งิ มีชีวติ นานาชนดิ และรูปแบบต่างกนั ไมว่ า่ จะเป็นพชื สตั ว์ จลุ ินทรียท์ ่ีอยรู่ วมกนั บรเิ วณใดบรเิ วณหน่งึ โดยส่งิ มชี วี ิตเหลา่ นนั้ สามารถปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กบั สภาวะแวดลอ้ มรอบๆ ตวั ได้ การปรบั ตวั เปลย่ี นแปลงบางอยา่ งของสิ่งมีชวี ิตอาจเกิดขนึ้ ภายในหนึ่งช่วั อายุ หรือยาวนานหลายช่วั อายุ โดยผา่ นการ คดั เลือกตามธรรมชาติ ตามกระบวนการวิวฒั นาการ คณุ สมบตั ิ และความสามารถของสงิ่ มชี ีวติ สงิ่ มีชวี ิตและ สภาวะแวดลอ้ มต่างก็มีบทบาทรว่ มกนั และมปี ฏกิ รยิ าต่อกนั และกนั อยา่ งซบั ซอ้ นในระบบนิเวศท่สี มดลุ โครงสรา้ งและคณุ สมบตั ิของระบบนิเวศเป็นสง่ิ สาคญั ท่ีช่วยใหส้ งิ่ มีชีวิตชนิดต่างๆ รวมทงั้ มนษุ ยอ์ ย่รู ว่ มกนั ได้ อย่างสมดลุ เม่ือความเจรญิ และอารยธรรมของมนษุ ยไ์ ดม้ าถงึ จดุ สดุ ยอดและเร่มิ เสื่อมลงเพราะมนษุ ยเ์ ร่มิ ทา ลายสงิ่ มชี ีวติ ชนิดอ่ืน ท่เี คยช่วยเหลอื สนบั สนนุ ตนเองมาโดยตลอด ไม่วา่ จะเป็นดา้ นอาหาร ท่ีอย่อู าศยั เคร่อื งนงุ่ ห่ม ยารกั ษาโรค หรือการแสวงหาความสขุ และความบนั เทงิ บนความทกุ ข์ยากของสง่ิ มีชีวิตอ่นื จนทา ใหเ้ กิดการเสียสมดลุ ขอระบบนิเวศ ซง่ึ นาไปส่คู วามเสยี หายอย่างใหญ่หลวงของสรรพส่ิงทงั้ มวล

การท่สี ่งิ มีชวี ติ ชนดิ ตา่ งๆ ถูกทาลายสญู หายไปจากโลก จะเป็นปัจจยั สาคญั ท่ีชว่ ยเรง่ ใหอ้ ตั ราการสญู พนั ธุข์ อง สง่ิ มชี วี ติ นานาชนดิ ท่เี หลืออย่เู พมิ่ มากขึน้ เป็นทวคี ณู อนั เน่อื งมาจากการเสยี ดลุ ของระบบนเิ วศนนั้ เอง อตั รา การสญู พนั ธุอ์ าจแตกตา่ งกนั ไปในแต่ละระบบนิเวศ จะมีทางเป็นไปไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใดหรอื ไมท่ ่ีมนุษยจ์ ะ นาเอาความรูท้ างวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีมาใชใ้ นการปรบั ปรุง หาสง่ิ มีชวี ิตชนิดอ่ืนมาทดแทนสิ่งมชี วี ติ ท่ี สญู พนั ธุไ์ ป ทงั้ นีเ้ พราะการสญู เสียแหลง่ สะสมความแปรผนั ทางพนั ธกุ รรม อนั ถือว่าเป็นขมุ ทรพั ยล์ า้ ค่าของ ประชากรสงิ่ มีชวี ิตนนั้ จะเปฯ้ การสง่ เสรมิ ใหม้ กี ารทาลายความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศนนั้ ๆ มาก ขนึ้ โครงสรา้ งของระบบนเิ วศในแตล่ ะแหลง่ ของโลกมคี วามแตกตา่ งกนั โดยบางแห่งเป็นภเู ขา ท่รี าบ ทะเลทราย ทะเลสาบ และทะเล ทาใหเ้ กิดระบบนเิ วศท่หี ลากหลายบนโลก โดยระบบนิเวศทงั้ หมดนจี้ ดั เป็นระบบนิเวศ ขนาดใหญ่ ซ่งึ เรียกว่าชีวภาคหรอื โลกของสิ่งมีชวี ติ (biosphere) ระบบนเิ วศในนา้ แบ่งเป็นระบบนิเวศนา้ จืด และระบบนเิ วศนา้ ทะเล 1. ระบบนิเวศนา้ จืดแบง่ ออกเป็น 3 บรเิ วณ คอื บรเิ วณนา้ ตนื้ (littoral zone) บรเิ วณกลางนา้ (limnetic zone) และบรเิ วณใตน้ า้ (profundal zone) ซง่ึ แตล่ ะบรเิ วณมีแสงเป็นปัจจยั หลกั ท่ที าใหส้ ง่ิ มชี วี ิตมคี วามแตกต่างกนั 2. ระบบนิเวศนา้ ทะเลแบ่งออกเป็น 4 บรเิ วณ คือ บรเิ วณนา้ ขนึ้ -นา้ ลง บรเิ วณนา้ ตืน้ บรเิ วณขอบทวปี และ บรเิ วณใตม้ หาสมทุ รซ่งึ มดื มดิ โดยแตล่ ะบรเิ วณมแี สง อณุ หภมู ิ และความเค็ม เป็นปัจจยั ในการดารงชวี ติ ของสิง่ มชี ีวิต

การเปลยี่ นแปลงแทนที่ในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ มี2ลกั ษณะ 1.การเปล่ยี นแปลงแทนท่แี บบปฐมภมู ิ (primary succession) เรม่ิ จากบรเิ วณท่ปี ราศจากส่ิงมีชวี ติ มาก่อน เชน่ การเปล่ียนแปลงแทนท่ที ่เี กิดบนกอ้ นหินหรอื หนา้ ดินท่เี ปิดขนึ้ ใหม่ สงิ่ มชี วี ิตพวกไลเคนมอสลิเวอรเ์ วิรต์ เจรญิ ขึน้ เป็นกลมุ่ แรก (pioneer)(มกั จะเจอในขอ้ สอบ นะครบั )สิ่งมีชวี ิตพวกแรกตายทบั ถมเป็นชนั้ ดินบาง ๆ สง่ิ มชี ีวติ กลมุ่ ท่ี2พวก หญา้ วชั พืชเกดิ ขนึ้ มาและตายทบั ถมเป็นชนั้ ดินท่หี นาขนึ้ ความอดุ มสมบรู ณ์ ของดนิ ทาใหเ้ กิดไมล้ มลกุ ไมพ้ มุ่ และป่าไมใ้ นท่สี ดุ กลายเป็นสงั คม สมบรู ณแ์ ละมคี วามสมดลุ การเปลยี่ นแปลงแบบนใี้ ชเ้ วลานานมาก อยา่ งนอ้ ยหลายสบิ ปี การเปลี่ยนแปลงแทนท่ี แบบปฐมภมู ิอาจเกิดจากการ เปลี่ยนสภาพแวดลอ้ มหนง่ึ ไปเป็นอีกสภาพแวดลอ้ มหน่ึง เช่นการเปล่ียนแปลง แทนท่แี บบปฐมภมู ิในสระนา้ จน กลายเป็น พนื้ ดิน

2.การเปล่ียนแปลงแทนท่แี บบทตุ ิยภมู ิ (seccondary succession) เกดิ จากกลมุ่ ส่ิงมีชีวติ เดิมถกู ทาลาย แตย่ งั มีส่ิงมีชวี ติ บางชนิดและสารอินทรียท์ ่สี งิ่ มีชวี ิตตอ้ งการ เหลอื อย่เู ช่น การเปลย่ี นแปลงแทนท่ีในบรเิ วณท่ถี กู ไฟไหมบ้ รเิ วณท่ีถกู หกั ลา้ งถางพง ทาไรเ่ ลอ่ื นลอย แลว้ ปลอ่ ยใหร้ กรา้ ง ป่ าท่ถี กู ตดั โค่น สงั คมสิ่งมชี ีวิตนจี้ ะ รกั ษาสภาพเช่นนี้ ต่อไป ถา้ ไมม่ ีส่งิ รบกวน กระบวนการแทนท่จี ะเกิดขนึ้ ต่อเน่อื งจนถงึ ขนั้ สดุ ทา้ ยของกลมุ่ ส่ิงมีชีวิตการเปล่ยี นแปลงแบบนใี้ ชเ้ วลานอ้ ยกว่าแบบปฐมภมู ิ

สงั คมสิ่งมชี วี ิตขนึ้ สดุ สงั คมสง่ิ มีชวี ติ ขนั้ สดุ (climax community) หมายถึง สภาพของสิง่ มีชวี ิตท่ีอย่รู ว่ มกนั ในภาวะค่อนขา้ งสมดลุ ในระยะเวลาอนั ยาวนาน หากสงั คมสิง่ มีชวี ติ ขนั้ สดุ มีการเปล่ียนแปลงเกดิ ขึน้ จะทาใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลง แบบทุติยภมู ิ

ปัจจยั ท่ที าใหเ้ กิดสงั คมส่งิ มชี ีวติ ขนั้ สดุ เกิดจากการเปล่ียนแปลงแทนท่ี 1. การเปล่ียนแปลงทางธรณีเชน่ การเกิดธารนา้ แข็ง ภเู ขไฟ การเกิดแผ่นดินไหว 2. การเปล่ียนแปลงเน่ืองจากสภาพภมู อิ ากาศเชน่ นา้ ทว่ ม พายุ อากาศแหง้ แลง้ จนทาใหส้ ่ิงมีชีวติ เดิมท่มี ีอยู่ ตายไป เกดิ สิ่งมชี วี ิตใหม่ขึน้ มา 3. การเปลี่ยนแปลงเน่ืองจากโรคระบาดท่ที าใหส้ ง่ิ มชี ีวิตท่ีมีอยเู่ ดิมตายไปหมด 4. การเปลี่ยนแปลงเน่ืองจากการประทาของมนษุ ยเ์ ช่น การตดั ไมท้ าลายป่า การรบกวนสมดลุ ของระบบนเิ วศ โดยทาลายความหลากหลายของสงิ่ มีชวี ิตในระบบนิเวศ เป็นตน้ ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resource) การเรียนรูด้ า้ นทรพั ยากรธรรมชาติทรพั ยากรธรรมชาตเิ ป็นสิ่งท่สี าคญั เป็นตน้ ทนุ หรือวตั ถุดบิ ท่มี นษุ ยน์ ามาใช้ เพ่อื ความเจรญิ ทางเศรษฐกิจ ประเทศใดก็ตามท่ีอดุ มสมบรู ณไ์ ปดว้ ยทรพั ยากรธรรมชาติ ประเทศนนั้ จะมคี วาม ร่ารวยและมีความเจรญิ ทางดา้ นเศรษฐกจิ แต่เม่ือใดกต็ ามท่ีมนษุ ยน์ าทรพั ยากรธรรมชาตมิ าใชไ้ มถ่ กู วิธีกท็ าให้ ทรพั ยากรธรรมชาตบิ างชนดิ หมดสนิ้ ไปจากโลกนไี้ ด้ ดงั นนั้ จึงควรท่จี ะเรยี นรูถ้ ึงความสาคญั ของ ทรพั ยากรธรรมชาติ เรียนรูถ้ ึงประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติและเขา้ ใจถึงทรพั ยากรธรรมชาติเหลา่ นนั้ เพ่อื การ วางแผนการจดั การท่มี ีคณุ ภาพ

ความหมายและความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติ 1.ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ เกษม จนั ทรแ์ กว้ (2541,หนา้ 138)ใหค้ วามหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ (natural resources)ว่าหมายถึง“สงิ่ ต่าง ๆ ท่มี ีอย่ตู ามธรรมชาติ และใหป้ ระโยชนต์ ่อมนษุ ยไ์ มท่ างใดก็ทางหนึ่ง” ชยั ศรี ธาราสวสั ดพิ์ ิพฒั น์ (2548,หนา้ 92)ใหค้ วามหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ ว่าหมายถึง“สงิ่ ท่เี กิดขนึ้ เอง ตามธรรมชาติ มปี ระโยชนส์ ามารถสนองความตอ้ งการของมนษุ ยไ์ ดห้ รือมนษุ ยส์ ามารถนามาใชป้ ระโยชนไ์ ด้ เชน่ บรรยากาศ ดิน นา้ ป่ าไม้ ท่งุ หญา้ สตั วป์ ่ า แรธ่ าตพุ ลงั งาน รวมทงั้ กาลงั จากมนษุ ยด์ ว้ ย” จากความหมายท่ีกลา่ วมา สรุปไดว้ า่ ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นสว่ นหน่งึ ของสงิ่ แวดลอ้ ม เกดิ ขนึ้ เองตาม ธรรมชาติโดยท่มี นุษยไ์ ม่ไดส้ รา้ งขนึ้ และมปี ระโยชนต์ อ่ มนษุ ย”์ 2.ความสาคญั ของทรพั ยากรธรรมชาติ จากความหมายของทรพั ยากรธรรมชาติ จะเห็นไดว้ ่าสง่ิ ท่เี รียกว่า“ทรพั ยากรธรรมชาต”ิ นนั้ คอื สิง่ ท่เี ป็นประโยชน์ ต่อมนษุ ย์ ไมว่ ่าจะโดยทางตรงหรอื ทางออ้ ม และเป็นสิ่งท่ีเกดิ ขนึ้ เอง ดงั นนั้ ทรพั ยากรธรรมชาตจิ ึงมีความสาคญั ตอ่ มนษุ ยใ์ นดา้ นต่าง ๆ ดงั นี้ 1.)ทรพั ยากรธรรมชาติ เป็นแหลง่ ของปัจจยั ท่จี าเป็นตอ่ การดารงชีวิตของมนุษย์ คือ 1.1)เป็นแหลง่ ท่ีอย่อู าศยั เป็นแหลง่ วตั ถดุ ิบในการก่อสรา้ งท่ีอย่อู าศยั มนษุ ยน์ าไม้ หิน ทราย มาก่อสรา้ ง บา้ นเรือน สิ่งปลกู สรา้ งต่าง ๆ 1.2)เป็นแหลง่ อาหาร ไมว่ า่ จะเป็น พืช สตั ว์ 1.3)เป็นแหลง่ ท่ีมาเครื่องน่มุ หม่ ในอดีตมนษุ ยใ์ ชใ้ บไมเ้ ป็นเครอ่ื งปกปิดรา่ งกาย ในปัจจบุ นั นาเสน้ ใยจาก ธรรมชาติ เช่น เสน้ ใหม ฝา้ ย มาถกั ทอเป็นเสือ้ ผา้ ปกปิดรา่ งกาย

1.4)เป็นแหลง่ ท่ีมาของยารกั ษาโรค วิวฒั นาการจากการเก็บสว่ นตา่ ง ๆ ทงั้ ของพชื และสตั วม์ ารกั ษาโรค ท่รี ูจ้ กั กนั ในช่อื ของ“สมนุ ไพร”ตอ่ มาก็ไดใ้ ชเ้ ทคโนโลยที ่ที นั สมยั ขนึ้ มาเปลี่ยนสมนุ ไพรเป็นยาแผนปัจจบุ นั ในประเทศ ไทยมพี ชื ท่ีสามารถใชเ้ ป็นสมนุ ไพรรกั ษาโรคในทอ้ งถ่ินมากกว่า779ชนิด(สถานการณส์ ่ิงแวดลอ้ มไทย, 2543) 2.) เป็นปัจจยั ในการดารงชีวิตท่มี นษุ ยแ์ ละสงิ่ มชี ีวติ อ่นื ขาดไม่ได้ ไดแ้ ก่ อากาศ นา้ 3.) เป็นปัจจยั ท่สี าคญั ในการผลติ หรือเป็นวตั ถดุ ิบในกระบวนการผลติ ของอตุ สาหกรรม เชน่ การผลิตกระดาษ ตอ้ งใชเ้ ย่ือไม้ นา้ นา้ มนั เชือ้ เพลิง เป็นวตั ถดุ ิบ 4.) ความตอ้ งการใชท้ รพั ยากรธรรมชาติ บง่ ชีถ้ ึงความเจรญิ ทางเศรษฐกจิ และความเจรญิ ของสงั คมมนษุ ย์ 5.) มีความสาคญั ตอ่ เศรษฐกจิ ของประเทศทงั้ ทางตรง เช่น ทรพั ยากรพลงั งาน แร่ อญั มณีท่มี ีมลู ค่าทาง เศรษฐกิจ หรอื โดยทางออ้ ม เช่น เป็นสถานท่ที ่องเท่ยี ว พกั ผ่อนหย่อนใจ นารายไดจ้ ากการทอ่ งเท่ียวเขา้ สู่ ประเทศ 6.) มีความสาคญั ดา้ นวิชาการ ทางวิทยาศาสตรแ์ ละการแพทย์ 7.) มคี วามสาคญั ต่อการรกั ษาสมดลุ ของระบบนเิ วศ เน่ืองจากทรพั ยากรธรรมชาตเิ ป็นสว่ นหน่งึ ของระบบนิเวศ ทงั้ ระบบนเิ วศบนบก ระบบนิเวศทางนา้ เชน่ ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทป่าไมม้ ีประโยชนต์ ่อองคป์ ระกอบของ ผผู้ ลิตท่ตี อ้ งสรา้ งอาหารเลีย้ งสง่ิ มชี วี ิตบนโลกใบนี้ เป็นตน้ 8.) มีความสาคญั ต่อการหมนุ เวียน หรือวฏั จกั รของแรธ่ าตแุ ละสารอาหารในระบบนิเวศ

ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ ทรพั ยากร เป็น1ใน4ของมติ ิทางสงิ่ แวดลอ้ ม ทรพั ยากรแบ่งเป็นทรพั ยากรท่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติ ซ่งึ เรยี กวา่ “ทรพั ยากรธรรมชาต”ิ และทรพั ยากรท่มี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ แต่ในท่นี จี้ ะกลา่ วเฉพาะทรพั ยากรธรรมชาติเทา่ นนั้ ทรพั ยากรธรรมชาติมมี ากกมายหลายชนิด หลายประเภท สามารถแบ่งตามการนามาใชง้ าน ทรพั ยากรธรรมชาติ (Natural Resource)ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาติสามารถแบ่งตามการนามาใชง้ าน และผลท่ีเกดิ ขนึ้ ได3้ ประเภท ดงั นี้ 1.ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ใี ชแ้ ลว้ ไม่หมด ทรพั ยากรธรรมชาติท่ใี ชแ้ ลว้ ไม่หมดหรอื ไม่สญู หาย (inexhaustible natural resources) ทรพั ยากรธรรมชาติ ประเภทนี้ ไดแ้ ก่ บรรยากาศ นา้ ในวฎั จกั ร แสงอาทิตย์ เป็นตน้ ลกั ษณะของทรพั ยากรธรรมชาตใิ นประเภทนี้ แบง่ ไดเ้ ป็น2ชนิด ดงั นี้ 1.1บรรยากาศ (atmosphere)ในบรรยากาศประกอบไปดว้ ยอากาศซ่งึ เป็นสงิ่ จาเป็นสาหรบั มีชีวิต นอกจากนนั้ ยงั มคี วามชืน้ อณุ หภมู ิ และการเคลื่อนไหวของมวลอากาศ รวมเรยี กว่า“ภมู อิ ากาศ (climate)”ซง่ึ มคี วามสาคญั ต่อลกั ษณะของดิน พชื พนั ธุ์ และสภาพอ่นื ๆ ของสง่ิ มีชีวติ บนพนื้ ผวิ โลก ดงั นนั้ บรรยากาศจงึ เป็น ทรพั ยากรธรรมชาติท่มี ผี ลต่อทรพั ยากรธรรมชาตอิ ่ืน ๆ บรรยากาศจะหมนุ เวียนเปลยี่ นแปลงต่อเน่ืองกนั ไป อย่างไมม่ ีท่สี นิ้ สดุ จึงจดั บรรยากาศอยใู่ นทรพั ยากรธรรมชาติท่ใี ชไ้ ม่หมด

1.2นา้ ท่อี ย่ใู นวฎั จกั ร (water in cycle) นา้ ท่อี ย่ใู นวฎั จกั รจะหมนุ เวยี นเปล่ียนไปจากสภาพหน่งึ ไปเป็นอีกสภาพ หน่งึ เรอื่ ยไปโดยไมม่ สี ิน้ สดุ เช่น จากฝน หมิ ะ ลกู เห็บตกลงสพู่ นื้ ดนิ บางสว่ นระเหยกลบั ไปสบู่ รรยากาศ บางสว่ นไหลซมึ ลกึ ลงไปเป็นนา้ ใตด้ ิน บางสว่ นไหลไปตามพนื้ ผิวดินลงสแู่ ม่นา้ ลาคลองออกสทู่ ะเลมหาสมทุ ร และกลบั ระเหยกลายเป็นไอนา้ อยใู่ นบรรยากาศและจบั ตวั เป็นกอ้ นเมฆตกลงมาเป็นฝนอีกการหมนุ เวียนของ นา้ แบบนจี้ ึงไมม่ ีท่สี ิน้ สดุ มีอยตู่ ลอดไป 2.ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ที ดแทนได้ ทรพั ยากรธรรมชาติท่ที ดแทนไดห้ รือรกั ษาไวไ้ ด้ (replaceable and maintainable natural resources) แบง่ ได้ ดงั นี้

2.1นา้ ท่อี ยู่ ณ ท่ใี ดท่หี นงึ่ (water in place)หมายถึง นา้ ท่ีอย่ใู นท่เี ฉพาะแหง่ เช่น นา้ ในภาชนะ นา้ ในเข่ือน เม่ือ ใชไ่ ปเรอ่ื ย ๆ ปรมิ าณจะลดลง แต่จะมปี รมิ าณเพ่มิ ขึน้ ไดเ้ ม่ือเกดิ ฝนตกนา้ ท่ีอยู่ ณ ท่ใี ดท่หี น่ึงเม่อื ใชแ้ ลว้ กจ็ ะ หมดไป แต่สามารถท่จี ะหามาทดแทนใหมไ่ ด้ 2.2ดิน (soil)หมายถึง เนือ้ ดินท่เี ป็นท่ีอย่อู าศยั ของพชื เป็นแหลง่ สะสมแรธ่ าตอุ าหารท่ีจาเป็นสาหรบั พืช เพราะ เหตทุ ่อี าหาร เคร่ืองน่งุ ห่ม ท่ีอย่อู าศยั ยารกั ษาโรค สว่ นมากมาจากพชื ซง่ึ เจรญิ เติบโตมาจากดนิ หรอื ไดจ้ ากสตั ว์ ซง่ึ กนิ พชื ดนิ จึงเป็นส่งิ จาเป็นสาหรบั สิ่งมีชวี ิต แตด่ ินเกดิ ทดแทนตามธรรมชาตไิ ดช้ า้ มาก กว่าจะไดเ้ นอื้ ดินหนา 1นวิ้ ธรรมชาติตอ้ งใชเ้ วลาสรา้ งถึง 100ปี1,000ปี เป็นอยา่ งนอ้ ย อย่างไรก็ตามถึงดินจะเกิดไดช้ า้ แต่มนษุ ยก์ ็ สามารถดแู ลรกั ษาดินใหค้ งมีคณุ ภาพเหมือนเดิมไดโ้ ดยการใสป่ ๋ ยุ หรือการใชป้ ระโยชนจ์ ากดนิ อยา่ งถกู ตอ้ งตาม หลกั การอนรุ กั ษเ์ พราะฉะนนั้ ลกั ษณะสมบตั ิของดินในแงข่ องทรพั ยากรธรรมชาตแิ ลว้ จดั เป็นประเภทท่สี ามารถ รกั ษาใหค้ งอย่ไู ด(้ maintainable)มากกวา่ การเกิดขึน้ ทดแทน (replaceable) 2.3ป่าไม้ (forest)ทรพั ยากรป่าไมน้ บั วา่ มีความสาคญั มากในแงข่ องการอนรุ กั ษ์ดนิ นา้ และสตั วป์ ่ า ซ่งึ อานวย ประโยชนใ์ หม้ นษุ ยท์ งั้ ทางตรงและทางออ้ ม เน่ืองจากป่าไมส้ ามารถขนึ้ ทดแทนโดยธรรมชาติ หรือการปลกู ให้ เป็นป่ามาใหม่ได้ ป่าไมจ้ งึ ถกู จดั อย่ใู นทรพั ยากรธรรมชาติพวกท่เี กิดขึน้ ทดแทนและรกั ษาใหค้ งอยไู่ ด้ 2.4ท่งุ หญา้ (rangeland)หมายถึง พืน้ ท่ใี ดพนื้ ท่หี นงึ่ ท่ีสว่ นใหญ่มพี ชื วงศห์ ญา้ และพชื พนั ธุอ์ ่นื ๆ ขนึ้ อย่เู องตาม ธรรมชาติ มกั เป็นท่ที ่มี ฝี นตกนอ้ ย ใชเ้ ป็นท่หี ากินของสตั วเ์ ลยี้ งและสตั วป์ ่ าเป็นท่เี หมาะแก่การดาเนินการจดั การ โดยอาศยั พนื้ ฐานทางนิเวศวิทยามากกว่าพนื้ ฐานทางการเกษตร และใชป้ ระโยชนแ์ บบเอนกประสงคท์ ่งุ หญา้ เชน่ เดยี วกบั ป่ าไม้ จดั เป็นทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่เี กิดขนึ้ ทดแทน และรกั ษาใหค้ งอยไู่ ด้ 2.5สตั วป์ ่า (wildlife) 2.6ทรพั ยากรกาลงั งานมนุษย์ (human resources)กาลงั งานมนษุ ยจ์ ดั เป็นทรพั ยากรธรรมชาตปิ ระเภทหนงึ่ มนษุ ยเ์ ป็นส่ิงท่เี กิดขนึ้ เองตามธรรมชาติตามกฎของธรรมชาติมนษุ ยส์ ามารถใชป้ ระโยชนจ์ ากตนเองใหเ้ ป็น ประโยชนต์ ่อมนษุ ยช์ าติและตอ่ สงั คม โดยอาศยั กาลงั งานท่มี อี ยใู่ นตวั มนุษยแ์ ละกาลงั ท่ีว่านเี้ ป็นสิ่งท่เี กิดขนึ้ เอง ตามธรรมชาติ กาลงั งานมนุษยแ์ บ่งออกไดเ้ ป็น2ทางคือ กาลงั งานทางรา่ ยกายและกาลงั ทางจิต (body and spirit)กาลงั งานทางรา่ งกายไดแ้ ก่ความแข็งแรงของรา่ งกาย สว่ นกาลงั ทางจติ ไดแ้ ก่ การนกึ คดิ และการใช้ เหตผุ ล การจนิ ตนาการ ถา้ มนษุ ยม์ คี วามเป็นอยดู่ ี มกี ารศกึ ษา อนามยั ดี มีความรู้ ความชานาญและ ประกอบการงานอย่างมีประสิทธิภาพหรอื รูจ้ กั ใชท้ รพั ยากรอ่นื ๆ อย่างชาญฉลาดแลว้ ยอ่ มทาใหก้ าลงั งานท่ีตอ้ งสญู เปลา่ ลดนอ้ ยลงและสามารถใชก้ าลงั งานใหเ้ ป็นประโยชนแ์ ก่งานในทกุ ๆ ดา้ นไดอ้ ย่าง เต็มท่ี กาลงั งานมนษุ ยจ์ งึ เป็นทรพั ยากรท่ีควรจะไดม้ กี ารอนรุ กั ษแ์ ละจดั การใชป้ ระโยชนใ์ หเ้ หมาะสม

3.ทรพั ยากรธรรมชาติท่ใี ชแ้ ลว้ หมดไป ทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ีใชแ้ ลว้ หมดไป (exhaustible natural resources) ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทนี้ จาเป็นอยา่ งย่ิงท่ีตอ้ งศึกษาเพ่อื หาแนวทางในการอนรุ กั ษใ์ หส้ ามารถมีใชป้ ระโยชนไ์ ดน้ านท่สี ดุ ซง่ึ ทรพั ยากรธรรมชาติประเภทนี้ ไดแ้ ก่ 3.1 ทรพั ยากรแรธ่ าตุ 3.2 ทรพั ยากรพลงั งาน 3.3 ท่ดี ินในสภาพธรรมชาติ (land in natural condition)ไดแ้ ก่ สถานท่ใี ชศ้ กึ ษาธรรมชาติและสถานท่วี ิเวก หา่ งไกลผคู้ น (wilderness area)หากสถานท่เี หลา่ นถี้ กู ทาลายจะไม่สามารถสรา้ งมาทดแทนใหม่ได้ ประเทศท่ี เจรญิ มวี ฒั นธรรมสงู ย่งิ มีความจาเป็นในการท่จี ะรกั ษาสภาพธรรมชาตทิ ่ไี ม่เคยถกู รบกวนมาก่อนไวส้ าหรบั ศกึ ษาหาความรูต้ ามธรรมชาติ มีไวส้ าหรบั คณุ ค่าทางจิตใจ เป็นทรพั ยากรธรรมชาตทิ ่ไี ม่สามารถทาใหเ้ กิด ขนึ้ มาใหม่ไดเ้ พราะมีลกั ษณะสมบตั เิ ฉพาะตวั (unique)เช่น นา้ ตก หนา้ ผา จดุ เด่นตามธรรมชาตติ ่างๆ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook