Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือวิชาสังคมศึกษา ม ปลาย

หนังสือวิชาสังคมศึกษา ม ปลาย

Published by inake.ch, 2021-11-30 07:52:24

Description: หนังสือวิชาสังคมศึกษา ม ปลาย

Search

Read the Text Version

144 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหมสงผลใหประชาชนไทยมีความเปนอยูที่ดีข้ึนและยัง ชวยกระตุน ภาวะเศรษฐกจิ ของชาติใหดีข้ึนดวย ในรัชกาลปจจุบัน สมเด็จพระเจาอยูหัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร ทรงไดสานตอ พระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภมู พิ ลอดุลยเดชในโครงการตา ง ๆ เพือ่ ใหประชาราษฎร ดาํ เนนิ ชวี ติ ทด่ี ีใหอยรู ม เย็น นอกจากแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชแลว ยังมีพระราช เสาวนยี ของสมเดจ็ พระนางเจา สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถ ท่ที รงพระราชทานใหกบั ปวงชนชาวไทย โดยเฉพาะ ดา นการสง เสรมิ ใหป ระชาชนในทอ งถ่นิ ท่วั ทุกภูมภิ าคมอี าชีพ เชน ทรงกอต้ังมูลนิธิสงเสริมศิลปาชีพฯ เพื่อให ประชาชนทม่ี ฝี มอื ดานงานหัตถกรรมไดสรางผลงาน และจําหนายหารายไดใหกับครอบครัว ดวยน้ําพระราช หฤทัย ของทั้งสองพระองคที่ทรงมีตอปวงชนชาวไทย สงผลใหพสกนิกรจงรักภักดี และซาบซึ้งในพระมหา กรุณาธิคุณนับตง้ั แตทรงขนึ้ ครองสิรริ าชสมบัติ จวบจนปจจุบันนี้ 3. ดา นการเสรมิ สรา งสงั คมการศกึ ษาและศาสนา ในอดีตสถาบันพระมหากษัตริยมีบทบาทในการเสริมสรางสังคมไทยใหมีรูปแบบสอดคลองกับ การเมอื งการปกครอง ในบรบิ ทของปจ จยั ตาง ๆ ทง้ั จากภายในและภายนอกประเทศ วิถชี วี ติ ในสังคมไทยเปน สังคมที่มีระดับชนชั้นแมจะไมเขมงวดเครงครัดเหมือนอินเดียแตก็ทําใหคนไทยมีบทบาทหนาท่ีตางกันและ ไดรบั การปฏิบัตทิ ี่ไมเ ทาเทียมกนั พระมหากษัตรยิ ในสงั คมไทยนน้ั ทรง ไวซงึ่ อํานาจอธิปไตย มีพระราชอํานาจ เปนสทิ ธิ์ขาดในการปกครองประเทศ สังคมจะดีมีสุขมีความเปนธรรมหรือเดือดรอนอยางไรจึงขึ้นอยูกับองค พระมหากษัตรยิ ซ่ึงเปนผูก าํ หนดระบบแหงสังคมขึ้นและใชพระราชอํานาจบังคับการใหเปนไปตามระบบนั้น เมื่อพระมหากษตั รยิ ทรงมพี ระราชปณิธานในอนั ทีจ่ ะให มีความเปน ธรรมและความผาสุกในสังคมแลว สังคมก็ มี ความเปนธรรมและความสขุ จากหลักศลิ าจารกึ ของพอ ขุนรามคําแหง แหง กรงุ สโุ ขทัย สงั คมไทยในสมัยของ พระองคแบงชนช้ัน ออกเปนสอง คือชนช้ันสูงอันอยูในตระกูลสูงซ่ึงเรียกวา “ลูกเจาลูกขุน” หน่ึงและชน ธรรมดาสามญั ซ่งึ เรยี กวา “ไพร” หรอื “ไพรฟ า ” หน่งึ มิไดกลาวถึงชนช้นั อ่นื ใดอีกเลย ในศลิ าจารกึ หลักนนั้ จะกลา วถงึ ชนสวนอ่ืนก็มแี ตพ ระสงฆ ซ่งึ อยใู นฐานะเปนทเ่ี คารพของคนท้งั ปวงตัง้ แตอ งคพ ระมหากษัตรยิ ล งมา แ ล ะ พ ร ะ ส ง ฆ ใ น พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า น้ั น เ ป น ผู ที่ อ อ ก ไ ป แ ล ว จ า ก สั ง ค ม ใ น ช ว ง ส มั ย แ ร ก ข อ ง ก รุ ง สุ โ ข ทั ย พระมหากษัตรยิ ป กครองบานเมืองดว ยหลักคดิ ระหวา ง บดิ ากบั บตุ ร แตใ นชวงหลังมีความเปนธรรมราชาเพิ่ม ยงิ่ ข้ึนเพราะไดร บั พระพุทธศาสนาจากลังกาและใชศาสนาเปนเคร่ืองมือในการสรางความสงบสุขในสังคมให ประชาชนฟงธรรมรักษาศีล บริจาคทาน และเปน แนวทางในการตรากฎหมายและตัดสินคดีโดยเฉพาะใน รชั สมยั ของพอขนุ รามคําแหงมหาราชและพระมหาธรรมราชาลไิ ท ในสมัยอยุธยาสังคมในสมัยน้ันแมจะมีชนช้ันสูงและชนช้ันตํ่าซึ่งมีฐานะตลอดจนสิทธิและหนาที่ แตกตา งกันก็ดี แตชนชั้นเหลา นนั้ ก็ไมม ีเสถยี รภาพแตอยางใดอาจเลอื่ นไหลลงมาจนถึงชนชั้นไพรและทาสหรือ ถูกยกข้ึนสงู เปนขนุ นางดว ยการกระทาํ ของตนเอง หรอื มาขน้ึ เปนเจาในระดับสูงขนึ้ ท่ีเรียกวา “การเฉลิมพระยศ” ก็ได ชนช้ันแตล ะกลุมกม็ บี ทบาทตา งกันและเออ้ื เฟอเกอ้ื กลู กันดวยระบบมูลนาย ในสมัยของสมเด็จพระบรม ไตรโลกนาถทรงจัดตง้ั ระบบศกั ดนิ าขึ้นเพอ่ื จัดระเบยี บสังคมใหบุคคลมหี นาทแี่ ละความรับผิดรับชอบตามศักดิ์

145 กลาวคือ ผูมีศักดินาสูงก็จะตองรับโทษสูงหากทําผิดกฎหมายและศีลธรรมจรรยา เพราะถือวาเปนผูรับ ประโยชนส ูงกวาผูมีศักดนิ าต่าํ กวา ในยคุ นั้นศักดินาเปน ส่ิงทท่ี ุกคนมีประจําตัวอยู เพ่ือใชเ ปน เคร่ืองกาํ หนดสิทธิ์ และหนา ทใ่ี นสังคมอยางแนน อน ท่สี ําคัญคอื การจดั การดา นกาํ ลงั คนท่ีมีความจําเปนในการรักษาบา นเมืองและ ขยายดินแดน รวมท้ังการใชแรงงานเชนการกอสราง การผลิตและงานชางศิลปตาง ๆ ดังนั้นในรัชสมัยของ สมเด็จพระรามาธบิ ดที ี่ 2 ทรงโปรดใหมีการจัดทําบัญชีไพรพลเพื่อควบคุมการเกณฑคนทํางานในระบบไพร และการพระราชสงคราม แตมาถงึ สมยั อยุธยาตอนปลายปญหาการหลบหนีสงั กดั ของกําลังพลจากไพรหลวง ไปเปนไพรส มทีเ่ ปน งานที่เบากวา และมอี ิสระมากกวา ทําใหทางราชการไมส ามารถควบคุมกําลังพลในหัวเมือง ตา ง ๆ ไดแ ละพระมหากษัตริยยงั ตอ งแบงคนใหเ จา นายในการต้ังกรม จึงกลายเปนปญหาหน่ึงที่สงผลในตอน เสียกรงุ เมื่อสมเดจ็ พระเจา ตากสินทรงกอบกเู อกราชไดแ ลวทรงใชวิธีสง คนสนทิ ไปควบคุมหัวเมืองเหลา นัน้ และ เขมงวดกวดขันในการสักเลกเพอื่ ปอ งกนั ไพรห ลวงหลบหนีดวยเปนเวลาท่บี า นเมืองอยใู นระหวางอันตรายเพิ่ง กอบกู เอกราชคืนมาได ทั้งประสบความเสยี หายอยางใหญหลวง ผูคนหลบหนีเขาปามากมาย ที่ถูกกวาดตอนไป พมากม็ ีมาก นอกน้ันตางก็พยายามเอาตัวรอด โดยการแตกเปนกกเปนเหลาแยงชิงอํานาจกันครั้นกูกรุงศรี- อยธุ ยากลบั คืนมาไดก็ยังตองระมดั ระวงั ภัยจากพมา ทจี่ ะมาโจมตีอกี การควบคมุ กําลังคนจึงมีความสําคัญมาก เพราะหากมีผูคนนอย ก็จะทําใหพายแพแกขาศึกศัตรูได จนถึงสมัยตนรัตนโกสินทรรัชสมัยของสมเด็จ- พระพุทธยอดฟาจฬุ าโลกการควบคุมไพรพล ทําไดอ ยางมีประสทิ ธิภาพข้ึนและมีจํานวนพลเมืองมากขึ้นจึงทํา ใหส ามารถลดเวลาในการเขา รบั ราชการ (อยูเวร ) จากปล ะ 6 เดือนทเ่ี รียกวา เขา เดือนออกเดือนเหลือเพียง 4 เดอื นหรอื เขา รบั ราชการ 1 เดอื นพกั 2 เดอื น และลดลงไดอ กี เปนเขาเวร 1 เดือนและออกเวร 3 เดือนคือรับ ราชการเพียงปล ะ 3 เดอื น ตอ มาจายเปนเงนิ แทนการเขา เวรได ในอัตราเดือนละ6 บาท ปละ 18 บาท สําหรบั ไพรส มน้ัน ใหเ ขา มารบั ราชการดว ยเชนกนั ปล ะ 1 เดอื น หรือจายเปน เงนิ ปละ 6 บาท สงผลดีตอประชาชนทม่ี ี เวลาไปประกอบอาชพี ของตนเองไดสะดวกขนึ้ ทาํ ใหเ กิดการจางงานแทนการใชแ รงงานไพร กลุมชนชน้ั ทาส ในสมัยรัตนโกสินทรม ี 7 ประเภทคอื 1. ทาสสนิ ไถ คอื ทาสทไี่ ถห รอื ซื้อมาดว ยทรพั ย 2. ทาสในเรอื นเบี้ย คอื เด็กทเี่ กิดมาในขณะท่ีพอ แมเ ปน ทาส 3. ทาสที่ไดม าจากฝา ยบดิ ามารดา คอื ทาสท่ไี ดรบั เปน มรดกสบื ทอด 4. ทาสทา นให คือ ทาสทมี่ ผี ยู กให 5. ทาสทไ่ี ดเนื่องมาจากนายเงนิ ไปชว ยใหผ ูน ้ันพนโทษปรบั 6. ทาสทีม่ ลู นายเลีย้ งไวใ นยามขา วยากหมากแพง 7. ทาสเชลยคือทาสทไ่ี ดมาจากสงคราม แมทาสจะเปนกลุมคนท่ีมีมูลนายคือนายทาสเล้ียงดูและคุมครองแตไมมีอิสระ นายทาสบางคน ปราศจากเมตตาทาสก็ถูกใชแรงงานและลงโทษเฆีย่ นตีทารุณ ท่ีเปน หญิงก็อาจถูกนายทาสลวงละเมิดหากเปน ลูกทาสทีเ่ กิดจากบิดามารดาทเี่ ปน ทาสก็ตกเปนทาสในเรือนเบี้ยต้ังแตแรกเกิดเปนท่ีนาเวทนา ดังนั้น ในสมัย พระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลาเจา อยหู ัว พระองคทรงมีพระราชดําริท่ีจะปลดปลอยให ไพรฟา ขาแผนดิน ของพระองคม ีอิสระและมเี กียรติภูมขิ องความเปนพลเมอื งท่มี ีอสิ รเสรี การยกเลิกระบบไพร และทาสน้ี ถือวา

146 เปน พระราชกรณกี ิจยท่ีสาํ คัญและไดย กยอง ในพระปรีชาสามารถและนํ้าพระทัยเมตตา และยังเปนบทบาท ตอสังคมไทยอันย่ิงใหญข องสถาบันพระมหากษัตรยิ  เพราะการยกเลิกระบบไพรเปน การแปลงสภาพของคน ไทยทงั้ มวลใหพ น จากสถานะของไพรม าเปน พลเมอื งที่สมบูรณ เนื่องจากระบบ ไพรม มี านาน พระองคจงึ ทรงมี พระบรมราโชบายทจ่ี ะยกเลิกระบบไพรในลักษณะคอ ยเปนคอ ยไป ทงั้ นี้ เพ่อื มิใหเ ปนการกระทบกระเทือนตอ ผลประโยชนท บี่ รรดาพระราชวงศและขนุ นางไดรับจากระบบไพร โดยเริ่มจากการจัดต้ังกรมทหารมหาดเล็ก รักษาพระองค และ ต้ังกรมทหารหนารับสมัครทหารจากกลุม ไพรที่นายตาย จากนั้นทรงโปรดเกลาให ประกาศใช “พระราชบัญญตั ิทหาร’’ ลดเวลาใหพลทหารสมัครรับราชการเพยี ง 10 ป จนถงึ พ.ศ. 2431 จงึ ทรงตั้งกรมยทุ ธนาธิการเพอื่ จัดการทหารแผนใหม และใน พ.ศ. 2439 กใ็ หมกี ารจายเงินแทนการอยเู วรของ ไพรหลวง ปตอมากําหนดใหจายเงินแทนการสงส่ิงของของไพรสวยที่สุดคือ พ.ศ. 2448 โปรดเกลาใหตรา “พระราชบัญญัติเกณฑทหาร ร.ศ. 124’’ กําหนดใหชายฉกรรจทีมีอายุ 18 ปบริบูรณรับราชการในกอง ประจาํ การมีกาํ หนด 2 ป แลว ปลดไปอยใู นกองหนนุ (ผไู ดรับราชการทหารในกองประจาํ การแลว ) ถือเปนการ ยกเลิกระบบไพรที่มีมานานหลายศตวรรษไดสําเร็จ สวนในเร่ืองเลิกทาสก็ทรงใชวิธีการลดคาตัวทาสไป โดยลําดบั เวลาไมใหกระทบตอ กจิ การและผลประโยชนของผเู ปนนายทาสโดยประกาศใหมีการสํารวจทาสใน พ.ศ. 2417 แลวประกาศพระราชบัญญตั เิ กษียณอายุ ลูกทาส ลูกไทย ทาสท่ีเกิด พ.ศ. 2411 อันเปนปท่ีเสด็จ ข้ึนครองราชยเปนตนมาจนถึงอายุ 21 ป ใหพนจาก การเปนทาสทันที มีการตราพระราชบัญญัติทาส รัตนโกสินทร ศก 124 (พ.ศ. 2448) โปรดเกลาฯ ใหตรา“พระราชบัญญัติเลิกทาส” รัตนโกสินทร ศก 124 (พ.ศ. 2448) ในดา นการศึกษา หลกั ฐานศิลาจารึกหลักท่ี 1 ที่แสดงถึงบทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยที่มีตอ การศึกษาในสมัยสุโขทัยคือการท่ีพอขุนรามคําแหงทรงคิดคนอักษรไทยไดสําเร็จใน พ.ศ. 1826 โดยมี พัฒนาการของลักษณะตัวอักษรและปรับอักขรวิธีมาโดยลําดับจนเปนตัวอักษรในปจจุบันอํานวยประโยชน ในการจดบันทกึ การสรา งสรรคตําราและสรรพวิทยาการโดยเฉพาะผลงานวรรณคดีอันไพเราะ ทําใหชาติไทย มีตัวอักษรใชเ องทรงเปน ตนแบบของพระมหากษตั ริยทีท่ รงมีพระบรมราโชวาทสง่ั สอนประชาชนแมผานมากวา 700 ปแลว พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดช (รชั กาลที่ 9) ก็ยังทรงถือเปนพระราชภาระทจ่ี ะ พระราชทานพระบรมราโชวาทเพื่อใหทง้ั ความรู ใหข อคิดเตือนใจเปนแนวทางดําเนินชีวิตแกประชาชนหลาย กลุมหลายวารในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช พระมหาราชครู ไดแตงตําราเรียนภาษาไทยช่ือจินดามณี และสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพทรงพระนิพนธแบบเรียนเร็วเพ่ือใชสอนอานแก นกั เรยี นโรงเรยี นประชาบาลในสมยั นนั้ ซึ่งกอ นหนา นั้นศนู ยก ลางของการศกึ ษาเลา เรยี นมีเพียง วดั สาํ หรับชาย และวังสาํ หรบั หญิงเทา นั้น การศกึ ษาเลาเรียนจงึ เปนเรื่องเฉพาะตนทีต่ องขวนขวายแสวงหาครูอาจารยสอน เองตามสํานักอาจารยหรือกับพระที่วัด แลวยังมีการถายทอดความรูแกกันภายในครอบครัว สวนสตรีจาก ตระกลู ขนุ นางหรอื เจานายจึงถูกสงเขาไปถวายตัวเปนขาหลวงเพ่ือฝกฝนเรียนรูเร่ืองกิริยามารยาท และวิชา สําหรับผูหญิงเชนงานดอกไมใบตองกรองมาลัย ฝกฝนทําอาหารหวานคาว การเย็บปกถักรอยในตําหนัก เจา นายฝายในผูหญงิ นอ ยท่ีอานเขียนได พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวทรงโปรดใหต้ังโรงเรียน สําหรับสามัญชนแหงแรกท่ีวัดมหรรณพาราม สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถก็ทรงโปรดใหสราง

147 โรงเรียนสําหรับสตรี เชนโรงเรียนจอมสุรางคอุปถัมภ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เปนตน ในสมัยรัชกาล พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระนางเจาสิริกิต์ิ พระบรมราชชินีนาถและ พระบรมวงศานุวงศสนพระทัย ทรงสงเสริมการศึกษาของชาติมาโดยสม่ําเสมอ โดยการจัดต้ังมูลนิธิการสอน ทางไกลผานดาวเทียมโรงเรียนไกลกังวลท่ีมีประโยชนมากเพราะชวยนักเรียนในโรงเรียนท่ีอยูหางไกลและ โรงเรียนทข่ี าดแคลนครใู หมีโอกาสเรยี นจากครูที่มีความสามารถอยางเทาเทียมกัน จัดตั้งโรงเรียนพระดาบส ทสี่ อนวิชาชพี งานชางแกผ ูดอ ยโอกาส และวทิ ยาลยั ในวังชาย วิทยาลยั ในวังหญิง ท่ีสอนวิชาชีพและศิลปะไทย เพอ่ื การนําไปประกอบอาชพี นอกจากนีพ้ ระบาทสมเด็จพระปรมนิ ทรมหาภมู ิพลอดลุ ยเดชยังทรงเปนขวัญกําลังใจแกนิสิตนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยตา ง ๆ โดยการเสดจ็ ไปพระราชทานปริญญาบัตรดว ยพระองคเ องในทุกมหาวิทยาลยั บางคร้ัง ไดทรงดนตรีในกิจกรรมของมหาวิทยาลัยและทรงมีพระราชปฏิสันถารกับนิสิตนักศึกษาโดยไมถือพระองค ท้ังยังทรง พระราชนิพนธเพลงประจํามหาวิทยาลัยพระราชทานใหอีกดวย เชน เพลงมหาจุฬาลงกรณของ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ เพลงยูงทอง ของมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และเพลงเกษตรศาสตรของ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร เปนตน และยังทรงโปรดเกลาฯ ใหพระบรมวงศานุวงศฯ เสด็จไปพระราชทาน ปรญิ ญาบัตรแทนพระองคมาโดยตอ เน่อื ง และยงั ทรงปฏิบตั พิ ระองคเ ปนแบบอยางในการ ศกึ ษาเลาเรียนและ แสวงหาความรูอยางลุมลึกและกวางขวางและยังทรงมีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานความรูนั้น ๆ มาให ประชาชนของพระองคไดนําไปประพฤติปฏิบัติผานพระบรมราโชวาทและโครงการ ในพระราชดําริตาง ๆ ดังเชน โครงการเศรษฐกจิ พอเพียงท่ีทรงคุณคา ตอชาวไทยและตอ ชาวโลกอยางย่ิง ทรงพระราชนิพนธหนังสือ เชน นายอินทรผูปดทองหลังพระ และพระมหาชนก โดยเฉพาะหนังสือมหาชนก ไดรวมศาสตรตาง ๆ ไว มากมายท่แี สดงถึงพระปรชี าสามารถในการที่ทรงนําสิ่งท่ีทรงศึกษาแลวน้ันมาบูรณาการกันไดอยางงดงามมี คณุ คา ยง่ิ ในการนําไปใชเ ปนแนวทางดําเนินชวี ิต ในดานศาสนาสถาบนั พระมหากษตั ริยนับแตอดีตถึงในปจจุบันไดใหความสําคัญมากท่ีสุดโดยเฉพาะ ชาติไทยดาํ รงอยไู ดโดยไมมปี ญ หาวา พระมหากษัตริยท รงทาํ ลายลางราษฎรหรือคนท่ีมีความคดิ ตางทางศาสนา ดังทเี่ กิดขึน้ ในประเทศอื่น ๆ ก็เพราะพระมหากษัตรยิ ไ ทยทกุ พระองคทรงนับถอื พระพุทธศาสนาหลังพระราช พิธีบรมราชาภเิ ษกทเ่ี ปนพิธพี ราหมณแลวพระมหากษัตริยจะทรงประกาศพระองคทรงเปนพุทธมามกะและ ทรงเปนเอกอัครศาสนปู ภัมภก คอื ทรงรบั ทุกศาสนาไวในพระอุปถัมภท้ังสิ้น และเปนปจจัยท่ีสงเสริมใหชาว ไทยสว นใหญทม่ี คี วามแตกตางกนั ทางศาสนาตา งความเชอ่ื และศรทั ธาสามารถอยรู ว มกนั ไดอ ยางสงบสุข และมี ไมตรจี ิตตอกนั เปนเชนนี้มาแตสมัยสุโขทัยจนถึงปจจุบัน พระมหากษัตริยจึงทรงโปรดท่ีจะเสด็จไปในศาสน สถานและรวมอยูในพิธีกรรมของศาสนาตาง ๆ รวมท้ังการพระราชทานพระราชทรัพยเพื่อการทํานุบํารุง ศาสนาตา ง ๆ นั้นดวย

148 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดชทรงรับการถวายพระพร และถวายดูอาของผู้นําศาสนาต่าง ๆ ในดา นพระพุทธศาสนาพระมหากษตั ริยและพระบรมวงศานวุ งศแ ตโ บราณมาทรงถือเปนสําคัญในการ อุปถัมภคํ้าชูพระศาสนาท้ังการทํานุบํารุงพระอารามและศาสนสถาน การทํานุบํารุงพระธรรม คําสั่งสอน โดยการทรงนําพระธรรมน้ันมาปฏิบัติและนํามาเปนแนวทางในการปกครองบานเมืองและดูแลทุกขสุขของ อาณาประชาราษฎร ทรงรกั ษาพระธรรมคาํ สอนของพระพุทธองคดว ยการสรางพระอารามและศาสนสถาน ในสมัยสโุ ขทัยท่พี ทุ ธศาสนาลงั กาวงศรุงเรืองมีการสรางวดั เปนจาํ นวนมาก รูปแบบของสถาปต ยกรรม ก็ยดึ แบบลงั กาคือเจดยี ทรงระฆงั และในวดั หลายแหงมีชา งลอ มหรือเรยี กวาชา งรอบอยางคติของลงั กา แลว ยัง สง ผา นมาถงึ สมยั อยุธยาทีว่ ัดมเหยงคณใ นรชั กาลสมเดจ็ พระเจาสามพระยาซึ่งทรงมีความเก่ียวของกับสุโขทัย ทงั้ ในทางสายเลือดและการเก่ยี วดองเปน ญาติ เจดยี ป ระธานวัดมเหยงคณอ ยุธยา เจดยี ว ัดชางรอบ เมอื งกําแพงเพชร

149 เม่ือกรงุ ศรอี ยธุ ยามอี ํานาจเหนอื สโุ ขทัย สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถไดท รงใชส งิ่ กอ สรา งทางศาสนาแสดง สญั ลกั ษณข องความเปนผปู กครองโดยใชพ ระมหาธาตุหรอื เจดยี ท รงปรางคเปนเจดยี ประธานของวดั แทน พระปรางค์วัดจุฬามณีพิษณุโลก พระปรางค์วัดจฬุ ามณีพิษณุโลก สถาบนั กษัตรยิ ของกรุงศรอี ยุธยาไดร ับอิทธพิ ลของพระพทุ ธศาสนาลงั กาวงศจากสุโขทัยและจากศรีลังกา โดยตรงซึง่ จะเหน็ จากพระเจดียทรงระฆังท่ีเปนเอกลักษณทางสถาปตยกรรมของสมัยอยุธยาตอนกลางและ ชา งหลวงไดปรับรปู แบบมาเปน เจดยี เหลี่ยมยอมมุ ในสมัยอยธุ ยาตอนปลายงานสถาปตยกรรมเหลานี้ปรากฏ อยูในพระอารามอันใหญโตและงดงามท่ีราชทูต และพอคาชาวตะวันตกบันทึกไวในเอกสารรายงานหรือ จดหมายเหตุของตนเลาถึงความทุมเทใสพระทัยของพระมหากษัตริยท่ีทรงมีตอพระพุทธศาสนาโดยผาน ออกมาในรูปแบบความวจิ ิตรงดงาม มคี ณุ คา มีราคา ดวยพระราชศรัทธาอันมุงม่ันแรงกลาอยางแทจริง เชน ความงดงามใหญโตของวัดพระศรสี รรเพชญ วดั มหาธาตุ วดั ราชบูรณะ วัดพระราม และวดั ไชยวฒั นาราม ก เปนตน วัดพระศรีสรรเพชญ์ วดั พระราม

150 ในสมยั กรุงธนบรุ ีเปน ชว งกอบกฟู นฟเู ศรษฐกิจบา นเมอื งแมจะไมม กี ารสรางพระอารามปรากฏข้ึนนัก แตสมเด็จพระเจาตากสินก็ทรงเอาพระทัยใสในพระไตรปฎกที่สูญไปในคราวเสียกรุงเม่ือเสด็จไปตี นครศรีธรรมราชแลวก็ทรงขอยืมพระไตรปฎกจากเมืองนครศรีธรรมราชกลับมาคัดลอกแลวสงคืนตนฉบับ กลับไปดงั เดมิ เม่ือบา นเมอื งกลบั สงบเรียบรอยกวา เดมิ ในรัชสมัยของสมเด็จพระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราช ไดทรงรเิ ร่มิ สรางและปฏสิ งั ขรณวดั เกาท้ังในกรุงเทพมหานครและยังทรงโปรดใหพระบรมวงศานุวงศกลับไป บรู ณปฏิสงั ขรณวดั สาํ คญั ในกรุงเกาอีกมากมายหลายวัด เชน วัดทองหรือวัดสุวรรณดาราราม วัดธรรมาราม วัดกษัตราธิราช เปนตน สวนกรุงเทพมหานครท่ีพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงตั้ง พระทัยท่จี ะฟน คืนกรงุ ศรีอยุธยาใหแกชาวไทยในดานพระพทุ ธศาสนาจงึ ทรงสรางวัด สําคญั ตา ง ๆ ใหเ หมอื นท่ี เคยมีในสมัยอยธุ ยาเชน วัดพระศรีรตั นศาสดารามแทนวัดพระศรสี รรเพชญ ในพระราชวงั หลวง วดั สทุ ศั นเ ทพ- วรารามแทนวัดพนัญเชงิ เปนตนในดานพระธรรมทรงโปรดใหมีการสังคายนาพระไตรปฎกท่ีวัดมหาธาตุยุว- ราชรังสฤษด์ิ (ขณะน้ันช่ือวาวัดพระศรีสรรเพชญ) เร่ิมแตวันพุธ ข้ึน 15 ค่ําเดือน 12 ปวอก พ.ศ. 2331 เปน เวลา 5 เดอื น จึงเสร็จแลวใหจารเก็บรักษาเปนพระไตรปฎก ฉบับหลวง (ทองใหญ) สวนแบบทองชุบให จารแลว พระราชทานไปตามพระอารามหลวงท้ังส้ิน พระไตรปฎกในแบบทจี่ ารในสมุดไทยแบบทองใหญ ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช นอกจากการโปรดใหจัดพิมพ พระไตรปฎกพระราชทานแกใหวัดตาง ๆ และพระราชทานไปยังวัดไทยในตางประเทศแลวยังทรงใหมีการ จัดทําในรูปแบบส่อื อิเล็กทรอนกิ สเพอ่ื สะดวกในการคน ควาโดยท่ัวไปอีกดวย บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยในดานการพัฒนาคณะสงฆนั้นก็มีอยูไมนอยที่ทรงมีพระราช ศรัทธาเสด็จทรงพระผนวชก็มีหลายพระองคแมในยามมีภยันตรายก็ทรงใชวิธีประนีประนอมโดยใชธงชัย พระอรหันตคือผากาสาวพัสตรเปนท่ีพ่ึง หลังเสียกรุงน้ันมีพระสงฆจํานวนมากยอหยอนในพระวินัยลง จนสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟา จฬุ าโลกมหาราชทรงปรารภถึงพฤติกรรมของพระสงฆบางรปู ขณะนน้ั วา“เปน คนอา บัดสอพลอ ทาํ ใหเ สียแผนดิน” พระองคท รงแกไ ขปญ หาน้ีโดยใหสอบสวนและใหสึกออกเสียไมนอย และทรง ตรากฎพระสงฆในระหวาง พ.ศ. 2325 - 2341 มีถึง 10 ฉบับ ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา เจา อยหู วั ทรงมพี ระราชศรทั ธาสรา งวัดจนมคี ํากลา วในทํานองวาผูท จ่ี ะเปนคนโปรดในรัชกาลที่ 2 ตองเปนกวี ในรัชกาลที่ 3 นั้นตองสรางวัดถวาย จึงจะเปนผูที่ทรงโปรดปราน แมพระองคจะไมทรงโปรดการตั้ง

151 ธรรมยุติกนิกายของพระอนุชา คือ วชิรญาณภิกขุ แตก็ทรงมีขันติธรรมอนุโลมใหทรงดําเนินการเผยแผ พระพุทธศาสนานิกายนี้ไดตอมาจนวชิรญาณภิกขุไดข้ึนครองราชสมบัติเปนพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา- เจาอยูหัวก็ทรงสงเสริมนิกายน้ีมากขึ้นและสรางพระอารามหลวงหลายแหง ใหพระสงฆในธรรมยุติกนิกาย ไดพํานักปฏิบัติธรรม เชน วดั บวรนิเวศวิหาร วัดราชาธวิ าส วดั กวศิ ราราม วัดเสนาสนาราม และวดั นเิ วศธรรม- ประวัติ เปนตน นอกจากน้สี ถาบันพระมหากษตั รยิ ย งั ทรงสง เสริมการสรางวรรณกรรมทางศาสนานับแตสมัยสุโขทัย มีไตรภูมิพระรวงของสมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไทที่จูงใจใหคนประพฤติดีเพ่ือไดไปสูสรวงสวรรคและละ ความชวั่ เพ่อื ไมใ หไ ปสูอ บายภูมิ ในสมัยอยธุ ยามสี มาชกิ ของสถาบนั พระมหากษตั รยิ  พระบรมวงศานุวงศที่ทรง พระราชนิพนธส รรคส รา งวรรณกรรมทางศาสนาไวม ากมาย เชน ในสมเดจ็ พระบรมไตรโลกนาถทรงพระราช- นิพนธมหาชาติคําหลวงในคราวสรางวัดจุฬามณี ในรัชกาลสมเด็จพระเจาบรมโกศกรมหลวงเสนาพิทักษ (เจา ฟา ธรรมาธิเบศหรอื เจาฟากุง) ทรงแตนันโทปนันทสูตรคําฉันทและพระมาลัยคําหลวงในขณะทรงผนวช เปนตน นอกจากน้ีในสมัยสมเด็จพระนารายณพระองค ทรงมีพระราชปุจฉาวิสัชนากับพระพรหมมุนี วดั ปากนํา้ ประสบซ่งึ เปนพระอาจารยมีบันทึกถึงคําถามคําตอบดังกลาวที่นาศึกษาและเปนแนวทางในการมี พระราชปุจฉาของพระมหากษัตริยกับพระสงฆผูรูธรรมเชนที่ปรากฏในพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช ทที่ รงมพี ระราชปจุ ฉาพระอริยสงฆหลายทา น เชน พระราชพรหมญาณ (หลวงพอฤาษีลิงดํา) หลวงปูแหวนสุจิณโณ หลวงปูฝนอาจาโร ฯลฯ เปนตน มีการบันทึกขอธรรมเหลานั้นไวเปนแนวทางให ประชาชนท่ัวไปไดศกึ ษาไดอีกดวย ในการชวยรักษาพระพุทธศาสนาในปลายกรุงศรีอยุธยาพระเจากิตติศิริราชสิงหไดสงราชทูตมาขอ พระสงฆจากกรุงศรีอยุธยาเพ่ือไปฟนฟูพระพุทธศาสนาในศรีลังกาท่ีขาดพระสงฆสืบตอในรัชกาลสมเด็จ- พระเจาบรมโกศทรงสงพระอุบาลี พระอริยะมุนีกับพระอันดับและสามเณรไปศรีลังกา สามารถอุปสมบท พระสงฆก วา 700 รปู และบรรพชาสามเณรไดเปนจํานวนมากในเวลาเพียง 3 ปทําใหพระพุทธศาสนานิกาย สยามวงศเกดิ ข้นึ ในศรีลังกา ต้ังแตน นั้ รปู หลอ ของพระอบุ าลีที่วดั บุพารามทป่ี ระเทศศรีลงั กา

152 4. ดา นการเสรมิ สรา งศลิ ปวัฒนธรรมและประเพณี ศิลปะมีรากศัพทต รงกับภาษาบาลีวาสปิ ป หมายถงึ ฝม ืออยางยอดเยีย่ มที่เปน การแสดงออกทาง ความคดิ ความชาํ นาญของมนษุ ย และบคุ ลกิ ภาพของผสู รา งสรรคค วามงดงามของงานทีถ่ ายทอดจติ วิญญาณ และความเชือ่ ของตนลงสอู ันงานอันเปนความพากเพียรของมนษุ ยซ งึ่ เรยี กวาวิจิตรศิลป วัด วงั เวียงเปน ศูนยร วมความเปน เลศิ ของศิลปะชาติไทย ศลิ ปะไทยมรี ากฐานความสัมพันธเชื่อมโยง ใกลช ิดกับคติความเช่ือและหลักธรรมในพระพุทธศาสนาทจี่ ะมหี ลกั คดิ ความเชอื่ ของศาสนาอ่ืนแทรกเขา มาจะมี บางก็เปนเพียงสวนปลีกยอยซึ่งบางคร้ังก็เกิดจากแนวพระราชนิยมในชวงเวลาใดเวลาหนึ่งเทาน้ัน สถาบัน พระมหากษตั รยิ มีหนาทห่ี ลกั ในการทํานุบาํ รุงพระศาสนาจงึ ไดน าํ เอาศลิ ปะมาใช เพ่ือวัตถุประสงคอันสําคัญนี้ ในพระอารามตา ง ๆ สวนพระราชวงั หลวงหรือพระบรมมหาราชวังท่ีเปนศูนยกลางของพระนครเพราะเปนท่ี ประทบั ขององคพระประมขุ ของแผน ดินก็ตองใหม คี วามโอโถงงดงามดว ยศิลปะอันประณตี เปน สดุ ยอดแหง งาน ชางทุกแขนง เพื่อสมกับพระราชฐานะและพระเกียรติยศ สวนเวียงน้ันก็มีความงามทางศิลปะท่ีประชาชน สามัญ ขนุ นางขาราชการ ท่ีเปนไพรฟ า ขา แผนดินสรรคส รา งขึ้นดวยความศรัทธา และเพื่อการใชสอยในวิถชี ีวิต ประจําวนั ซง่ึ มักจะคลอยตามพระราชนิยม ในภาวะที่กฎเกณฑของสังคมอนุญาตไวใหทําได ซึ่งตอมาในสมัย หลังก็มกี ารยกเวน กฎเกณฑตาง ๆ นั้นซึ่งบางประการก็เปนกฎมนเฑยี รบาลโดยเฉพาะในการสรา งวัด ก็ยกเวน ใหม อี าคารหลังคาซอ นช้นั ในวัดทส่ี ามญั ชนสรางได สถาบันพระมหากษัตริยมีบทบาทในการสงเสริมศิลปะในหลายแขนงปรากฏอยูท้ังในศาสนสถาน วัดวาอารามเปนที่เชิดหนาชูตาวาบานเมืองไทยเปนเมืองที่รํ่ารวยศิลปะ ท้ังดานสถาปตยกรรม จิตรกรรม งานประติมากรรมและประณีตศิลป ซงึ่ ตอ งใชงานชางในสาขาตาง ๆ ท่ีเรียกวา “ชางสิบหมู” ไดแกชางเขียน ชางแกะ ชางสลัก ชางปน ชางปูน ชางรัก ชางหนุ ชางบุ ชางกลึง และชา งหลอ นอกจากนี้ยังมีงานชางกระจก ชางทอง ชางครํ่า ชางไม ฯลฯ ซ่ึงแยกปลีกยอยเฉพาะทางไปอีกมากมายงานเหลาน้ีตองอาศัยสถาบัน พระมหากษตั ริยทรงเปนผอู ุปถัมภใหก ารสนับสนุนทั้งพระราชทรัพย พระราชทานยศศักดิ์ใหแกชางท่ี ทุมเท อทุ ิศตนใหง านนัน้ ๆ และการใหโอกาสไดแสดงผลงานในสถานทอี่ ันสาํ คัญ ซ่ึงในบางคร้ังพระมหากษัตริยและ พระบรมวงศานวุ งศก ท็ รงลงฝพระหตั ถใ นงานชา งงานศลิ ปะดว ยพระองคเ อง มีหลักฐานผลงานปรากฏเดนชัด อยูเปนจํานวนมากเชนงานบานประตูจําหลักไมที่วัดสุทัศนเทพวราราม งานหัวโขนช่ือพระยารักนอยและ พระยารกั ใหญเ ปนฝพ ระหตั ถของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลศิ หลา นภาลยั เปน ตน ในสมัยอยุธยางานศลิ ปะทเ่ี ปน สถาปต ยกรรมถกู ทําลายลงดวยสงคราม และกาลเวลาที่บานเมืองถูก ท้ิงรา งอยเู ปน เวลานานแมจ ะดรี บั การบูรณะปฏิสงั ขรณกไ็ มอาจคืนสภาพดังเดมิ ไดดวยขอ จาํ กัดวาวัดรา งนน้ั มีจาํ นวนมาก ขาดชางฝมือ ขาดกําลังทรัพยและวัสดุ ดังทที่ ราบกนั วาแมอิฐท่ีจะใชส รา งกาํ แพงกรงุ ธนบุรี ศรมี หาสมุทร และสรางวัดวาอารามก็ยังตองไปร้ือเอาอิฐเกามาจากคายโพธ์ิสามตนคายสีกุก และวัดตาง ๆ ในกรงุ ศรอี ยธุ ยา แตย งั พอมีบางสวนหลงเหลอื อยเู ปน ขอ ยืนยนั ถงึ บทบาทของพระมหากษัตริยในดานงานชาง ศิลปกรงุ ศรอี ยธุ ยาไดอยูพอสมควร สวนงานดานประณีตศิลปนั้นพอเห็นไดชัดจากงานเคร่ืองทองกรุ วัดราช บูรณะท่รี วมงานชา งสาขาตา ง ๆ ไวมากมาย งานประดบั มุกบานประตพู ระวิหารยอดที่งานฝมือชางประดับมุก

153 ช้ินเอกในรัชสมัยสมเด็จพระเจาบรมโกศทรงโปรดใหสรางข้ึนในการปฏิสังขรณวัดบรมพุทธาราม และบาน ประตพู ระมณฑปพระพทุ ธบาทและประตพู ระอโุ บสถวดั พระพุทธชนิ ราช ซึ่งสรางขนึ้ ในรัชกาลเดียวกนั พระพทุ ธรูปบุทองคาํ พระแสงขันธ์ พระมาลาทองถกั บานประตูวัดพระพุทธชินราช

154 บานประตวู ดั วหิ ารยอด (วดั พระศรีรัตนศาสดาราม) บานประตูวดั พระพทุ ธบาท จังหวดั สระบุรี บานประตูประดับมกุ หอพระมณเฑียรธรรมวดั พระศรีรัตนศาสดาราม หลงั เสียกรงุ ชา งฝม ือของกรุงศรอี ยธุ ยาเสยี ชีวิตลงในการรบบา ง ถูกขา ศกึ กวาดตอ นไปบางเหลือตัวอยู นอยเต็มที ในสมยั กรงุ ธนบรุ กี ใ็ ชง านชางตา ง ๆ เพียงสังเขปดว ยอยูในภาวะท่ีตองระวังขาศึกศัตรู ขาดคนและ กําลังพระราชทรัพย ในสมัยรัตนโกสินทร สมเด็จพระพุทธยอดฟาจุฬาโลกมหาราชทรงโปรดใหรวบรวม ชางฝมือดา นตา ง ๆ สรา งพระบรมมหาราชวงั และพระอารามหลวงตาง ๆ ในสภาพท่ีเพิ่งผานภาวะวิกฤตเสีย กรุงมาเพียง 15 ป และทําสงครามเกา ทัพมาเพยี งไดไมนาน แตพระองคก ็สามารถจําลองกรุงศรีอยุธยามาไวที่ กรงุ เทพมหานครไดเ ปน ผลสาํ เร็จ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม พระบรมมหาราชวัง

155 ในการนสี้ มเด็จกรมพระราชวังบวรมหาสรุ สงิ หนาททรงมสี ว นสงเสริมในการฟนฟงู านชางศิลปอยุธยา เปน อยางมากโดยทรงเสาะหาชางหลวงอยธุ ยาท่ยี งั เหลอื อยใู หเขา มาอยูในสังกัดชางวังหนา ซ่ึงได ฝากผลงาน พระอโุ บสถวดั สุวรรณดาราราม (วัดทอง) ไวท ก่ี รงุ เกา พระอโุ บสถวดั สุวรรณดาราราม ในดานงานจิตรกรรมในสมัยกรุงศรีอยุธยาพอหลงเหลือหลักฐานก็เพียงเล็กนอยและเขาชมไดยาก เพราะท่ีเหลอื ก็มักเขียนเพอ่ื เปนพทุ ธบูชาในกรุปรางคห รือเจดียหรืออยูในวัดหางไกล เชน ท่ีเพชรบุรี เปนตน ที่หาชมไดงายก็มักเปนงานชางรัตนโกสินทรเปนสวนใหญแตก็เปนงานจิตรกรรมที่สงตอมาจากสมัยอยุธยา นั่นเอง ในสมยั สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหวั ทรงอุปถัมภส ง เสรมิ ชางจติ รกรรมคนหนึง่ ชื่อ ขรัวอินโขงศิลปน ทานน้มี ฝี ม ือเขยี นภาพแบบใหมต า งจากศิลปนยิ มแบบเดมิ คอื เปน ภาพท่ีมีแสงเงาแบบตะวันตกและงานของ ทา นผูนีส้ งอทิ ธพิ ลทาํ ใหงานจิตรกรรมไทยในยุคตอมามีความเปนสากลมากข้ึนดังงานของพระยาอนศุ าสน จิตรกร (จนั ทร จิตรกร) ซงึ่ เปนชา งเขยี นในรัชกาลของสมเด็จพระมงกุฎเกลาเจาอยูหัวงานช้ินสําคัญ คือภาพพระราชประวัติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชในพระวิหารวัดสุวรรณดารามและภาพเทพชุมนุม ในพระวหิ ารเดยี วกนั ซง่ึ มคี วามแตกตา งของระเบยี บวธิ ีการเขยี นภาพเทพชมุ นุม ภาพวาดของพระยาอนุศาสน์จติ รกร ภาพวาดของขรัวอินโข่ง

156 ภาพวาดของพระยาอนุศาสน์จิตรกร ผลงานพระยาอนุศาสน์จิตรกรพระประธานวดั กษัตริย์ตราธิราช ศิลปนในพระบรมราชจักรีวงศ คือ สมเด็จพระเจาบรมวงศเธอกรมพระยานริศรานุวัติวงศ ที่ทรงมี ผลงานดา นการชา งหลายสาขา งานช้ินเดนของพระองคคือทรงออกแบบ พระอุโบสถวัดเบญจมบพิตร และทรงออกแบบรองในงานพระราชพิธี ตาง ๆ หลายคร้ังลวนเปนท่ีพอพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จ- พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัวมากทรงพระราชทานพระสมัญญานามวา “นายชางใหญแหงกรุงรัตนโกสินทร” เจานายที่ทรงงานชางและทรงมี ผลงานเดนอีกพระองคหนงึ่ คอื พระองคเ จาประดิษฐวรการ งานปนู ปน ฐาน ชุกชพี ระประธานในพระอโุ บสถวดั กษตั ราธิราชนับวาเปนผลงานท่ีงดงาม จับใจยง่ิ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยานริศรานุวตั วิ งศ์

157 งานสถาปต ยกรรมในสมัยรตั นโกสินทรนน้ั เปนงานที่สืบเน่ืองตอมาจากสมัยอยุธยาตอนปลายท่ีนิยม เจดยี แบบยอมุมไมส บิ สองหรือเจดียเ พม่ิ มุม เชนเจดียในกลุมพระเจดียศรสี รรเพชญด าญาณที่วัดพระเชตุพน- วิมลมังคลาราม และพระปรางคทรงจอมแห เชน พระปรางคประธานวัดอรุณราชวรารามที่ไดแบบจาก พระปรางควัดไชยวัฒนาราม จนในรัชกาลสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงมีพระราชนิยมพระเจดีย แบบลงั กาที่วัดพระศรีสรรเพชญ พระนครศรอี ยธุ ยาจึงทรงนําแบบมาสรางพระศรีรัตนเจดีย (เจดียทอง) ที่วัด พระศรีรัตนศาสดารามแลวทรงสรา งในรปู แบบเดียวกันเปนเอกลักษณประจํารัชกาล เชน ที่วัดเสนาสนาราม วดั สุวรรณดาราราม วดั ราชบพิตรสถิตมหาสีมาราม เปนตน สําหรับงานประติมากรรมของชาติสวนใหญเปนงานปนหลอพระพุทธรูป ซ่ึงมีพระพุทธรูปสําคัญ หลายองคที่สถาบันพระมหากษัตริยท รงสรางขนึ้ เพื่อยึดเหนยี่ วจิตใจประชาชนและเปนศรีแกพระนคร ถือเปน แนวทางเดียวกันของทุกยุคทุกสมัยดวยถือวาพระพุทธรูป คือ สิ่งแทนพระองคของพระพุทธเจา ในสมัย- รัตนโกสินทรไ ดอญั เชิญพระพุทธรูปสําคัญหลายองคมาจากหัวเมืองฝายเหนือโดยเฉพาะจากสุโขทัย ในการ อัญเชิญหลวงพอเพชรเมืองพิจิตรชาวเมืองไมยินยอมนําองคพระไปซอน แตพระบาทสมเด็จพระปกเกลา- เจา อยูห ัวก็มไิ ดทรงถอื เอาแตพระทัยทรงอนุโลมตามประสงคข องชาวเมือง เมื่อทรงอัญเชิญมาแลวก็ทรงนําไป ประดิษฐานเปนพระประธานในพระอุโบสถบาง พระประจําพระวิหารหลวง พระวิหารทิศบาง บางองค ก็ประดิษฐานอยูที่พระระเบียงบางในวัดตาง ๆ เพื่อใหประชาชนไดปฏิบัติบํารุงและเคารพบูชาสืบมาสวน พระพทุ ธรูปท่สี รา งขึ้นในสมยั รตั นโกสินทร คอื พระพทุ ธรปู ปางตาง ๆ ที่พระบาทสมเดจ็ พระน่งั เกลาเจา อยูหวั สรางขน้ึ เพอื่ อุทศิ ถวายพระราชกศุ ลแดบูรพมหากษตั ราธิราชเจา จนถึงรัชกาลพระองคนับวาเปนพระพุทธรูป อีกกลุมหนึง่ ทใ่ี หความรูใ นเชงิ พระพทุ ธประวัตแิ ละเชงิ ชางประตมิ ากรรมอีกดวย ในบรรดาพระพุทธรูปสําคัญที่คนพบวาสรางดวยโลหะอันมีคาในชวงฉลอง 25 พุทธศตวรรษไดพบ พระพทุ ธรูปทองคาํ ศลิ ปะสโุ ขทัยขนาดใหญมากทีว่ ัดไตรมิตรวทิ ยาราม ซ่งึ พระรปู ที่มีความใหญโตขนาดน้ันและ สรา งดว ยทองคาํ อนั เปน โลหะทีม่ ีคา มรี าคามากทส่ี ดุ เชน น้ีแสดงถงึ พระราชศรัทธาของพระมหากษตั รยิ  ซง่ึ ทรง เปนองคพ ระประมุขของสถาบันพระมหากษตั ริยในยคุ สมัยตอมาคือสมัยอยุธยา รชั สมัยสมเด็จพระรามาธิบดี- ท่ี 2 ก็มีการสรางพระพุทธรูปยืนสูง 8 วา นํ้าหนักทองหุม 286 ชั่ง คือ พระศรีสรรเพชญ ประดิษฐานใน พระวิหารหลวงของวัดประจําพระราชวัง ในสมัยรัตนโกสินทรการสรางพระพุทธรูปทองคําขนาดใหญไดลด ความนิยมลงแตมีแนวคดิ ในการสรา งจากวัสดทุ สี่ ิน้ เปลืองทรัพยไ มมาก แตใหความงามไดคลายคลึงกันคือการ ปด ทับดวยทองคําเปลว หรอื การใชเทคโลยสี มยั ใหม การตกแตงพืน้ ผิวเพือ่ เพิ่มคุณคาและความงามข้ึน

158 บทบาทของสถาบันพระมหากษตั ริยในดา นวัฒนธรรมและประเพณนี ัน้ ยอมสอดคลองกับสภาพ สงั คมในแตละยคุ สมยั พระอโุ บสถวัดเบญมบพติ ร ฐานชุกชีพระประธานวดั กษตั ราธริ าช 5. ดา นการเสรมิ สรางวัฒนธรรมและประเพณขี องไทย วัฒนธรรม หมายถึง ส่งิ ท่ที ําใหเจริญงอกงามแกห มคู ณะวิถชี ีวิตของหมูค ณะ ประเพณี คอื สิ่งที่นิยม ถือประพฤติปฏิบัติสืบ ๆ กันมาจนเปนแบบแผน ขนบธรรมเนียม หรือจารีตประเพณีวัฒนธรรมไทยและ ประเพณีไทยนนั้ เกิดข้นึ จากการประพฤติปฏบิ ตั ิสบื กันมามกี ารสง่ั สมเลอื กสรรและยอมรบั วา เหมาะสมกับสังคม โดยรวม จนเปนบุคลิกและนสิ ยั ของคนในสังคม ซงึ่ เกดิ ขึ้นจากการท่ีตองเอาอยางบุคคลอ่ืน ๆ ที่อยูรอบ ๆ ตน หากจะกลา วถึงประเพณไี ทยก็หมายถงึ นิสยั สังคมของคนไทยซง่ึ ไดร บั มรดกตกทอดมาแตด้ังเดิมและมองเห็น ไดในทุกภาคของไทย ประเพณี เปน เรอื่ งของความประพฤตขิ องกลุมชน ยึดถือเปนแบบแผนสืบตอกันมานาน ถาใครประพฤตินอกแบบ ถอื เปน การผิดประเพณี ประเพณีกับวัฒนธรรมจึงเปนสิ่งที่กลุมชนในสังคมรวมกัน สรางข้ึนแตประเพณีเปนวัฒนธรรมท่ีมีเงื่อนไขท่ีคอนขางชัดเจนกลาวคือเปนส่ิงท่ีสังคมสรางข้ึนเปนมรดก คนรนุ หลังจะตอ งรับไว และปรบั ปรงุ แกไขใหดยี ิ่ง ๆ ขนึ้ ไป รวมทัง้ มีการเผยแพรแกค นในสังคมอื่น ๆ วฒั นธรรมที่เปนปจจัยพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต อันไดแกปจจัยส่ี คือเคร่ืองนุงหมที่อยูอาศัย อาหาร ยารักษาโรค เคร่อื งนุงหม และการแตงกายของคนไทยเปล่ียนแปลงไปตามยุคสมัย มีการรับวัฒนธรรมการแตง กายชาวตะวันตกมาใชมากข้ึน สวนผูหญิงจะเปนไปตามสมัยนิยม ในอดีตสถาบันพระมหากษัตริยจะมี กฎมณเฑียรบาลกําหนดแบบแผนท่ีแนนอนในการแตงกายการเครื่องประดับกาย เคร่ืองประดับยศ การใช ยานพาหนะแตค วามเครง ครัดน้ันก็คลคี่ ลายลงดว ยยคุ สมัยโดยพระราชดาํ รบิ าง โดยกฎเกณฑใ หม ๆ ของสังคม และการปรับเปล่ยี นตามวฒั นธรรมตะวนั ตกบาง สถาบนั พระมหากษตั รยิ ม บี ทบาทในการสรา งเสริมวัฒนธรรม การแตงกายโดยแบบอยางความนิยมจากเจานายฝา ยในโดยเฉพาะในสมัยรชั กาลของพระบาทสมเด็จ- พระจลุ จอมเกลาเจา อยหู ัวเปนตน มา

159 การแต่งกายของเจ้านายสมยั รัชกาลที นุ่งโจงเสือแบบแขนหมแู ฮมสะพายแพร สมัยรัชกาลที 6 สมยั รัชกาลที สมยั รัชกาลที ในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช (รัชกาลท่ี 9) สมเด็จพระนางเจา- สริ ิกติ ิ์ พระบรมราชนิ นี าถตอ งตามเสด็จ เยอื นประเทศตา ง ๆ ทั้งเอเชยี ยุโรปและสหรัฐอเมริกา พระองคทรง จดั เตรยี มฉลองพระองคแ บบไทยโดยทรงออกแบบใหมใ หเหมาะสมทงั้ แบบลาํ ลองและเปน ทางการใหเ หมาะสม กบั วาระโอกาสตาง ๆ เปนท่ีมาของชุดไทยพระราชนิยมอันไดแก ชุดไทยเรือนตน ไทยจิตรลดา ไทยอมรินทร ไทยบรมพมิ าน ไทยจกั รี ไทยจกั รพรรดิ ไทยดสุ ิต ไทยศวิ าลัย ถือเปนแบบแผนการแตงกายของชาติ สวนเส้ือ

160 ของฝา ยชายไดม ีการออกแบบแปลงมาจากเส้ือราชปะแตน เรียกวา ชุดไทยพระราชทานซี่งมีทั้งแขนส้ันและ แขนยาวโดยสวมกับโจงกระเบนหรือกางเกง ก็ไดเ ส้อื ชดุ พระราชนยิ ม 9 ชดุ และชุดไทยพระราชทาน ชุดไทยพระราชทานนิยมสําหรับสตรี ชุดไทยพระราชทานสําหรับชาย วัฒนธรรมดานที่อยูอาศัยเรือนไทยเหมาะกับสภาพธรรมชาติของสังคม มีลักษณะใตถุนสูงไมมี หองมากนักรบั ลมเยน็ ไดท กุ เวลาปองกนั แดดฝนไดดี แตการออกแบบอาคารเรือนหลวงที่เปนเอกลักษณของ ชาตินอกจากการยึดเอาความเหมาะสมกับสภาพแวดลอ มแลว กต็ อ งคํานึงถึงประโยชนใชส อยและการเชดิ ชู พระเกียรติยศเปนหลัก สวนการออกแบบอาคารในพระพุทธศาสนานั้นยอมสอดคลองกับสถาบัน พระมหากษัตริยดวยหลักคิดในเรื่องพุทธะกับพระราชาเปนสําคัญและในบางสวนก็นําคติของไตรภูมิ มาสอดแทรก เชน เรื่องของเขาพระสุเมรุ ครุฑ นาค และยักษ แมการต้ังชื่อประตูท้ังส่ีทิศของพระตําหนัก จติ รลดารโหฐานก็นาํ ชอ่ื ของเทวดารักษาทิศท้ัง 4 พระอินทรอยูชม พระยมอยูคุน พระวิรุณอยูเจน พระกุเวร อยเู ฝา แตเปน ทีน่ าสังเกตวา พระราชฐานของพระมหากษัตริยในปจ จุบันมิไดมุงเนนความโออา แตทรงเนนถึง ประโยชนใชสอยโดยเฉพาะทรงใชประโยชนเพื่อการคนควาหาแนวทางในการชวยเหลือประชาชนในดาน ความเปนอยูแ ละการทาํ กนิ มากกวา ความสุขสบายสว นพระองค

161 ในดานอาหารในอดตี ในวงั จะเปนผนู ําในเร่อื งของอาหารทีเ่ รยี กวา “เครอ่ื งคาวหวาน” มีบทพระราช- นิพนธเหช มเคร่ืองคาวหวานกลาวถึงอาหารไทยและอาหารท่ีดัดแปลงจากอาหารของชาตติ า ง ๆ โดยท่ีกรุงศรี- อยุธยา กรุงธนบุรี และกรุงเทพ เปนเมืองท่ีอยูใกลทะเลจึงเปนเมืองทาที่มีคนหลายชาติ หลายภาษา เขามา ติดตอดวยเสมอการรับวัฒนธรรมของชาวตางชาติในเรื่องอาหารการกินซ่ึงเปนเรื่องใกลตัวท่ีสุดจึงเปนสิ่งที่ เกดิ ข้นึ ไดโ ดยมี “ชาววงั ” เปนเสมอื นผคู ดั กรองผสมผสานและดัดแปลงแลว จึงสงตอไปยังชาวบานดังชาวบาน เกาะเกรด็ ทท่ี ําอาหารหวานคาวแบบชาววังไดหลากหลายสันนิษฐานกันวา มาจากวิธีครูพักลักจําจากชาววัง ท่มี าปรงุ ภตั ตาหารอาหารถวายพระในคราวสรา งวดั ปรมัยยกิ าวาสอยูนานป หรือขนมของ ทาวทองกีบมาหรือ มารีเดอกีรม า ในสมยั สมเด็จพระนารายณม หาราชนนั้ กค็ งแพรห ลายดวยคนทเี่ ขา ไปรับจา งชว ยงานครัวในบาน เจาพระยาวิชาเยนทรนัน้ เอง ในดานยารักษาโรค สุขภาพและการรักษาพยาบาลปรากฏหลักฐานวาในสมัยสมเด็จพระนารายณ มหาราชทรงเปนผูนําในการรักษาโรคมีการรักษาพยาบาลท้ังตําราแพทยแผนไทยและตะวันตกมีตํารายาช่ือ โอสถพระนารายณท ี่มียาตํารับตาง ๆ และยงั มแี พทยประจําพระองคเปนชาวตะวันตกคูกับแพทยไทยในสมัย รัตนโกสินทร สมเดจ็ เจา ฟากรมหลวงชุมพรเขตตอุดมศักด์ิทรงไดรับฉายาวา “หมอพร” เพราะทรงมีความรู ทางแพทยแผนไทยและทรงรักษาชาวบานท่ัวไปจนเปนที่เคารพรกั ใครของประชาชนจนถึงทุกวันน้ี พระบรม- วงศานวุ งศอกี พระองคห นึง่ ท่คี วรแกก ารระลกึ ถงึ คือ สมเดจ็ พระมหติ ลาธิเบศร อดลุ ยเดชวกิ รม พระบรมราชชนก ในพระบาทสมเดจ็ พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทท่ี รงหันมาเรยี นวชิ าแพทยเพราะทรงเห็นในความทุกข เพราะความเจ็บไขข องประชาชนทรงยอมเสยี สละเดนิ ทางไปปฏบิ ัตงิ านทีโ่ รงพยาบาลแมคคอมิคสถึงเชียงใหม ดวยพระราชจริยวัตรดังน้ี จึงทรงเปนแบบอยางใหสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช สมเด็จพระเจาพ่ีนางเธอ เจาฟากัลปยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาส- ราชนครินทร สมเดจ็ พระนางเจาสริ กิ ติ ์ิ พระบรมราชินนี าถ และพระราชนัดดาทุกพระองคทรงเจริญ รอยตาม ดังพระองคท รงมพี ระโอวาทพระราชทานแกนักเรยี นแพทยศริ ริ าชวา “ขอใหถือประโยชนข องตนเปนกิจท่ีสอง ประโยชนของเพื่อนมนุษยเปนกิจที่หน่ึง” โครงการตาง ๆ เชน โครงการเรือเวชพาสน โครงการราชประชา สมาสัย โครงการแพทยอาสาชนบท โครงการถนั ยรกั ษ โครงการมูลนธิ ขิ าเทียม การสรางโรงพยาบาลสมเด็จ- พระยุพราช ฯลฯ ไดจึงเกิดข้ึนในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชที่ทรงเห็น ประโยชนของประชาชนเปน ท่หี นึง่ เสมอท้งั ยงั ทรงปลูกฝงใหพ ระบรมวงศานุวงศในสถาบันพระมหากษัตริยได ทรงงานเพอ่ื ประชาชนโดยเฉพาะในเร่ืองของสขุ ภาพความเปน อยู ในดานประเพณีในอดีต เชน สมัยสุโขทัยและอยุธยาสถาบันพระมหากษัตริยไดกําหนดกิจกรรม ประเพณีของหลวงในรอบปที่ตองปฏิบัติเรียกวาพระราชพิธีสิบสองเดือนในช้ันตนเปนพระราชประเพณี ท่กี าํ หนดใหสอดคลอ งกบั พิธกี รรมในศาสนาพราหมณ เชน พระพระราชพิธตี รยี มั ปวาย พระราชพิธีจองเปรียง พระราชพธิ ีจรดพระนงั คลั ฯลฯ แตตอ มามีการแทรกพิธีกรรมทางพุทธศาสนาเขาไปโดยเฉพาะในรัชกาลของ สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวทรงปรับเพ่ิมเติมพระราชพิธีพืชมงคลกับพระราชพิธีจรดพระนังคัลหรือบาง พระราชพธิ กี ก็ าํ หนดขน้ึ ใหม เชน พระราชพธิ เี ลยี้ งขนมเบื้องในฤดูกาลท่กี งุ ชมุ มีมันมากจึงทําขนมเบื้องหนากุง

162 ถวายพระสว นในเรอ่ื งการละเลนรื่นเรงิ กพ็ ระเจาแผนดินกท็ รงโปรดใหม กี ารเลนดอกสรอยสักวาท่ีทุงภูเขาทอง คลองมหานาคในกรงุ ศรอี ยธุ ยาคร้นั สรา งกรงุ เทพมหานครแลว พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธยอดฟาทรงโปรดให ขุดคลองมหานาคและสรางภูเขาทองขน้ึ แตม าแลวเสรจ็ ในสมัยรัชกาลสมเด็จพระนงั่ เกลาเจาอยูหวั การละเลนในประเพณีของหลวงนั้น ตอมาไดเ ผยแพรมาถึงชาวบานไมว าจะเปน โขน ละครในโมงครมุ ญวนหก บางอยางสามารถหาดูไดเฉพาะในงานพระราชพิธีเทานั้นภายหลังก็มีการนํามาดัดแปลงเปนแบบ ชาวบานจนในปจจุบันสามรถหาดูไดทั่วไปไมมีขอจํากัด ประเพณีศิลปวัฒนธรรมไทยเปนสิ่งท่ีแสดงถึง เอกลกั ษณมมี ากมายหลายแขนงลว นแลวท่ีชาวไทยตองชวยกันเรียนรู เขาใจอยางถองแท ตองรูจักพิจารณา วิเคราะหในการรักษาและพฒั นาใหเหมาะควรแกกาลสมยั โดยไมส ญู เสยี เอกลักษณค วามเปนไทย ในอดตี จนถงึ ปจจุบันมีสถาบันพระมหากษัตริยทรงทํานุบํารุงรักษาศิลปวัฒนธรรมและประเพณีไทยตลอดมาจึงนับวา บทบาทของสถาบนั พระมหากษัตรยิ ท ่มี ีตอ ชาติบา นเมืองน้นั ทรงคุณประโยชนอยา งย่งิ ในทกุ ดาน เจดีย์ภูเขาทองอยธุ ยา เจดีย์ภเู ขาทองวดั สระเกศ

163 บทท่ี 3 เศรษฐศาสตร สาระสําคัญ การเรียนรูเ กี่ยวกับเศรษฐศาสตรพ ื้นฐานเก่ียวกับระบบเศรษฐกิจ สถาบันทางการเงินและการคลัง ความสัมพันธและความเช่ือมโยงของระบบเศรษฐกิจระหวา งประเทศและการรวมกลุม ทางเศรษฐกิจของ ประเทศตา ง ๆ เพ่อื เชอื่ มโยงสแู นวคิด เศรษฐกจิ พอเพยี งระดบั ชุมชนและการดาํ รงชวี ติ ตวั ชี้วดั 1. วเิ คราะหป ญ หาและแนวโนมทางเศรษฐกจิ ของประเทศไทยได 2. เสนอแนวทางการแกปญหาของเศรษฐกจิ ของประเทศไทยในปจ จบุ ันได 3. รูแ ละเขาใจตระหนักในความสําคญั ของการรวมกลมุ เศรษฐกจิ ระหวา งประเทศ และประเทศตา ง ๆ ในโลก 4. รแู ละเขา ใจในระบบเศรษฐกจิ แบบตาง ๆ ในโลก 5. รแู ละเขาใจความสมั พนั ธและผลกระทบทางเศรษฐกจิ ระหวางประเทศของ ประเทศไทยกบั กลมุ เศรษฐกิจของประเทศตา ง ๆ ในภมู ิภาคในโลก 6. วิเคราะหค วามสาํ คญั ของระบบเศรษฐกิจและการเลอื กจัดกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ของประเทศตา ง ๆ ในโลกและผลกระทบ 7. เขา ใจในเรอ่ื งกลไกราคากบั ระบบเศรษฐกจิ 8. รแู ละเขาใจในเร่อื งการเงนิ การคลงั และการธนาคาร 9 เขา ใจในระบบของการธนาคาร 10. ตระหนกั ในความสําคญั ของการเงนิ สถาบนั การเงิน 11. วเิ คราะหผ ลกระทบจากปญ หาทางเศรษฐกจิ ในเร่ืองการเงิน การคลังของประเทศ และของโลกไว 12. รแู ละเขา ใจเรื่องแผนพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมแหงชาติ ขอบขา ยเนอ้ื หา เรื่องที่ 1 ความรเู บอื้ งตนเก่ียวกับเศรษฐศาสตร เร่ืองท่ี 2 ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย เรอ่ื งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ เรื่องท่ี 4 แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ เรือ่ งที่ 5 สถาบนั การเงินและการเงนิ การคลัง เรอ่ื งที่ 6 ความสัมพนั ธแ ละผลกระทบเศรษฐกจิ ระหวา งประเทศกบั ภมู ิภาคตาง ๆ ของโลก เรอ่ื งท่ี 7 การรวมกลมุ ทางเศรษฐกจิ

164 เร่ืองท่ี 1 ความรูเบอื้ งตนเกีย่ วกับเศรษฐศาสตร 1. ความรูเบื้องตนเกย่ี วกบั เศรษฐศาสตร 1.1 ความหมายและความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร 1) ความหมายของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตร หมายถึง สาขาวิชาหนง่ึ ในสงั คมศาสตรทีศ่ กึ ษาพฤตกิ รรมของมนษุ ยในการใชท รัพยากร ที่มอี ยูอ ยางจาํ กัด โดยการจดั สรรทรัพยากรไดอ ยา งเสมอภาคและเปน ธรรมและเปน ทีพ่ งึ พอใจ 2) ความสาํ คัญของเศรษฐศาสตร เศรษฐศาสตรเปนเรื่องเก่ียวเนื่องสัมพันธกับพฤติกรรมของคนในสังคมกับกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซ่ึงประกอบดวยการผลิต การกระจายผลิต และผูบริโภค เศรษฐศาสตรจึงมีบทบาทสําคัญตอการดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทกุ ชนดิ โดยเฉพาะเรอ่ื งการตัดสนิ ใจเกย่ี วกบั การผลิต การบริโภค และการซื้อขายการ แลกเปลี่ยนสินคาและบริการ เศรษฐศาสตรจึงเกี่ยวของกับชีวิตประจําวันของเราทุกคน ทุกระดับ ตั้งแตประชาชนท่ัวไปถึง ระดับประเทศ เศรษฐศาสตรเขาไปมีบทบาทในดานการใชทรัพยากรของประเทศใหเกิดประโยชนสูงสุดให ประชาชนกนิ ดอี ยูดี ไมถกู เอารัดเอาเปรยี บ แตเ น่ืองจากทรพั ยากรตาง ๆ ในโลกมจี ํากดั เมื่อเปรยี บเทยี บกับความตอ งการมนษุ ยซง่ึ มไี มจํากัดจึงทํา ใหเกิดการขาดแคลนขึ้น ในการอยูรวมกันของมนุษยจึงตองตัดสินใจเลือกอยางใดอยางหน่ึงในกระบวน การตดั สนิ ใจเลอื กจงึ นาํ ความรูเ ชิงเศรษฐศาสตรเขามาชว ยใหการตัดสนิ ใจแตล ะคร้งั ใหเกดิ ประโยชนสงู สดุ นอกจากนั้นเขาใจเศรษฐศาสตร จะทําใหเขาใจเหตุการณและระเบียบกฎเกณฑบางอยางท่ีตนเอง ตอ งมีสวนในการใหแ ละรบั ผลประโยชนรวมกัน เชน การเสียภาษี การไดรับประโยชนตอบแทนจากการเสีย ภาษไี ป เปนตน 1.2 หลกั การและวธิ กี ารจดั สรรทรพั ยากรทมี่ อี ยอู ยางจาํ กดั เศรษฐศาสตรเ ปนวิชาทพ่ี ยายามแกไขปญหาเศรษฐกิจข้ันพ้นื ฐานของมนุษย ไดแก ปญหาวาทําไมจึงผลิต จะผลิตอะไร ผลิตอยางไร และผลิตเพ่ือใคร รวมทั้งยังชวยแกไขปญหาที่ซับซอนมากขึ้น เพ่ือใหประเทศ สามารถบริหารจัดการทรพั ยากรใหสมั ฤทธ์ิผลและมปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีวตั ถปุ ระสงคด า นเศรษฐกจิ ดงั นี้ 1) ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจ หมายถึง การใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด ไดแก ที่ดิน แรงงาน และอืน่ ๆ ทาํ การผลติ โดยไดร บั ผลผลิตสงู สุด 2) การจางงานเตม็ ท่ี หมายถงึ การทค่ี นงานทุกคนทสี่ มัครใจทํางาน มงี านทาํ และเปน การทํางานเต็ม ความสามารถของแตละคน 3) ความมีเสถยี รภาพของระดับราคาสินคาและบริการ หมายถึง การท่ีระดับราคาสินคาและบริการ มกี ารเปลย่ี นแปลงเพียงเลก็ นอยและไมเปลี่ยนแปลงบอย เพราะจะทําใหผูบริโภคเดือดรอนและผูผลิตจะไม สามารถคาดการณภ าวะทางธรุ กิจไดอยางถูกตอง

165 4) ความเจรญิ เตบิ โตทางเศรษฐกจิ หมายถงึ การทผ่ี ลผลติ ของประเทศมแี นวโนมสงู ขนึ้ อยา งสมาํ่ เสมอ แสดงถึงีความเปน อยดู ขี ึน้ อยา งตอเนอ่ื งของคนในชาติ 5) ความเทาเทยี มกนั ของการกระจายรายได หมายถึง คนสวนใหญข องประเทศมรี ายไดไ มแตกตา งกนั มากนัก ทั้งน้เี พอ่ื ใหค นสวนใหญสามารถซอ้ื สินคาและบรกิ ารไดอยางเสมอภาค สรปุ การใชจา ยของรัฐบาล เปนมหภาค อปุ สงคต อ สนิ คาและบรกิ าร เปน จลุ ภาค ความแตกตา งทางเศรษฐกิจ ประเทศตาง ๆ มีความเจริญทางเศรษฐกิจแตกตางกัน เปนเพราะมนุษยดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ทัง้ ดา นเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมไดเหมาะสมสอดคลอ งกบั สภาพแวดลอมของประเทศ 1. ปจจัยทที่ ําใหเ กดิ ความแตกตางทางเศรษฐกจิ ปจ จัยทท่ี ําใหเกิดความแตกตางทางเศรษฐกิจ มีดงั นี้ 1) ภมู ิประเทศ เปน ลกั ษณะท่ปี รากฏบนผิวโลกเปน รูปแบบตาง ๆ เชน แมนาํ้ ภเู ขา ท่ีราบ ที่ราบ สูง เปนตน ประเทศสวนใหญที่มีเศรษฐกิจดี ประชากรมักต้ังถ่ินฐานบริเวณท่ีเปนท่ีราบลุมแมนํ้าอันมีดิน ตะกอนทบั ถมซึ่งมธี าตอุ าหารอุดมสมบูรณเ หมาะกับกจิ กรรมเพาะปลูก 2) ภูมิอากาศ เปนสภาพดินฟาอากาศซ่ึงประกอบดวยแสงแดด อุณหภูมิ นํ้าฝน ความช้ืน ความกดอากาศและลม ในเขตอากาศรอ นอณุ หภูมิจะสงู กวาในเขตอบอุนและเขตหนาว นอกจากน้ียังมีความ เขมของแสงแดดอันเปนปจจัยในการเจริญเติบโตของพืชและสัตว บริเวณที่มีฝนตกมากหรือมีน้ําใตดินจะ สามารถเพาะปลูกและเล้ียงสัตวได ลมที่พัดไมแรงมากจะชวยในการผสมเกสรและกระจายพันธุพืช ทําให ประเทศที่อยูในลกั ษณะภูมอิ ากาศแตกตา งกนั มคี วามเจรญิ ทางเศรษฐกิจตางกนั 3) ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติทส่ี ําคัญมี 4 ประเภท ไดแก (1) ทรัพยากรดนิ ดนิ ทมี่ อี ินทรียวตั ถุ ไมแนนทบึ เกินไปจะชว ยใหพ ชื เจริญเตบิ โตไดด เี หมาะแก การเพาะปลูก บริเวณที่ดินสลายตัวมากจากหินปูนกลายเปนดินขาว สามารถนํามาใชเปนวัตถุดิบในการ อุตสาหกรรมซีเมนตได (2) ทรัพยากรนํา้ ประเทศที่มีแหลงน้ํากระจายอยูท่ัวไปจะชวยใหสามารถประกอบกิจกรรม ทางเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมไดด ี (3) ทรัพยากรปาไม ชว ยใหม แี หลง ตน น้ําลาํ ธาร มคี วามชุมชน้ื ปองกันอุทกภัยไดสวนเนื้อไมใช เปน วัตถดุ บิ ในการผลติ เฟอรนเิ จอรและอน่ื ๆ ได (4) ทรัพยากรแร ถา เปน แรกน็ ําไปใชในอุตสาหกรรมหนักประเภทตา ง ๆ ได เชน แรโลหะ นาํ ไปใชเปน วัตถุดิบในอตุ สาหกรรมเคมี ใชท าํ ปุย ทาํ วัสดกุ อ สราง แรรัตนชาติ นําไปใชเ ปน เคร่อื งประดับราคาคอนขางสงู แรเ ชอ้ื เพลิง นําไปใชเ ปน แหลงพลงั งานทส่ี าํ คัญ มที ั้งทีอ่ ยูบ นบกและในทะเล

166 4) การเมอื งการปกครอง ประเทศทปี่ กครองโดยเสรี มักจะเปดโอกาสใหป ระชาชนตดั สนิ ใจดาํ เนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจตามความสามารถและโอกาส โดยอาศัยกลไกราคาเปนปจจัยในการเลือกตัดสินใจ เกิดการแขงขันกันเต็มที่ในการผลิตรายไดของบุคคลยอมแตกตางกันไปตามความสามารถและโอกาสของ แตละคน สวนประเทศทปี่ กครองระบอบคอมมิวนิสต รัฐเปนผูดําเนินการผลิตซ้ือขายแลกเปล่ียนสินคาและ บริการ ประชาชนมีรายไดจากคาแรงเทานั้น สําหรับประเทศที่ปกครองแบบสังคมนิยม ประชาชนดําเนิน กิจกรรมทางเศรษฐกิจท้ังเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมขนาดยอมโดยควบคุมการผลิตขนาดใหญทําให ประชาชนมฐี านะไมแ ตกตา งกนั มากนกั 5) ความกาวหนาทางเทคโนโลยี ประเทศที่ดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจไดโดยเสรีจะเกิดการ แขงขันอยางเต็มท่ี ใชความสามารถ ความคิดริเร่ิม มีการลงทุนและพัฒนาเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต มสี นิ คา ใหม ๆ และมีสินคา คณุ ภาพดี และสามารถลดการทําลายสภาพแวดลอมได 6) ประชากร ประเทศท่ีมีประชากรเพ่ิมอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม เพราะมคี วามตอ งการในการบริโภคในประเทศมากพชื ผลทผี่ ลติ ไดภ ายในประเทศมีปรมิ าณลดลงไมเพยี งพอกบั การสงออกทําใหประเทศขาดรายได ขาดดุลการคาและดุลชําระเงิน สุขภาพอนามัยของประชากรไมดี เพราะขาดอาหาร มกี ารวา งงาน มากข้นึ และการอพยพยา ยถ่นิ จากชนบทสูเมืองมีสูงข้ึน ประเทศท่ีมีลักษณะ เชนนม้ี กั เปน ประเทศดอยพฒั นาคอ นขา งยากจน แบบฝก หัดทา ยบท เรอื่ งท่ี 1 : ความรเู บอ้ื งตน เก่ยี วกับเศรษฐศาสตร คําสั่ง เมือ่ ผูเ รียนศึกษาเรือ่ งความรเู บ้อื งตนเก่ียวกบั เศรษฐศาสตรจบแลว ใหทําแบบฝกหัดตอไปนี้ โดยเขียน ในสมุดบนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นรู แบบฝกหดั ที่ 1 ใหตอบคาํ ถามตอไปนี้ 1. เศรษฐศาสตร หมายถึง อะไรและมคี วามสาํ คญั และท่ีเกย่ี วขอ งกบั ชีวิตประจาํ วนั ของประชาชน อยางไร ................................................................................................................................................................ 2. ระบุปจจยั ทท่ี าํ ใหเ กิดความแตกตางทางเศรษฐกิจ มา 3 - 5 ปจจัย ...........................................................................................................................................................

167 แบบฝกหดั ท่ี 2 ใหศึกษาพฤติกรรมของมนุษยในทางเศรษฐศาสตรและตัดสินวาเก่ียวของกับเศรษฐศาสตร สาขาใด โดยกาเคร่ืองหมาย √ ลงในชอ งที่ถูกตอง พฤติกรรม เศรษฐศาสตรจ ลุ ภาค เศรษฐศาสตรม หภาค 1. การปลอยนํา้ เสียของโรงงานอุตสาหกรรมใน กทม. 2. การวา งงานของประชากรไทย 3. การผลติ ขา วของชาวนาในภาคเหนือ 4. การซอื้ ขาย แลกเปล่ยี นสินคา ในตลาด 5. การเก็บภาษีอากร 6. พฤตกิ รรมของผบู ริโภค 7. ปญ หาเงินเฟอ 8. ปญหาทางการคลังของรฐั บาล 9. การกกั ตนุ สนิ คาของพอ คาคนกลาง 10. รายไดป ระชาชาติ 11. ปญ หาการขาดดุลบัญชีเดินสะพัด 12. ปญหาการสงออกลดลง 13. ปญหาการจราจรติดขัดในกรุงเทพมหานคร 14. ความนิยมในการใชสนิ คา ฟุมเฟอ ยของเยาวชน 15. ปญหาการลงทนุ ในประเทศลดลง

168 แบบฝกหดั ท่ี 3 ใหผูเรียนอานเร่อื งตอ ไปน้ี แลวตอบคําถามในตอนตอไป “ครอบครัวของขวญั ” ขวัญเปน ผูห ญงิ ตวั เล็ก ๆ คนหน่ึงท่จี าํ เปนตอ งแบกรบั ภาระของครอบครัวเนื่องจากสามีเสียชีวิตดวย อุบัตเิ หตุขณะทาํ งานกอ สรา ง แมวาขวญั จะดน้ิ รนเพื่อปากทองของครอบครวั อยา งไรกต็ าม แตคาใชจ า ยก็ยังไม พอเพียงอยนู ่ันเอง เธอมปี ญหาเรอ่ื งคา เชาบา น คานาํ้ คาไฟ จนกระท่งั วันหนึ่งเธอตดั สินใจวาจะเลิกเชาและ ออกหาทีอ่ ยูใหมแ ตดวยความสงสารเจาของบา นเชา มเี มตตาอนญุ าตใหเ ธอและลกู อยไู ดโดยไมตองเสีย คานํ้า คาไฟ ชวยหางานใหข วัญทําโดยใหเ ธอไปซักผา จายคา จา งเดือนละ 2,000 บาท เม่อื หักคาเชาบานแลวขวัญ กจ็ ะเหลือไวใชจายแค 1,200 บาท ซ่ึงมันก็ยังไมเพียงพอสําหรับเธออยูน่ันเอง แตขวัญก็ไมทอถอยหรือส้ิน หวัง เพราะเธอยังมีลูก ๆ ทตี่ อ งคอยดูแล มภี าระทจ่ี ะตอ งหาเลี้ยงครอบครวั สิง่ ทีเ่ ธอวาดหวงั อยใู นขณะนี้ คอื การท่ลี ูก ๆ ไดกินอ่มิ นอนหลับ และไดเ รียนหนังสือเหมอื นเดก็ คนอืน่ ๆ ผูเ รยี นตอบคําถามตอ ไปนี้ 1. เพราะเหตใุ ดคนเราจงึ ตองแสวงหารายได ........................................................ 2. ในการดาํ รงชวี ิตของคนเรา ตอ งอาศัยปจจยั อะไรบา ง........................................ 3. เศรษฐศาสตรไดเขามาเก่ยี วของกบั ชีวติ มนุษยใ นเรอื่ งใดบา ง............................ 4. ส่ิงท่ที าํ ใหขวญั มชี วี ิตอยไู ดโดยไมย อทอตออปุ สรรค คอื อะไร............................. 5. ขวญั เปน ตวั อยางทดี่ ีในเรือ่ งอะไรบาง.............................................................. แบบฝก หัดท่ี 4 ใหผ ูเรยี นศึกษาปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจตอไปนี้ แลวตอบคําถาม ปญ หาพ้ืนฐานทางเศรษฐกจิ เปนปญ หาทีเ่ กิดขึ้นในทุกสังคม ไมว า จะเปน ประเทศทีใ่ ชระบบเศรษฐกิจ แบบใด เนือ่ งจากทุกประเทศจะประสบปญหาความไมสมดลุ ระหวา งประชากรและทรพั ยากร ไดแก 1. ปญหาการจดั ระบบการผลติ ไดแ ก 1.1 ปญหาวาจะผลิตอะไรดี (What) เน่อื งจากทรพั ยากรมจี ํากดั แตความตองการของเรามีไม จํากดั จงึ ตอ งตดั สนิ ใจวา จะผลิตอะไรกอ นหรือหลงั 1.2 ปญหาวาจะผลิตอยางไร (How) คือจะใชวิธีผลิตอยางไรหรือจะใชเทคโนโลยีอะไรท่ีจะ นาํ มาใชในการผลิต 1.3 ปญหาวา จะผลติ เพอื่ ใคร (For Whom) คอื สินคาทผ่ี ลติ ไดจ ะแบง สรรไปยงั บคุ คล กลุมใดบาง การตดั สินปญหาท้ัง 3 นี้ ในประเทศทใ่ี ชร ะบบเศรษฐกจิ ทุนนยิ ม จะปลอ ยใหกลไกราคาเปนเครื่อง ตดั สิน ในประเทศสังคมนิยมรฐั บาลจะเปน ผตู ัดสนิ ปญ หา สว นในประเทศทีใ่ ชระบบเศรษฐกจิ แบบผสม รัฐบาล จะกาํ หนดกลไกแหง ราคา มีสว นในการตัดสนิ ปญ หา 2. ปญ หาการเลอื ก เน่ืองจากทรพั ยากรมจี าํ กัด จงึ ตองตดั สนิ ใจวาจะเลือกผลิตสินคาอะไรมากนอย เทา ใด เพราะตอ งแบง ปจ จยั การผลิตในการผลติ สนิ คา เหลาน้ันไปสูการผลิตสินคาชนิดอื่น ๆ ในการเปรียบเทียบ

169 การผลิตสินคา 2 ชนดิ ในทางเศรษฐศาสตรจะแสดงโดยใชเสน แสดงความสามารถในการผลิตตามหลกั การทีว่ า เมอ่ื เราผลิตสนิ คาชนิดหนึง่ ไดมาก เรายอ มผลิตสนิ คาอกี ชนิดหน่ึงไดน อยลง 3. ปญหาประชากร ปญ หาประชากรโลกเกิดจากบางประเทศมีประชากรมากเกินไป บางประเทศมี ประชากรนอ ยเกนิ ไป โทมสั โรเบิรต มลั ทสั ไดเสนอแนวทางควบคุมประชากรโลก โดยการ 3.1 มนุษยห าทางคมุ กําเนดิ 3.2 มีตวั ยับยั้งธรรมชาติ เชน ภยั ธรรมชาติ โรคระบาด สงคราม เปนตน การมปี ระชากรมาก ไมไ ดเปนผลเสียเสมอไป ผลดีของการมีประชากรมากคือ ทําใหมีแรงงานมาก ประชากรมีความตองการบริโภคสินคามาก ทําใหเศรษฐกิจขยายตัว การผลิตสินคาในปริมาณมาก ๆ ทาํ ใหต น ทุนในการผลติ ต่ํา แตผ ลเสยี ของการมีประชากรมากก็มมี ากกวา กลาวคอื ทาํ ใหประชากรในวยั เด็กมาก เกินไป ฐานะครอบครัวยากจน และเปนภาระของรัฐในการเลี้ยงดูประชากร กอใหเกิดปญหาทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ตามมา ทุกประเทศจึงตองการใหมปี ระชากรพอดี หมายถึง จํานวนประชากรท่ีมีรายไดเฉลี่ยแตละบุคคล สูงสุดตามกําลังทรัพยากรท่ีมีอยู มีผลทําใหคนในประเทศนั้นมีมาตรฐานการครองชีพสูง มีการศึกษาดี มปี ระสทิ ธิภาพในการผลิตและการบริโภค เชน ประเทศญีป่ ุน เปนตน ผเู รียนตอบคาํ ถามตอ ไปน้ี 1. ปญหาพนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ ของทกุ ๆ ประเทศ ไดแ ก .................................... 2. ปญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกิจเกดิ ข้ึนเนือ่ งจาก ................................................. 3. การแกป ญ หาการจัดระบบการผลติ ประเทศไทยใช ..........................................ชวยแกปญ หา 4. ปญหาการเลอื ก หมายถงึ ............................................................................. 5. เสนแสดงความสามารถในการผลติ หมายถงึ ................................................ 6. การทีเ่ สน แสดงความสามารถในการผลิตเคลื่อนมาทางขวามือ หมายความวา ........................................................................................................................ 7. ประเทศที่มจี าํ นวนประชากรมากเกินไป ไดแก .............................................. 8. การมปี ระชากรมาก กอใหเกดิ ผลดคี ือ ............................................................ การมีประชากรมาก กอ ใหเกดิ ผลเสีย คือ.......................................................... 9. การมีประชากรนอย กอใหเ กดิ ผลเสยี คือ............................................................ 10. โทมัส โรเบริ ต มลั ทสั กลา ววา “มนุษยจ ะไมอดตาย ถา ..........................”

170 เรือ่ งท่ี 2 ระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง สถาบันทางเศรษฐกิจ ที่ประกอบดวยหนวยเศรษฐกิจหลาย ๆ หนวยมา รวมกัน มีกฎเกณฑ ระเบียบแบบแผน และแนวปฏิบัติอยางเดียวกันมีรูปแบบการจัดระบบสังคม เพื่อนํา ทรัพยากรมาใชใ นการผลติ สนิ คา และบริการ รวมถึงการจาํ แนกแจกจา ยสนิ คา และบริการนัน้ ใหกบั คนในสงั คม ระบบเศรษฐกจิ ยงั รวมถงึ การจดั ระบบการครอบครองปจจัยการผลิต การควบคุมราคาและคาจางหรือระบบ ตลาด ซึ่งสิ่งเหลา น้ีจะเปนตวั กําหนดชนดิ ปริมาณ และวธิ ีการผลิต โดยใชเปนเกณฑในการแบงปนสวนสินคา และบรกิ ารใหก ับคนในสงั คมดว ย ความหมายระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกิจ หมายถึง กลุมบุคคลของสังคมท่ีรวมตัวกันเปน กลุมของสถาบันทางเศรษฐกิจ ซึ่งยดื ถือแนวปฏิบตั ิแนวทางเดียวกนั ในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เพอื่ ใหสามารถบาํ บัดความตอ งการ แกบคุ คลตาง ๆ ทอ่ี ยรู ว มกันในสังคมนน้ั ใหไ ดรับประโยชนมากทส่ี ุด เกดิ ประสิทธภิ าพสูงสดุ ความสาํ คัญของระบบเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจ มคี วามสําคัญในฐานะเปนผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจของสังคม ซึ่งจะพอสรุป ได ดงั นี้ 1. ความสาํ คญั ในการจดั หาสินคาและบริการ เพื่อสนองความตอ งการของสมาชิกในสังคมนับต้ังแต ความตองการข้ันพ้ืนฐานในการดํารงชีวิต จนถึงความตองการในสิ่งอํานวยความสะดวก ระบบเศรษฐกิจ จงึ กําหนดการแกไขปญหาพน้ื ฐานทางเศรษฐกจิ ทาํ ใหท ราบวา จะผลติ อะไร ผลติ อยางไร ผลิตเพอื่ ใคร และจะ แลกเปลย่ี นหรอื กระจายสนิ คา อยา งไร 2. ความสําคัญในการผลิตสินคาและบริการ โดยการจัดแบงงานใหสมาชิกในสังคมมีการทํางาน ในอาชพี ทตี่ นถนัด เพอื่ ใหไ ดผลผลติ ทีด่ ีมีประสทิ ธิภาพ เปน การใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิดประโยชน สงู สดุ 3. ความสําคัญในการกําหนดระเบียบแผนการผลิต ระบบเศรษฐกิจจะกําหนดระเบียบการเปน เจาของทรัพยส นิ หรือปจจัยการผลิต และควบคุมสถาบันทางเศรษฐกิจใหมีระเบียบแบบแผน เชน ตลาดคน กลาง ธนาคาร ฯลฯ 4. ความสําคัญในการแกปญหาทางเศรษฐกิจ ระบบเศรษฐกิจจะเปนแนวทางแกไขปญหาทาง เศรษฐกจิ ของประเทศ และดาํ เนนิ การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศใหเ จรญิ กาวหนา 5. ความสําคัญในการกระจายรายไดไปยังสวนตาง ๆ ของสังคม เพ่ือลดชองวางทางเศรษฐกิจ ระหวางผูที่มีความเขมแข็งและออนแอทางเศรษฐกิจของสังคม เพื่อมาตรฐานการครองชีพที่ดีและการอยู รวมกันอยางเปนสุขของสมาชกิ ในสงั คม

171 ระบบเศรษฐกิจจึงมีความสําคัญตอสมาชิกของสังคมและผูบริหารประเทศ ในการเลือกใชระบบ เศรษฐกิจใหเหมาะสมกบั การเมืองการปกครอง จารีต ประเพณี วฒั นธรรม และชีวิตความเปนอยูของสมาชิก ในสงั คม เพอ่ื ใหไดม าตรฐานการดํารงชีวิตทีด่ ี และมีประสทิ ธภิ าพ ระบบเศรษฐกิจในปจ จบุ ัน การแบง ระบบเศรษฐกิจในปจจุบัน โดยพิจารณาจากสภาพความเปนจริงและสถาบันทางเศรษฐกิจ ประกอบกัน เราอาจแบง ระบบเศรษฐกิจออกเปนระบบใหญ ๆ ได 3 ระบบ คอื 1. ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม 1.1 ลักษณะสําคัญของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนยิ ม 1) เอกชนเปน เจาของทรัพยสินและปจจัยการผลิต บุคคลมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสวนตัวมี สิทธทิ ีจ่ ะใชแ สวงหา หรอื จําแนกแจกจายอยา งใดก็ได 2) เอกชนมีเสรีภาพในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจท้ังในดานการผลิตสินคา การจําแนกแจกจายหรอื การกระจายสินคา การบริโภค ซึง่ จะทาํ ใหเกดิ การผลิตสินคาใหม ๆ มากขน้ึ และสงผล ใหสังคมนนั้ เจรญิ กา วหนา 3) มีการแขง ขนั ระหวางเอกชนในการดาํ เนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจอยา งกวา งขวาง เนือ่ งจาก ทุกคนมอี ิสระในการผลิต การบรโิ ภค การคา การแขงขัน จึงเปนส่ิงท่ีหลีกเลี่ยงไมได ซึ่งการแขงขันจะทําใหมี การเพม่ิ ประสิทธิภาพมากขน้ึ และเปนผลดีตอ ระบบเศรษฐกิจ 4) การผลิตข้นึ อยกู บั กลไกราคา ในระบบนี้ราคาและตลาด จะทําหนาที่ตัดสินปญหาพื้นฐาน ทางเศรษฐกิจ กลาวคือ การดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจในเรื่องการผลิต กรรมวิธีในการผลิต การจัดสรร ผลผลิต จะถูกจดั สรรโดยผา นตลาด ผูท่ีมีอาํ นาจตดั สินใจในเร่ืองน้ี ไดแก ผูผลิตและผูบริโภค โดยทั้งสองฝาย จะมสี ว นรว มในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกิจผานกระบวนการปรับตัวของราคาผา นกลไกราคา 5) มีกําไรเปน แรงจูงใจในการผลติ จดุ มงุ หมายสงู สุดของการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ คือ การพยายามแสวงหาผลประโยชนในการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตางๆ ใหไดมากที่สุด โดยผูผลิตมี จุดมุง หมายเพือ่ แสวงหากาํ ไรสงู สดุ ในขณะทผี่ บู รโิ ภคก็จะพยายามใหตนเองไดร ับความพอใจสงู สุดจากการซื้อ สนิ คาและการบริการมาบรโิ ภคในแตละคร้ัง 6) มกี ารใชท ุนและเทคโนโลยีท่ีกาวหนา จากการท่ีเอกชนมีการแขงขันกันอยางกวางขวาง ผผู ลติ แตละรายตา งเนนการผลิตสินคาท่ดี มี ีคณุ ภาพเหนอื คแู ขง ขนั จงึ นาํ ทนุ และเทคโนโลยีที่กาวหนามาใชใน การผลิต สงผลใหประเทศชาติเจรญิ กา วหนามากขน้ึ 7) รัฐไมเขาแทรกแซงการผลิต รัฐบาลไมเขาควบคุมหรือแทรกแซงใด ๆ ปลอยใหกิจกรรม ทางเศรษฐกิจดําเนนิ ไปอยา งเสรี

172 1.2 ขอ ดีของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม 1) เกิดประโยชนตอผูบริโภค เพราะมีการแขงขัน ทําใหมีสินคาท่ีมีคุณภาพและราคา ไมส งู มาก 2) เกิดประโยชนตอผูผลิต เพราะมีเสรีภาพในการผลิตทําใหเอกชนมีความคิดริเร่ิม สรางสรรคทจ่ี ะผลิตสนิ คา ใหม ๆ และมคี ณุ ภาพท่ีดเี พ่ือสนองความตองการผบู รโิ ภค 3) ลดภาระของรัฐบาลในการเขา ไปดําเนินธุรกจิ ดวยตนเอง 4) การมีเสรภี าพในการประกอบธรุ กิจอยางเต็มที่ กอ ใหเ กดิ การแขง ขันอยางเสรี ทําใหเกิด ประสทิ ธภิ าพสงู สุดในการผลติ 5) ทาํ ใหเกิดการสะสมความมั่งค่ังในรูปทุนตาง ๆ ซ่ึงเปนแรงจูงใจใหผูประกอบการขยาย ความมง่ั ค่งั ออกไปและพฒั นาความสามารถในการสรา งสรรคเ ทคโนโลยตี า ง ๆ ตอไป 1.3 ขอเสยี ของระบบเศรษฐกิจแบบทนุ นิยม 1) กอใหเ กดิ ปญ หาความเหล่ือมลํ้า อันเนื่องจากความสามารถท่ีแตกตา งกันในแตล ะบุคคล โดยพื้นฐาน ทําใหค วามสามารถในการหารายไดไ มเทากัน ผูที่มีความสามารถสูงกวาจะเปนผูไดเ ปรียบผูท ่ี ออ นแอกวาในทางเศรษฐกจิ 2) สินคา และบริการท่ีมีลักษณะของการผูกขาด โดยธรรมชาติหรือสินคา และบริการ สาธารณะ ซึ่งไดแ ก บริการดานสาธารณูปโภค (นํ้าประปา ไฟฟา โทรศัพท ) โครงสรางพื้นฐาน (ถนน เขื่อน สะพาน ) จะเหน็ ไดว าสนิ คาและบรกิ ารดงั กลา วสว นใหญจะตอ งใชเ งินลงทนุ มาก เทคโนโลยที ที่ นั สมยั เสย่ี งกบั ภาวะการขาดทุน เนือ่ งจากมรี ะยะการคืนทุนนาน ไมคุม คา ในเชงิ เศรษฐกิจ ทําใหเ อกชนไมค อ ยกลา ลงทุนท่ีจะ ผลิต สงผลใหรฐั บาลตองเขา มาดาํ เนินการแทน 3) การใชร ะบบการแขง ขนั หรือกลไกลราคาอาจทาํ ใหเกดิ การใชทรพั ยากรทางเศรษฐกิจ อยา งสิ้นเปลือง เชน การแขงขันกันสรางศูนยก ารคา เพราะคิดวา เปนกิจการที่ใหผลตอบแทนหรือกําไรดี ซงึ่ ศนู ยการคาเหลา นเ้ี มอ่ื สรางข้นึ มามากเกินไปกอ็ าจไมม ผี ซู ือ้ มากพอ ทําใหป ระสบกับการขาดทนุ เปน ตน 2. ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม เปน ระบบเศรษฐกิจที่ใหเ สรภี าพเอกชนในการดาํ เนนิ ธุรกจิ ขนาด เล็กและขนาดกลาง รฐั เขาควบคุมการผลติ และเปนเจาของปจ จัยการผลิตที่เปนทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อลด ชองวา งทางเศรษฐกิจและจดั สวัสดิการใหส ังคม 2.1 ระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม มลี ักษณะดงั น้ี 1) เอกชนมีสิทธใ์ิ นทรัพยส ินหรือธุรกิจขนาดยอ มได 2) รัฐเปน ผูดาํ เนินการในเรอ่ื งการใหบ ริการสาธารณปู โภคตาง ๆ เชน ประปา ไฟฟา อตุ สาหกรรมทใี่ ชทรพั ยากรธรรมชาติเปน วัตถุดบิ กจิ การธนาคาร เปนตน 3) มีการใชร ะบบภาษีเพอ่ื กระจายทรัพยสินและรายได 4) รฐั ใหบ รกิ ารทางสงั คมอยางกวา งขวาง 5) เอกชนดําเนนิ การธรุ กิจในรูปของสหกรณ 6) กลไกราคามีบทบาทแตไ มใ ชสวนสาํ คญั ของระบบ

173 การทรี่ ฐั เขา ไปควบคมุ และดําเนนิ การใชทรพั ยากรธรรมชาติ ทําใหผ ลประโยชนเ กิดกบั ประชาชนเตม็ ท่ี ท้ังยังเปนการลดชองวางทางเศรษฐกิจของบุคคลในสังคมลง ประชาชนมีเสรีภาพทางการเมืองและไดรับ สวสั ดิการจากรัฐ ในทางธุรกิจเอกชนท่ีเปนผูผลติ ขาดแรงจูงใจในการประกอบธรุ กจิ 2.2 ขอ ดีของระบบเศรษฐกจิ แบบสงั คมนยิ ม จุดเดนของระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมก็คือ เปนระบบเศรษฐกิจที่ชวยลดปญหาความ เหลือ่ มลํ้าทางฐานะและรายไดของบุคคลในสังคม ภายใตระบบเศรษฐกิจนี้เอกชนจะทําการผลิตและบริโภค ตามคําสง่ั ของรฐั ผลผลิตทผ่ี ลติ ข้นึ มาจะถูกนําสง เขาสว นกลาง และรฐั จะเปนผูจัดสรรหรือแบงปน สินคาและ บริการดังกลา วใหป ระชาชนแตละคนอยา งเทาเทยี มกนั โดยไมมีการไดเปรียบเสยี เปรียบ 2.3 ขอ เสียของระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม ภายใตระบบเศรษฐกิจแบบสงั คมนิยม เนอื่ งจากปจ จยั การผลิตพนื้ ฐานอยูในการควบคมุ ของ รฐั บาลทําใหขาดความคลอ งตวั การผลิตถูกจํากัดเพราะตอ งผลิตตามที่รัฐกําหนด โอกาสท่ีจะขยายการผลิต หรือพฒั นาคณุ ภาพการผลติ เปนไปคอ นขา งลาํ บาก ทาํ ใหก ารใชท รัพยากรทางเศรษฐกิจอาจเปน ไปอยา งไมมี ประสิทธภิ าพ ขาดการแขง ขนั การผลิต ทาํ ใหสินคาไมม ีคณุ ภาพเพราะเปนการผลิตผูกขาด บริการจัดการผลิต โดยรัฐบาล 3. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม เปนระบบเศรษฐกิจท่ีใหเ สรีภาพเอกชนในการดําเนนิ ธุรกจิ เปน สวนใหญ รัฐบาลเขาแทรกแซงกิจกรรมบางอยาง เชน เขาแทรกแซงการผลิตและการตลาดเฉพาะที่จําเปน เพ่ือการ กระจายรายไดท ี่เปน ธรรม เปน ตน 3.1 ลกั ษณะสาํ คญั ของระบบเศรษฐกิจแบบผสม 1) เอกชนมสี ิทธ์ใิ นทรัพยสินและปจ จยั การผลิต 2) รฐั มีบทบาทเพ่ือดําเนินการผลิตบางอยางท่ีจําเปน เชน การรถไฟ ขนสงมวลชน ไฟฟา โทรศพั ทใ นรปู ของรัฐวิสาหกิจ เปนตน 3) เอกชนเปน ผวู างแผนและดําเนินการผลิต 4) การผลติ มีการแขงขัน โดยผานกลไกราคาแตร ัฐแทรกแซงไดเมื่อเกิดปญหา ระบบเศรษฐกิจ แบบผสมชว ยแกไขปญ หาการผูกขาด การแทรกแซงเศรษฐกิจของรัฐเฉพาะที่จําเปน ประชาชนมีเสรีภาพทาง การเมอื ง แตก ิจกรรมบางอยา งที่รฐั ดําเนินการเองอาจขาดทนุ และขาดประสิทธิภาพได ขอ ดขี องระบบเศรษฐกจิ แบบผสม เปน ระบบเศรษฐกิจท่ีคอนขางมีความคลองตัว กลา วคือ มีการใชกลไกรัฐรวมกับกลไกราคาในการ จัดสรรทรพั ยากรของระบบ กจิ การใดท่กี ลไกราคาสามารถทาํ หนาที่ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ รัฐก็จะใหเอกชน เปน ผดู ําเนินการโดยการแขง ขนั แตถ ากิจการใดที่กลไกลราคาไมสามารถทําหนา ที่ไดอ ยางมีประสิทธิภาพรัฐ ก็จะเขา มาดําเนนิ การแทน จะเห็นไดวาเศรษฐกิจแบบผสมเปนระบบเศรษฐกจิ ทผี่ สมผสาน กลา วคือ รวมขอ ดี ของทั้งระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและสังคมนิยมเขาไวดวยกัน อยา งไรก็ตามระบบเศรษฐกิจดังกลา วก็มี ขอเสยี ดว ย เชน กนั

174 ขอ เสียของระบบเศรษฐกจิ แบบผสม 1) การแกไขปญ หาชอ งวางทางสังคมและปญหาความเหลอื่ มลาํ้ ทางรายได มกั ไมม ปี ระสิทธิภาพ 2) นายทุนมอี ิทธิพลเขม แข็งทางดานเศรษฐกิจและการเมือง โดยเปนผูสนับสนุนพรรคการเมือง ตลอดจนไดร บั ผลประโยชนจ ากพรรคการเมืองที่ตนสนบั สนนุ 3) การกาํ หนดนโยบายและการใชอํานาจตาง ๆ ข้นึ อยูกบั รฐั บาล จึงทําใหน กั ธรุ กิจขาดความมนั่ ใจ ในการลงทนุ ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทยในปจจบุ ัน ระบบเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบัน เปนระบบผสมที่เนนทุนนิยม โดยมีรัฐบาลเปนผูวางแผน พฒั นาเศรษฐกจิ และสังคม เปนเจาของปจ จัยการผลิต และเปนผูดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ เฉพาะที่เปน พนื้ ฐานทางเศรษฐกจิ สําหรับเอกชนมเี สรภี าพในการผลติ และการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกจิ เปนสวนใหญ มีสิทธิเปนเจาของทรัพยสินและปจจัยการผลิต มีการแขงขัน และมีกลไกตลาดเปนเครื่องมือในการจัดสรร ทรพั ยากร โดยรัฐบาลจะแทรกแซงการผลติ และการตลาดเมอื่ จาํ เปน เชน ควบคุมราคาสนิ คาเม่อื เกดิ ภาวะขาด แคลน หรือประกันราคาขา วเปลือกเพื่อชว ยเหลือเกษตรกรในกรณรี าคาขา วตกตํา่ เปน ตน การดาํ เนินกิจกรรม ทางเศรษฐกจิ ของรัฐบาลจะเขามามีบทบาทเฉพาะเทาทจี่ าํ เปน เทาน้ัน เชน 1) ดําเนินการเกี่ยวกับการปองกันประเทศ ความสงบภายใน และการใหความยุติธรรม เชน กิจการดานการทหาร ตํารวจ และศาล เปน ตน 2) ดําเนินการดานเศรษฐกิจพื้นฐาน เชน การสรางถนน สะพาน เข่ือน การสํารวจเพื่อหา ทรพั ยากรธรรมชาติ เปนตน 3) ควบคุมและดําเนินการดานการศึกษาและสาธารณสุข โดยใหการศึกษาแกเยาวชน ควบคุม การจัดการศกึ ษาของเอกชน จดั การเก่ียวกบั การรักษาพยาบาลแกป ระชาชน 4) ดาํ เนนิ กจิ การสาธารณปู โภคท่ีสําคัญ เชน การรถไฟ การไฟฟา การประปา การส่ือสารไปรษณีย การจัดเก็บขยะมูลฝอย เปนตน เพราะเปนกิจการที่ประชาชนสวนใหญตองใชรวมกัน สวนกิจกรรมทาง เศรษฐกิจอื่น ๆ นอกเหนือจากรัฐดําเนินการ เอกชนมีสิทธิที่ดําเนินการอยางเสรี โดยมีกลไกแหงราคาเปน เครื่องชีน้ าํ นอกจากนร้ี ัฐบาลยังใชร ะบบภาษใี นอตั รากา วหนา เพื่อกระจายรายไดและลดความเหลื่อมล้ําในรายได ตลอดจนจัดใหม ีการสวสั ดิการแกป ระชาชน ผูมรี ายไดนอย เชน การประกันสังคม กองทุนเล้ียงชีพ 30 บาท รักษาทกุ โรค การกําหนดคาจา งแรงงานขนั้ ตาํ่ เพ่ือปอ งกันการเอาเปรยี บผูใชแรงงาน การสรางงานในชนบท การสงเคราะหค นชรา คนพิการ เปน ตน ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกจิ นกั เศรษฐศาสตรจ ะใชร ายไดประชาชาตเิ ปน เครื่องมอื ในการวัดและวเิ คราะหกิจกรรมทางเศรษฐกจิ วา มคี วามเจรญิ เตบิ โตหรอื ตกตา่ํ ปญ หาทเ่ี กิดข้นึ และแนวทางแกไ ขรายไดป ระชาชาติจึงเปนตัวเลขท่ีแสดงถงึ

175 ฐานะเศรษฐกจิ ของประเทศการศึกษาการเปลยี่ นแปลงของรายไดประชาชาตจิ ะทําใหท ราบถึงความเคลอื่ นไหว ในทางเศรษฐกจิ องคก ารสหประชาชาติ สนับสนุนใหประเทศทั่วโลกจดั ทาํ รายไดป ระชาชาติเพ่อื เปน มาตรฐาน ทางเศรษฐกิจใชวเิ คราะหแ ละเปรยี บเทียบกับประเทศตาง ๆ 1. ความหมายของรายไดป ระชาชาติ รายไดประชาชาติ หมายถึง มูลคาที่เปนตัวเงินของสินคาและบริการข้ันสุดทายท่ีประชาชาติของ ประเทศผลิตไดใ น 1 ป รายไดประชาชาติของไทย หมายถึง ผลรวมของคาเชา คาจาง เงินเดือน ดอกเบ้ีย และกําไรที่ ประชาชนคนไทยผลิตสนิ คาและบรกิ ารในรอบ 1 ป รายไดประชาชาติของไทย เร่ิมจัดทําในป พ.ศ. 2493 โดยกองบัญชีรายไดประชาชาติ สํานักงาน คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี โดยนําเอารายไดท้ังหมดท่ีเกิด จาก คา เชา คา จาง ดอกเบยี้ และกาํ ไร ของประชาชนท่ผี ลติ สนิ คา และบรกิ ารในรอบ 1 ป มารวมกัน 2. ความสาํ คญั ของรายไดป ระชาชาติ รายไดประชาชาติเปนตัวเลขท่ีช้ีใหเห็นวาในปนี้นั้นระบบเศรษฐกิจสามารถผลิตสินคาและบริการ รวมไดมากนอยเพียงใด อยางไร บญั ชรี ายไดประชาชาตจิ ึงมคี วามสําคัญและเปนประโยชน ดงั น้ี 1) รายไดป ระชาชาติ เปนเครื่องชี้ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เปนตัวบอกระดับความเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ โดยมีความสัมพันธในทิศทางเดียวกัน เชน ถารายไดประชาชาติสูงขึ้น แสดงวาเศรษฐกิจ ในภาพรวมของประเทศเจริญรงุ เรืองข้นึ ในทางตรงขา มถา รายไดประชาชาติลดลง แสดงวาเศรษฐกิจถดถอย เขาสภู าวะตกตาํ่ 2) รายไดประชาชาติบอกใหทราบการผลิตในแตละสาขามีมูลคาเทาใด ผลผลิตสวนใหญมาจาก สาขาใด ทําใหทราบถงึ โครงสรา งการผลิตของประเทศนนั้ วา เปน เกษตรกรรมหรืออตุ สาหกรรมนอกจากนี้ทาํ ให ทราบรายไดสวนใหญว าอยูในประเภทใด ระหวาง คาเชา คาจาง ดอกเบ้ียและกําไร ตลอดจนรูขอมูลการใช จายสวนใหญข องประชาชน เปนการใชจา ยในลกั ษณะใด เพ่ือการอปุ โภค บริโภค หรอื การลงทนุ 3) ตัวเลขรายไดป ระชาชาติ สามารถใชเปรยี บเทยี บฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศในปจจุบันกับ ระยะเวลาทผ่ี านมา ขณะเดียวกนั สามารถใชเปรยี บเทียบฐานะทางเศรษฐกิจระหวางประเทศไดอ ีกดว ย 4) ตัวเลขรายไดป ระชาชาติ สามารถใชเ ปนเครอื่ งมอื สาํ คัญในการกาํ หนดนโยบายและการวางแผน เศรษฐกิจของประเทศในอนาคต 3. ประเภทของรายไดป ระชาชาติ รายไดประชาชาติ แบงออกได ดังนี้ 3.1 ผลิตภัณฑภายในประเทศเบ้ืองตน (GDP: Gross Domestic Product) คือ มูลคารวม ของสินคาและบริการขั้นสุดทายที่ผลิตไดภายในประเทศในระยะเวลาหนึ่ง โดย GDP จะคิดจากรายไดของ ประชาชนทุกคนทที่ าํ รายไดในประเทศและรวมถึงรายไดของชาวตางชาติที่ทํารายไดในประเทศน้ันดวย เชน GDP ของประเทศไทยคิดจากรายไดของคนไทยทั้งหมดท่ีทําไดในประเทศบวกกับรายไดที่ชาวตางประเทศ

176 ทําไดใ นประเทศไทยรวมทั้งการลงทนุ และผลผลิตตาง ๆ ของชาวตา งประเทศที่ทาํ การผลิตในประเทศไทยดวย เปน ตน 3.2 ผลิตภัณฑมวลรวมประชาชาติ (GNP : Gross National Product ) คือ มูลคารวมของ สนิ คาและบรกิ ารขัน้ สุดทา ยท่ีประชาชนผลิตได ท้ังในประเทศและตางประเทศ ในระยะเวลาหน่ึง เชน GNP ของไทยเกดิ จากรายไดข องประชาชนไทยในประเทศท้ังหมดรวมทัง้ รายไดจากคนไทยท่ไี ปทํางานหรือลงทุนใน ตา งประเทศ แลว สง รายไดก ลบั ประเทศไทย เปนตน 3.3 ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (NNP : Net National Product) คือ มูลคารวมของสินคา และบริการข้ันสุดทายทั้งหมดหักดวยคาเส่ือมราคาของการใชทุน ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ (NNP) จึงเปน ผลิตภัณฑรวมตามราคาตลาด จงึ รวมถงึ คาเชา คา จาง ดอกเบี้ย และกาํ ไร รวมท้งั ภาษีทางออมในทางธุรกิจดว ย 3.4 รายไดประชาชาติ (NI : National Income) คือ ผลิตภัณฑประชาชาติสุทธิ ท่ีคิดตาม ราคาปจจัยการผลิต ไดแก คาใชจายโดยตรงในการผลิต คือ คาจาง คาเชา ดอกเบ้ีย และกําไร โดยหักภาษี ทางออ มทางธุรกจิ ออก 3.5 รายไดตอหัว (PCI : Per Capita Income) คือ รายไดท่ีเกิดจากมูลคาของสินคาและ บรกิ ารในราคาตลาด หารดว ยจาํ นวนประชากรของประเทศทั้งหมด 4. ประโยชนข องการศกึ ษาเกย่ี วกบั รายไดประชาชาติ 4.1 ใชในการวเิ คราะหภ าวะเศรษฐกิจของประเทศ ระดับรายไดประชาชาติเปนเครื่องชี้ภาวะ เศรษฐกิจของประเทศวาเจริญกาวหนาหรือตกต่ํา และสามารถเปรียบเทียบอัตราความเจริญกาวหนาทาง เศรษฐกจิ วามอี ตั ราการเพม่ิ ของผลผลิตมากกวา อัตราการเพ่มิ ของประชากรหรือไม 4.2 ใชใ นการเปรยี บเทียบมาตรฐานการครองชีพของประชาชน ถารายไดเฉล่ียตอบุคคลเพ่ิม สูงขน้ึ ยอ มหมายถงึ ประชาชนมกี ารกนิ ดีอยดู ีมากขึน้ หรือมีมาตรฐานการครองชพี สูงขน้ึ 4.3 เปน เครอื่ งมือในการกาํ หนดนโยบายเศรษฐกจิ ของประเทศ ตัวเลขรายไดป ระชาชาติชวยให ทราบภาวะเศรษฐกิจในปจ จุบนั และยงั เปน เคร่ืองมอื สาํ คัญในการกําหนดนโยบายหรือการวางแผนเศรษฐกิจ ของประเทศไทยในอนาคต การกาํ หนดคา จา งและราคาในระบบเศรษฐกิจ 1. การกําหนดคา จาง คา จาง คือ คาท่จี า ยใหแ กผ ูใชแ รงงาน เนื่องจากการทํางานอยางใดอยางหนงึ่ คา จางที่ไดร ับ จึงเปน ทมี่ าของรายไดและเม่ือนํามารวมกนั ทงั้ หมด กจ็ ะเปน สว นหนึง่ ของรายไดประชาชาติ คา จาง แบง ออกเปน 2 ลักษณะ คือ 1. คา จา งทีเ่ ปน ตวั เงิน (Money Wage) คอื คาจางท่ีไดรับจากนายจางที่จายให อาจเปนรายวัน รายสปั ดาหห รอื รายเดือน 2. คาจางที่แทจริง (Real Wage) คือ การนําคาจางท่ีเปนตัวจริงลบดวยอัตราเงินเฟอตอป ซง่ึ อัตราเงินเฟอ สามารถคาํ นวณไดจ ากดัชนรี าคาผบู ริโภค

177 การกําหนดอัตราคาจางจะขึ้นอยูกับอุปสงคและอุปทานของแรงงาน คือ ถาอุปสงคของแรงงานมีมาก ความตอ งการจางแรงงานมาก อัตราคา จา งจะสงู ขน้ึ แตถ า อุปทานของแรงงานมีมาก จะทําใหคาจา งลดลง 2. การกําหนดราคา ปจจัยที่เก่ียวของกับการกําหนดราคาของสินคาและบริการ คือ กลไกของตลาด หรือปริมาณ ความตอ งการในการซอื้ และปริมาณความตองการในการขายสินคาชนิดน้ัน นอกจากนย้ี งั ขึน้ อยูกบั ตน ทุน การผลติ กลาวคอื ถาตนทนุ การผลิตสงู ขน้ึ จะทําใหร าคาสินคา สูงข้นึ ตามไปดวย กลาวโดยสรปุ การกําหนดคาจา งและราคาจะแตกตางกนั ตามระบบเศรษฐกจิ ถา เปน ระบบเศรษฐกจิ แบบทนุ นิยม การกําหนดคาจางและราคาเปนไปตามกลไกตลาด สวนระบบเศรษฐกิจแบบ สังคมนิยม และ ระบบเศรษฐกิจแบบผสม รัฐบาลสามารถเขาแทรกแซงการกําหนดคา จางและราคา เพ่ือสรางความเปนธรรมใน ระบบเศรษฐกิจ เชน รัฐบาลเขาไปแทรกแซงการการกาํ หนดคา จางและราคา เพ่อื สรา งความเปน ธรรมในระบบ เศรษฐกิจ ไดแก การประกาศปรับคาแรงขั้นตาํ่ ตามดัชนีราคาผบู รโิ ภค เพอ่ื ดงึ คาจา งแรงงานใหสูงขึน้ การเขา ไป แทรกแซงการกําหนดราคาสินคา โดยการกาํ หนดราคาข้ันต่าํ และการกําหนดราคาขัน้ สงู เปน ตน ราคาข้นั ต่ํา ราคาข้ันตา่ํ หมายถึง ราคาตํา่ สุดที่ถูกกําหนดขึ้นมาในระดับท่ีสูงกวาราคาดุลยภาพ อันเกิดจากการ ทํางานของกลไกตลาดทีร่ ฐั บาลเขา ไปแทรกแซง ซง่ึ มักจะใชก บั สินคาในสาขาเกษตรกรรม เพ่ือเพ่มิ รายไดใ หแก เกษตรกร ทาํ ใหเ กษตรกรนําผลผลิตออกขายในตลาดไดมากขึน้ ราคาขนั้ สูง ราคาขัน้ สงู หมายถงึ ราคาสูงสดุ ที่ถูกกําหนดข้ึนมาในระดับที่ตํ่ากวาราคาดุลยภาพ อันเกิดจากการ ทาํ งานของกลไกตลาดท่ีรัฐบาลเขาไปแทรกแซงโดยการควบคุมราคาสินคา บางชนิด เพ่ือเปนการปองกันไมให ราคาสินคา ชนดิ นัน้ สงู เกนิ ไป ปญหาของระบบเศรษฐกิจไทยและแนวทางแกไข เนื่องจากระบบเศรษฐกิจไทยเปดโอกาสใหเอกชนสามารถเปนเจาของปจจัยการผลิตและสามารถ ดาํ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ไดอยางเสรี การผลิตสนิ คา และบริการตาง ๆ จึงมขี ้นึ อยา งมากมาย กอ ใหเ กิดการ แขงขัน สงผลใหผูผลิตมีแรงกระตุนในการที่จะปรับปรุงเทคนิคการผลิต เพ่ือใหไดสินคาที่มีคุณภาพสูงและ ตน ทุนต่าํ ผผู ลติ รายใดที่ไมสามารถผลิตสนิ คา ทีม่ ีราคาตํา่ แตค ณุ ภาพสงู ไดก จ็ ะขาดทุนและออกจากระบบการ ผลิตสินคานั้น ๆ ไป คงเหลือแตผูผลิตที่มีคุณภาพ ทําใหผูบริโภคไดรับผลประโยชนสูงสุดจากการแขงขัน ดงั กลา ว แตสิ่งท่ีเปนผลเสยี ตามมากค็ อื เกดิ การผูกขาดและกอบโกยผลประโยชนใสต วั มากข้นึ กอใหเกดิ ความ เหล่ือมล้ําและเกิดชองวางข้ึนในสังคม น่ันคือ คนที่มีฐานะรํ่ารวยก็จะรวยมากข้ึน สวนคนที่มีฐานะยากจน กไ็ มไดมคี วามเปนอยูท่ีดขี ้นึ กวา เดิม ซ่งึ รัฐบาลก็ไดตระหนักถึงปญหาดังกลาว จะเห็นไดจากรายละเอียดของ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเนนวัตถุประสงคในการกระจายรายไดใหมีความเทาเทียมกัน มากข้ึน โดยการใชมาตรการและนโยบายดานการเงิน – การคลัง เพื่อแกปญหาดังกลาว เชน การกําหนด คาแรงขั้นตํ่า การเพ่ิมอัตราภาษีสําหรับสินคาฟุมเฟอย การปรับอัตราภาษีเงินได ภาษีทรัพยสิน กฎหมาย

178 ปองกนั การผูกขาด เปน ตน โดยเฉพาะมาตรการทางดานภาษีน้ัน รัฐบาลสามารถนําเงินท่ีไดจากการเก็บจาก ผูท ม่ี ฐี านะรา่ํ รวยมากระจายใหก บั ผทู ีม่ รี ายไดนอยในรูปของสวสั ดกิ ารตาง ๆ เชน การจัดต้งั โรงเรยี นของรฐั บาล การสรางท่ีอยูอาศัยและการใหการรักษาพยาบาลฟรีแกผูท่ีมีรายไดนอย การจัดใหมีการประกันสังคมกับ แรงงาน การลดดอกเบย้ี สินเชอ่ื เพ่ือการเกษตร เปน ตน สรุป ระบบเศรษฐกิจแบง ออกเปน 3 ระบบ ใหญ ๆ คอื ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมระบบเศรษฐกิจแบบ สงั คมนยิ ม และระบบเศรษฐกิจแบบผสม ประเทศไทยใชระบบผสมท่ีเนนทุนนิยม โดยรัฐบาลผลิตสินคาและ บริการเฉพาะโครงสรางพื้นฐานหรือสาธารณูปโภค สวนตัวเลขรายไดประชาชาติ แสดงใหเห็นถึงความ เจรญิ เติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ แบบฝก หัดทา ยบทเรื่องที่ 2 ระบบเศรษฐกจิ คําส่งั : เม่ือผูเ รยี นศกึ ษาเรอื่ งระบบเศรษฐกิจจบแลว ใหท ําแบบฝกหัดตอ ไปน้ี โดยเขียนในสมุดบันทึก กิจกรรมการเรยี นรู แบบฝกหัดที่ 1 ใหผูเรียนสรางแผนภูมิแสดงความสัมพันธระหวางระบบการปกครอง และระบบเศรษฐกิจ และระบุวาระบบการปกครองแตละแบบสามารถจัดระบบเศรษฐกิจแบบใดไดบ า ง

179 แบบฝกหดั ท่ี 2 บอกขอดแี ละขอ เสียของระบบเศรษฐกิจตอไปน้ี ระบบเศรษฐกิจ ขอดี ขอเสยี 1. ทุนนิยม 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2..................................... 3..................................... 3..................................... 2. สงั คมนิยม (ประชาธิปไตย) 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2. 3..................................... 3..................................... สังคมนิยม 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2..................................... 3..................................... 3..................................... 3. แบบผสม 1..................................... 1..................................... 2..................................... 2..................................... 3..................................... 3..................................... แบบฝก หดั ที่ 3 ใหผเู รียนวิเคราะหล กั ษณะทีก่ าํ หนดใหวา เปนระบบเศรษฐกจิ ใด โดยกาเครอ่ื งหมาย √ ลงใน เรอ่ื งระบบเศรษฐกิจท่ีคดิ วาถูกตอง ระบบเศรษฐกิจ ลักษณะ แบบผสม สงั คมนิยม คอมมิวนสิ ต สงั คมนยิ ม ประชาธปิ ไตย ทุนนยิ ม เอกชนมเี สรภี าพในการผลติ และบริโภคอยางเต็มท่ี รฐั เปนผูวางแผนกิจกรรมทางเศรษฐกจิ ทงั้ หมด รัฐเขา ไปดําเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในสว นที่ เก่ียวขอ งกบั ประโยชนส ว นรวม มเี ปาหมายเพอื่ ผลกําไร

180 ระบบเศรษฐกิจ ลักษณะ แบบผสม มีเปา หมายเพือ่ สรางความเปนธรรมในสงั คม สงั คมนิยม มีเปา หมายเพอ่ื ความอยดู กี นิ ดีของสงั คม คอมมิวนสิ ต เอกชนมกี รรมสิทธิใ์ นทรัพยส ินอยางเต็มท่ี สงั คมนยิ ม ไมเปดโอกาสใหม ีการแขง ขัน ประชาธปิ ไตย กจิ กรรมทางเศรษฐกจิ ข้นึ อยูก ับกลไกแหงราคา การผลิตอะไรเทา ใดขนึ้ อยกู ับรฐั บาลเทา นน้ั ทุนนยิ ม รัฐและกลไกแหง ราคา มีสวนในการกําหนดวา จะผลิตอะไร เทาใด เปน ระบบที่ประเทศสว นใหญใ ช เปนระบบทพ่ี ฒั นามาจากลิทธิมารกซสิ ต รั ฐ เ ก็ บ ภ า ษี ป ร ะ ช า ช น ใ น อั ต ร า สู ง เ พื่ อ จ า ย เ ป น สวัสดิการสังคม แตใหเ สรภี าพในการบรโิ ภคเตม็ ท่ี เปนระบบที่กอใหเกิดความแตกตางดานรายไดมาก ท่ีสุด เปน ระบบที่แกป ญ หาความแตกตา งดา นรายไดโดยไม จํากดั เสรภี าพของบคุ คล เปนระบบทมี่ ีความแตกตา งดานรายไดน อ ยที่สุด มีการใชทรัพยากรส้ินเปลอื งมาก มีการวางแผนจากสว นกลาง จาํ กดั กรรมสทิ ธใิ์ นทรพั ยส นิ และปจจยั การผลิตบา ง

181 เรอื่ งท่ี 3 กระบวนการทางเศรษฐกจิ 1. การผลิต (Production) 1. ความหมายของการผลิต การผลิต หมายถึง การสรางเศรษฐทรัพยเพ่ือบําบัดความตองการของมนุษยหรือการนําเอา ปจจัยการผลิตตาง ๆ ไดแก ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูประกอบการไปผานกระบวนการผลิต หรือกรรมวิธีตาง ๆ จนเกดิ เปนสินคา และการบริการเพ่ือบําบัดความตองการของมนุษยในลักษณะที่เนนการสรางประโยชนทาง เศรษฐกิจขึ้นมาใหมไดแ ก 1) ประโยชนท่เี กิดจากการเปล่ียนรูป (Form Utility) เปนประโยชนที่เกิดจากการนําสินคา มาแปรรูปเพ่อื เพมิ่ ประโยชนใชสอยมากขน้ึ เกิดความหลากหลายในการผลติ มากขน้ึ ราคาของสินคาสูงขนึ้ กวา วัตถุดิบเดิมที่นํามาผลิต เชน การเปล่ียนเหล็กเปนมีด เปล่ียนไมเปนโตะ เกาอี้ เปล่ียนไมไผเปนเครื่อง จกั สานตาง ๆ เปน ตน 2) ประโยชนท่ีเกิดจากการเปล่ียนสถานท่ี (Place Utility) เปนประโยชนที่เกิดจากการ ขนยายสินคาจากแหงหนึ่งไปยังอีกแหงหน่ึงเพ่ือใหเกิดประโยชนใชสอยมากข้ึน เชน การขนถายสินคาจาก โรงงานไปยังรานคาปลกี เปนตน 3) ประโยชนที่เกดิ จากการเปลยี่ นเวลา (Time Utility) หมายถงึ การเลอื่ นเวลาในการบรโิ ภค สินคาออกไป เน่ืองจากสินคาบางอยางอาจมีขอจํากัดในเรื่องของฤดูกาล ไดแก ผลไม ผักตาง ๆ เปนตน ซึ่งถานาํ มาผลิตเปนผลไมห รอื ผกั กระปอ ง จะสามารถนาํ มาถนอมไวบ ริโภคนอกฤดกู าลได หรือสินคาบางอยาง ท่ีผูบริโภคตองการสะสมไวก ็เปน การสรา งประโยชนที่เกิดจากการเลื่อนเวลาเชนเดียวกัน เชน การเก็บสุราไว นาน ๆ การสะสมเครือ่ งลายคราม พระเคร่ือง หรอื ของเกาตา ง ๆ เปนตน 4) ประโยชนท เ่ี กิดจากการเปลี่ยนโอนกรรมสิทธิ์ (Possession Utility) เปน ประโยชนที่เกิด จากการเปล่ียนแปลงกรรมสทิ ธ์ิหรอื เจาของ ซึง่ สินคาแตละชนิดจะมกี ารเปลย่ี นกรรมสทิ ธ์ิหลายทอดกวาจะถึง ผูบริโภค กลาวคือ กรรมสิทธิ์จะเปล่ียนจากผูบริโภคไปยังพอคาขายสง พอคาขายปลีก หรือไปยังนายหนา จนถึงผบู ริโภค เชน การจัดสรรบา น ทด่ี นิ หรือการซอ้ื ขายอสังหาริมทรัพยตาง ๆ เปน ตน 5) ประโยชนท เ่ี กิดจากการใหบรกิ ารตาง ๆ (Service Utility) เปนประโยชนท ่เี กดิ จาก ผูใหบ รกิ ารในสาขาวชิ าชพี ตา งๆ เชน ไปหาหมอ ไปดคู อนเสริ ต หรอื ใหบ รกิ ารในดานการคมนาคมขนสงตาง ๆ เปน ตน 2. สินคา และบรกิ าร (Goods and Services) สนิ คาและบรกิ าร คอื ส่งิ ทไ่ี ดจากการทาํ งานรวมกนั ของปจ จัยการผลิตตาง ๆ สามารถสนองความ ตองการของผูบรโิ ภคได ไมวาความตองการน้ันจะขัดตอ สขุ ภาพอนามัยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีงามหรอื ไมก ็ตาม เชน บหุ รี่ ยารกั ษาโรค อาหาร เครื่องนุงหม เปนตน

182 สนิ คา (Goods) ที่มนุษยบริโภคอยทู กุ งวนั นอี้ าจแบง ไดเ ปน 2 ลกั ษณะ คือ 1) เปนสิ่งผลิตที่มนุษยผลิตขึ้น อาจเปนสิ่งท่ีดี (Good) เชน อาหาร เคร่ืองนุงหม ยารักษาโรค เปนตน หรือสง่ิ ท่ไี มดี (Bad) เชน ยาเสพตดิ ขยะ วตั ถรุ ะเบิด เปน ตน 2) เปนส่งิ ทไ่ี ดจากธรรมชาติซึ่งมนุษยจัดหามาสนองความตองการโดยไมเสียคาใชจายใด ๆ เชน นาํ้ อากาศ บรรยากาศ ทวิ ทศั น แสงแดด เปน ตน จากสนิ คา ทง้ั สองลกั ษณะสามารถจําแนกประเภทของสนิ คา ในทางเศรษฐศาสตรไดดังน้ี ดงั นั้น สนิ คาในทางเศรษฐศาสตรส ามารถจําแนกได ดังน้ี 1. สินคา ไรราคา (Free Goods) เปน สินคาทไ่ี มมตี นทุนหรอื มกี ารบริโภคแตไมมีคาใชจายเปนสินคา ทีม่ ีอยมู ากมายเกนิ ความตองการของมนษุ ย หรอื กลา วอกี นยั หน่ึงเปน สนิ คาทอ่ี ปุ ทานมากกวาอุปสงค ณ ราคา ศนู ย เชน อากาศ นํา้ ทะเล เปน ตน ดังนน้ั ถา สินคา ในโลกทกุ ชนดิ เปน สินคาไรราคาวิชาเศรษฐศาสตรก็คงจะไร ความหมาย

183 2. สินคาเศรษฐทรัพย (Economic Goods) คือ สินคาท่ีมีตนทุน โดยปกติผูบริโภคจะเปนผูจาย คา สินคา โดยตรง แตในบางกรณีผูบริโภคกับผูจายคาสินคาอาจเปนคนละคน ซ่ึงไดแก เศรษฐทรัพยที่ไดจาก การบริจาคหรือจากการให รัฐบาลจัดหามาใหเรียกวา “สินคาใหเปลา” สินคาเศรษฐทรัพยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ 2.1 สินคา เอกชน (Private Goods) คอื สินคา ทแ่ี ยกการบรโิ ภคออกจากกนั ได (Rival Consumption) เชน อาหาร เคร่ืองนุงหม รถยนต เปนตน ซึ่งแตละคนแยกกันบริโภคได นอกจากน้ียังเปนสินคาท่ีเจาของ สามารถกีดกันผูบริโภครายอ่ืนได (Exclousion Principle) เชน การบริโภครถยนต คันหน่ึง ของนายแดง สามารถกดี กนั ไมใ หนายดําบรโิ ภครถยนตคนั นน้ั ได เปนตน 2.2 สินคาสาธารณะ (Public goods) คือ เปนสินคาที่บริโภครวมกัน (Joint Consumption) เชน ถนนที่เราใชอยูก็เปนถนนท่ีคนอื่น ๆ ใชสัญจรไปมา เชนเดียวกัน เปนตน นอกจากนี้ยังเปนสินคาที่ไม สามารถกีดกันบุคคลหรือกลุมบุคคลใดใหพนจากการบริโภคได (Non Exclusion Principle) เพราะมี ผบู รโิ ภคจาํ นวนมากจนทําใหก ารกดี กันเปนไปไดยาก เชน โรงพยาบาล นํ้าประปา การศึกษาของรัฐ เปนตน หรอื อาจเปน เพราะการบริโภคของบคุ คลกลุมหนง่ึ จะไมเปนเหตุใหค นกลุม อ่ืนตอ งบรโิ ภคลดลงหรือขาดโอกาส ในการบรโิ ภค เชน การปองกนั ประเทศ รายการโทรทัศน เปนตน 3. ปจจยั การผลิต ในการผลิตสินคา และบรกิ ารจะตองอาศยั ปจ จยั การผลติ ตอ ไปนี้ 1) ท่ดี ิน (Land) ไมไดหมายถงึ เนื้อที่ดนิ ทใี่ ชประโยชนใ นทางเศรษฐกจิ ทีใ่ ชทําการเพาะปลูกสราง โรงงานอุตสาหกรรมหรืออยูอาศัยเทาน้ัน แตหมายรวมถึงทรัพยากรธรรมชาติที่อยูใตดิน บนดินและเหนือ พื้นดินทุกชนิด เชน ปาไม แรธาตุ สัตวนํ้า ความอุดมสมบูรณของดิน ปริมาณนํ้าฝนและสิ่งแวดลอมทาง ธรรมชาตติ าง ๆ เปนตน ส่ิงเหลาน้ีมีอยูโดยธรรมชาติ มนุษยสรางขึ้นไมได แตสามารถปรับปรุงคุณภาพของ ทรัพยากรธรรมชาติไดบาง เชน ปรับปรุงท่ีดินใหอุดมสมบูรณข้ึน เปนตน ผลตอบแทนของท่ีดิน เรียกวา คาเชา (Rent) 2) แรงงาน (Labour) หรือทรัพยากรมนุษย (Human Resource) หมายถึง ความมานะ พยายามของมนุษยท้ังทางกาย ทางใจ และทางสมอง คือ สติปญญาความรู ความคิดที่มนุษยทุมใหกับ การผลิตสินคาและบริการเพื่อกอใหเกิดรายไดในการดํารงชีวิต ซ่ึงมีผลตอบแทนเปนคาจางและเงินเดือน (Wages and Salary) 3) ทุน (Capital) คือ สงิ่ ทม่ี นุษยผลิตขนึ้ มา เพ่ือใชรวมกับปจจัยการผลิตอื่น ๆ ในการผลิตสินคา และบรกิ าร เรียกอกี อยา งหน่ึงวา สินคาทุน (Capital Goods) ทุนเปนสง่ิ ท่ีผลิตขนึ้ มาเพื่อใชในการผลิตตอไป ไมใชเพ่ือการบริโภค เชน ขาวเปลือก หากถูกนําไปเปนเมล็ดพันธุเพื่อเพาะปลูกขาวเปลือกก็เปนสินคาทุน หากถูกใชเพ่ือการบริโภคจะไมนับเปนสินคาทุน เปนตน ทุนอาจแยกไดเปน 3 ประเภท ประเภทแรกท่ีเปน สินคาสําหรับใชในการผลิต (Capital Goods) เชน เคร่ืองจักร โรงงาน เปนตน ประเภทที่สองทุนท่ีเปนเงิน (Monetary Capital) หมายถึง เงินที่จัดไวเพ่ือจางคนงานหรือเชาที่ดินหรือเงินซ่ึงจายเพื่อจัดหาเคร่ืองจักร

184 เคร่ืองมือและที่ดินเพื่อขยายโรงงาน ประเภทที่สามคือ ความรูทางเทคนิค (Technical Knowledge) หมายถึง ความรูตา ง ๆ สาํ หรับทใี่ ชใ นการผลิต ดังนั้นทุนท่ีแทจริงจึงไมไดหมายถึงเงินอยางเดียว เงินเปนเพียงรูปหน่ึงของทุน เรียกวา เงินทุน (Money Capital) ซึ่งเปน เพยี งสอ่ื กลางใหเ กิดสินทรัพยประเภททุน ทุนที่แทจริงจึงรวมถึงเครื่องมือที่ใชผลิต สินคาและเจา ของทุนจะไดร บั ผลตอบแทนเปน ดอกเบ้ยี (Interest) 4) ผูประกอบการ (Enterpreneur) หมายถึง การจัดต้ังองคการเพื่อผลิตสินคา และบริการ โดยอาศยั ทรัพยากร แรงงาน ทุน มาดําเนินการโดยผดู ําเนินการเรยี กวา ผปู ระกอบการ ซ่ึงเปน ผรู วบรวมปจ จัย การผลิตตาง ๆ เขาสูกระบวนการผลิตสินคาและบริการตอบสนองความตองการของตลาด ผูประกอบการ จึงเปนผูท่ีตองเผชิญกับความเสี่ยงของความไมแนนอนเกีย่ วกบั ภาวะตลาด ซึ่งตางจากในกรณีของแรงงานที่ไม ตองเผชิญกับความเส่ียงแมวาจะเปนทรัพยากรมนุษยเหมือนกันก็ตาม ผลตอบแทนของผูประกอบการ คือ กาํ ไร (Profit) ปจ จยั การผลิตทัง้ หมดน้ีเปนส่ิงสําคัญและจําเปนมากในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจท่ีจะ ขาดสวนใดสวนหนึ่งไปไมได ถาขาดสวนใดสวนหน่ึงไปจะมีผลทําใหการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจน้ัน หยุดชะงัก หรอื ไมไ ดผ ลตามเปา หมายที่วางไว 4. ลาํ ดบั ขนั้ การผลิต ในการดําเนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกจิ ในแตล ะครวั เรือนแบง ออกเปน 3 ขน้ั คือ 1) การผลิตข้ันตนหรือการผลิตข้ันปฐมภูมิ (Primary Production) หมายถึง การผลิตท่ีอาศัย ธรรมชาติ หรือไดจากธรรมชาติ เปนการผลิตแบบด้ังเดิมของมนุษย ไดแก การเก็บของปา ลาสัตว จับปลา จนพัฒนาเปนอาชีพเกษตรกรกรรมในปจจุบัน เชน การเพาะปลูก เล้ียงสัตว ประมง ทําปาไมท่ีอาศัย ทั้งธรรมชาตแิ ละเทคโนโลยเี ขา มาชว ย เปน ตน 2) การผลิตข้ันทุติยภูมิ (Secondary Production) หมายถึง การแปรสภาพวัตถุดิบเปนวัตถุ สําเรจ็ รูป หรือผลิตภณั ฑต า ง ๆ ไดแ ก อาชีพหัตถกรรมและอตุ สาหกรรมประเภทตา ง ๆ 3) การผลิตข้ันตติยภูมิ (Tertitary Production) หมายถึง การจําหนายจายแจกสินคาและ การบรกิ ารตาง ๆ ไดแ ก อาชพี พาณชิ ยกรรมและการบริการ เชน การคาขาย การคมนาคมขนสง การสื่อสาร การโฆษณา การธนาคาร ขา ราชการ เปน ตน 5. การกําหนดปริมาณการผลติ ในการผลติ สินคาและบริการนั้น ผูผลิตควรตัดสินใจวาจะผลติ อะไรในปริมาณเทาใด จึงจะไดกําไร สูงสุด ดงั น้ัน สงิ่ ทก่ี ําหนดปริมาณการผลติ ในตลาดที่มีการแขง ขนั สมบูรณ ไดแก 1) อุปสงค (Demand) คอื ปริมาณความตองการของผูบริโภคในการบริโภคสินคาอยางใดอยาง หนึง่ ดว ยเงนิ ทเ่ี ขามีอยู ณ เวลาใดเวลาหน่งึ ซ่ึงพรอ มทีจ่ ะซอ้ื สินคา นนั้ อุปสงคแบง ออกเปน 2 ประเภทคอื 1.1) อุปสงคสวนบุคคล (Individual Demand) หมายถึง อุปสงคของบุคคลแตละคนหรือ ผูซื้อแตล ะราย เชน อปุ สงคเสื้อกันหนาวของนายชัยยุทธ เปนตน

185 1.2) อุปสงคต ลาด (Market Demand) หมายถงึ ผลรวมของผูซื้อทุกคนท่ีซื้อสินคาชนิดหน่ึง ในตลาดแหง หน่งึ เชน อปุ สงคตอเสอื้ กนั หนาวในฤดูหนาวของประชากรในจังหวดั แพร เปน ตน คาํ วาอุปสงคในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง อุปสงคท่ีมีประสิทธิผล (Effecive Demand) กลาวคือ อปุ สงคจะประกอบดวยความเต็มใจท่จี ะซือ้ (Willingness to buy) กบั อํานาจซ้ือ (Purchasing Power) ณ แตละระดับราคาของสนิ คา ตาง ๆ (สุขุม อัตวาวฒุ ชิ ัย, 2539 : 20) 2) อุปทาน (Supply) คอื ปริมาณสนิ คาทผ่ี ขู ายสามารถนาํ มาสนองความตองการของผูซ้ือไดเปน สภาพการตัดสินใจของผูขายวาจะขายสินคาจํานวนเทาใด และในราคาเทาใด ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง อุปทาน แบง ออกเปน 2 ประเภท คือ 2.1) อุปทานสวนบุคคล (Individual supply) หมายถงึ ปริมาณสินคาหรือบรกิ ารท่ีผผู ลิตหรือ ผูขายแตละรายนําออกมาเสนอขาย 2.2) อุปทานตลาด (Market Supply) หมายถงึ ปริมาณสนิ คาหรอื บรกิ ารของผูผลิตหรอื ผูข าย ทกุ คนรวมกันนาํ ออกมาเสนอขาย 6. ราคาดุลยภาพและปรมิ าณดุลยภาพ เมือ่ ผซู ้ือและผขู ายพบกันในตลาดเพอ่ื ตกลงซื้อขายสนิ คา และบริการ ปรากฏวา มรี าคาอยรู าคาหนึ่ง ท่ปี รมิ าณการเสนอซ้อื และปรมิ าณการเสนอขายเทา กนั พอดี ซึ่งเรียกวา ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) และปริมาณสินคาและบริการท่ีซื้อขายกัน ณ ราคาดุลยภาพนั้นเรียกวา ปริมาณดุลยภาพ (Eauilibrium Quantity) ในระบบเศรษฐกจิ ท่ีอาศยั ตลาดเปน เครอ่ื งมอื ในการดาํ เนินกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ หรอื ใหกิจกรรมทาง เศรษฐกิจดําเนินไปโดยผานกลไกราคา เชน ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม ปริมาณการผลิตจะขึ้นอยูกับ อปุ สงคแ ละอปุ ทาน สว นในระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม ปริมาณการผลิตจะขึ้นอยูกับการวางแผนของรัฐ เปนตน

186 ตารางท่ี 2 แสดงราคาดุลยภาพของสม ปรมิ าณขาย (กก.) (Supply) ราคา ปรมิ าณซ้ือ (กก.) (บาท) (Demand) 12 0 18 10 3 15 8 6 12 699 4 12 6 2 15 3 ท่ีมา : โกเมน จิรญั กุล และเสรี ลลี าลัย, 2537, หนา 16 จากตารางท่ี 2 แสดงใหเ ห็นวา ปรมิ าณเสนอซ้ือสม ของตลาด จะเทากบั ปรมิ าณเสนอขายสมของตลาด ณ ราคากิโลกรัมละ 6 บาท ซึ่งแสดงใหเห็นวาราคาดุลยภาพเทากับ 6 บาท และปริมาณดุลยภาพเทากับ 9 กโิ ลกรมั ดงั นั้น เราสามารถสรปุ กฎของอุปสงค (Demand) ไดว า “ปริมาณสนิ คาทีม่ ีผูต อ งการซอื้ ในขณะใด ขณะหน่ึง จะมีความสมั พนั ธในทางตรงกันขามกบั ราคาสินคา ชนิดนัน้ ” (รัตนา สายคณิต และชลลดา จามร กุล, 2537 : 34) แสดงวา ถาราคาสินคาสูงข้ึนอุปสงคจะลดลงและถาราคาสินคาลดลงอุปสงคจะเพ่ิมข้ึน ในขณะที่กฎของอุปทาน (Supply) กลาววา “ปริมาณสินคาท่ีผูผลิตเต็มใจจะนําออกขายในขณะใด ขณะหนงึ่ จะมคี วามสมั พันธใ นทางเดียวกนั กับราคาสินคาชนิดนั้น” (รัตนา สายคณิต และชลลดา จามรกุง, 2537 : 81) หมายความวา ถาราคาสนิ คา สงู ผผู ลติ จะเต็มใจนาํ สินคาออกขายมาก แตถาสินคาราคาต่ําผูผลิต จะเตม็ ใจนําสินคาออกขายนอ ย ทงั้ นี้อยภู ายใตขอ สมมตวิ า ปจ จยั อน่ื ๆ ทีม่ อี ิทธิพลตออปุ ทานคงท่ี สุขุม อัตวาวุฒิชัย (2541 : 37 – 40) ไดอธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางอุปสงค อุปทานและราคาวา ราคาตลาดหรือราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) จะถูกกําหนดโดยจุดตัดของเสน อุปสงคและอุปทานตาดน่ันเอง ณ ระดับราคาอ่ืน ๆ จะไมทําใหตลาดอยูในภาวะดุลยภาพ ถามีผูเสนอขาย สนิ คา ในราคาท่สี งู กวาราคาดุลยภาพจะกอ ใหเกดิ อปุ ทานสว นเกิน (Excess Supply) สินคา จะลน ตลาดหรอื เมื่อใดทมี่ ผี ูเ สนอขายสินคาตํ่ากวาราคาดุลยภาพ จะเกิดอุปสงคสวนเกิน (Excess Demand) สินคาจะขาด ตลาดและกลไกตลาดจะมกี ารปรับตวั โดยอัตโนมตั ิเพ่อื กลับเขาสภู าวะดลุ ยภาพ

187 7. ประเภทของการผลติ สํานักงานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคมแหง ชาติ ไดแ บงกจิ กรรมทางเศรษฐกิจของ ประเทศไทย โดยอาศยั แนวทางการจําแนกขององคการสหประชาชาติ แบงการผลิตออกเปน 11 ประเภท ดงั น้ี (โกเมน จิรัญกุล และเสรี ลลี าลัย, 2535 : 9) 7.1) การเกษตร ไดแ ก การเพาะปลกู การปศสุ ัตว การประมง การทาํ ปา ไม และอน่ื ๆ 7.2) การทําเหมืองแรและยอยหิน 7.3) หัตถอุตสาหกรรม 7.4) การกอสรา ง 7.5) การผลติ ไฟฟา และน้าํ ประปา 7.6) การขนสงและการสอ่ื สาร 7.7) การขายสง และการขายปลีก 7.8) การธนาคาร ประกนั ภยั และอสงั หาริมทรัพย 7.9) การเปนเจาของทีอ่ ยอู าศยั 7.10) การบรหิ ารงานสาธารณะและปองกันประเทศ 7.11) การบริการ 8. การสะสมทุน (Capital Aceumulation) หมายถึง การเพิ่มพูนสินคาประเภททุนหรือการเก็บ สะสมเงนิ ทนุ ใหมากขนึ้ เพ่ือนําไปใชป ระโยชนในการขยายความสามารถในการผลิต การสะสมทุนสวนหน่ึงได จากการลงทุนในสิ่งกอ สราง การซอื้ เคร่อื งจกั รเคร่ืองมอื และสว นเปลย่ี นสนิ คา คงเหลอื สวนหนง่ึ ไดจากการออม ในประเทศ ซงึ่ เปน การนําเงินออมท่กี ันไวจากรายไดสวนหน่ึงไมนําไปใชจายเพื่อการบริโภคมาลงทุน เพื่อหา ผลประโยชนต อบแทน การสะสมทุนอกี ทางหนงึ่ ไดจากเงินทุนจากตางประเทศ ซึ่งอาจเปนการระดมทุนจาก ตา งประเทศดวยการกูเงินจากตางประเทศหรือสถาบนั การเงนิ ระหวางประเทศ หรอื การลงทุนในหลกั ทรพั ย 9. ประเภทของหนว ยธรุ กจิ หนว ยธุรกจิ หมายถึง องคกรที่จัดต้ังขน้ึ มาเพอ่ื ดาํ เนนิ กิจกรรมทางเศรษฐกิจในดานการผลิตสินคา และบริการ ไดแก 1) กิจการท่ีมีเจาของคนเดียว (Single Proprietorship) เปนกิจการท่ีการตัดสินใจขึ้นอยูกับ คน ๆ เดยี ว เมือ่ ไดผ ลกําไรมาเปน ของเจาของเพยี งคนเดียว 2) หา งหนุ สว น (Partnership) เปนธุรกิจที่ประกอบกันข้ึนจากคน 2 คนข้ึนไป มีการตกลงกันวา หุน สวนใดจะรับผดิ ชอบในสว นใด หา งหนุ สว นแบงออกเปน 2 ประเภท คอื 2.1 หางหุนสวนจํากัด จะมีหุนสวนพวกหน่ึงจํากัดความรับผิดชอบตามจํานวนเงินท่ีระบุไว เม่อื กิจการขาดทนุ 2.2 หางหุน สว นสามญั ผูเ ปนหนุ สว นทุกคนตอ งรับผดิ ชอบตอการขาดทุนไมจ ํากดั จาํ นวน

188 กจิ การที่มเี จา ของคนเดียวและหางหุนสวนจะมีขอเสีย คือกิจการท้ังสองประเภทตองรับผิดชอบ หน้ีสินอยางไมจํากัดจํานวนเม่ือกิจการขาดทุน การดําเนินงานไมเปนไปอยางตอเน่ือง โดยเฉพาะกรณี ทเี่ จา ของกิจการเสยี ชวี ิตกจิ การเจา ของคนเดียวมักมปี ญหาในดานการขยายเงนิ ลงทนุ 3) บริษัทจํากัด (Corparation) เปนหนวยธุรกิจที่จดทะเบียนเปนนิติบุคคล โดยมีหลายคน รวมกนั จัดตั้งจะมีขนาดใหญหรือเล็กขึ้นอยูกับจํานวนหุน (Stock) ผูถือหุนเปนเจาของบริษัทรวมกันมีความ รับผิดชอบจํากัดตามจาํ นวนหุนท่ถี ือ 4) สหกรณ (Cooperative) เปนหนวยธรุ กิจท่จี ดั ตัง้ โดยคนตัง้ แต 10 คน ข้ึนไป จดทะเบียน โดยถูกตอ งตามกฎหมาย โดยมจี ุดมุง หมายเพือ่ ชวยเหลอื สมาชกิ หรอื ผถู อื หุน ซ่ึงตอ งปฏิบัตติ ามกฎระเบียบของ สหกรณ 5) รัฐวสิ าหกจิ (Public Enterprise) คือ กิจการที่รัฐเปนเจาของหรือมีหุนสวนมากกวาครึ่งหน่ึง ของหนุ สวนท้ังหมด สวนใหญเปนธุรกิจดานสาธารณูปโภคหรือกิจการท่ีตองลงทุนสูงใหผลตอบแทนชาและ เอกชนไมต อ งการลงทุน การดําเนินงานตามระบบราชการจึงมักกอใหเกิดความลาชาและไมมีประสิทธิภาพ เทาทคี่ วร ธรุ กจิ ทง้ั 5 ประเภททก่ี ลา วมาขา งตนสามประเภทแรกเปนธรุ กิจท่ีมุงแสวงกาํ ไรและสองประเภทหลัง เปนธรุ กจิ ทไ่ี มไดมงุ แสวงหาผลกาํ ไร สรปุ การผลิต หมายถึง การสรางเศรษฐทรัพยเพื่อบําบัดความตองการของมนุษยหรือการสรางอรรถ ประโยชนดวยการเปล่ียนรูป เปล่ียนสถานท่ี เลื่อนเวลาใชสอย เปล่ียนโอนกรรมสิทธ์ิ และการใหบริการ ตา ง ๆ ส่งิ ผลติ ของมนุษยเรยี กวาสินคา แบง ออกเปนสินคาเศรษฐทรัพยและสินคาไรราคา ในการผลิตจะตอง อาศัยปจจัยการผลิต 4 อยาง ไดแก ท่ีดิน แรงงาน ทุน และผูประกอบการ มีลําดับข้ันการผลิต 3 ข้ันคือ การผลิตข้ันปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ การจะผลิตอะไรมากนอยเทาใดเปนไปตามหลักของอุปสงคและ อปุ ทานของตลาด และสาํ นกั งานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดแบงประเภทของ การผลติ ในประเทศไทยออกเปน 11 ประเภท 2. การบริโภค 1. ความหมายของการบริโภค การบริโภคในเชิงเศรษฐศาสตรมหภาคหรือการบริโภคมวลรวม (Aggregate Consumption) คอื การใชจายเพือ่ การบริโภคสินคา ท้งั ประเภทส้ินเปลอื งและคงทนถาวร รวมทัง้ บริการตาง ๆ ทุกชนิดรวมกัน ของท้งั ระบบเศรษฐกิจ เชน การศึกษา การรักษาพยาบาล เปนตน 2. ประเภทของสินคาเพ่ือการบรโิ ภค การบริโภคของมนุษยน้นั ตองอาศัยทรพั ยากรมาแปรสภาพเปน สนิ คาและบรกิ าร ซ่ึงอาจจําแนกได ดังน้ี (อเนก เธียรถาวร, 2535 : 18)

189 1) สนิ คา เพ่ือการผลิตและสนิ คา เพอ่ื การบรโิ ภค สนิ คาบางอยา งเปนสินคาของผูผลิต ในขณะ ท่สี ินคาบางอยางเปนสินคา ของผูบริโภค เชน จกั รเยบ็ ผา เปนสินคาของผูผลิต เส้ือผาเปนสินคาของผูบริโภค เปนตน 2) สินคา คงทน และสนิ คาไมค งทน สินคาคงทน คือ สินคาท่ีเก็บไวใชไดนานเปนป เชน ปากกา นาฬิกา กระเปา บาน ยานพาหนะตาง ๆ เปน ตน สนิ คาทไี่ มคงทน คอื สินคาท่ีใชแ ลวหมดสนิ้ ไปภายใน 1 ป เชน อาหาร นาํ้ ดม่ื เครอ่ื งสาํ อาง เปน ตน 3. ปจ จยั ที่กาํ หนดการบริโภค ในบางครั้งเราจะพบวา ความสามารถของคนเราในการบริโภค หรือปริมาณการเสนอซ้ือสินคา และบริการในชีวติ ประจาํ วันจะแตกตา งกนั ไป ทัง้ นขี้ ึน้ อยูก บั ปจ จยั หลาย ๆ อยา ง ไดแ ก 1) รายได (Income) นบั เปนปจจัยสําคัญอันดับแรกของมนุษยในการตัดสินใจบริโภคส่ิงใด สง่ิ หน่ึง โดยปกตผิ มู ีรายไดน อยจะมอี ัตราการบริโภคตาํ่ กวาผูม ีรายไดม าก แตท ้ังนอ้ี าจจะขึ้นอยูกับปจจัยอ่ืน ๆ ดว ย การท่ีรายไดข องผูชื้อเปลยี่ นแปลงไปจะมีผลตอปริมาณการเสนอซื้อดวย กลาวคือ หากรายไดของ ผูซื้อ เพม่ิ สงู ข้ึน ส่ิงอ่ืน ๆ คงที่ ปรมิ าณการเสนอซ้ือ ณ แตละระดับราคาจะมากขึ้น 2) ราคาสินคา อน่ื ๆ (Price of other Goods) เปนสงิ่ ที่จูงใจในการตดั สนิ ใจของผูบริโภคให เลือกซอื้ สินคาไดต ามความเหมาะสมแกฐ านะของตนเองการที่ปรมิ าณการเสนอซือ้ สินคาชนดิ หนงึ่ เปล่ียนแปลง ไป ไมเ พียงเพราะราคาสนิ คา น้ันเปลยี่ นแปลงเทา น้ัน แตอาจจะข้นึ อยกู บั ราคาสนิ คา อ่นื ๆ เปล่ยี นแปลงไปดวย 2.1) ราคาสินคา ที่ทดแทนได (Price of Substitute) เชน สมมติวาขนุนสามารถบริโภค แทนทเุ รียนหมอนทองได หากราคาตอหนวยของขนุนลดลงในขณะท่ีราคาทุเรียนหมอนทองไมเปลี่ยนแปลง ราคาเปรยี บเทยี บของขนนุ ตอทเุ รียนจะถกู ลง ผูบรโิ ภคจะลดการบริโภคเรยี นหมอนทองลง และหนั ไปบริโภค ขนุนมากขึ้น เปนตน ดังนั้น ปริมาณการเสนอซื้อของทุเรียนหมอนทอง ณ ทุกระดับราคาจะลดลง ในทาง ตรงกนั ขา มหากราคาขนุนเพิม่ สูงข้ึน ผบู ริโภคจะหันมาบรโิ ภคทเุ รียนหมอนทองมากข้ึน ณ ทุกระดับราคาและ บรโิ ภคขนนุ นอ ยลง 2.2) ราคาสนิ คา ที่ใชควบคูกัน (Price of Complement) สนิ คาบางอยาง ตองใชควบคู กัน เชน โตะและเกาอ้ี ปากกากับหมึก เปนตน ถาราคาหมึกตอขวดแพงข้ึน ขณะที่สินคาอ่ืน ๆ อยูคงท่ี ปริมาณความตอ งการซ้อื ปากกาจะลดลง ณ ทุกระดับราคา ในทางตรงกันขามถาราคาหมึกลดลงปริมาณการ เสนอซือ้ ปากกาจะสงู ข้นึ ณ ทกุ ระดับราคา 3) รสนยิ ม (Taste) คอื ความนิยมชมชอบของผบู ริโภคในการเลอื กซอื้ สนิ คา แตละชนิด ซงึ่ แตกตางกนั ตามลกั ษณะของผูบริโภคแตละทอ งถิน่ หรือตามฤดูกาลท่เี ปลี่ยนแปลงไป 4) การใหเ ครดติ (Credit) หรือยทุ ธวธิ ีการขาย อาทิ การขายสนิ คา ดว ยระบบเงินผอนเปนสิ่ง หน่งึ ทีจ่ ูงใจใหค นหนั มาซอ้ื สนิ คามากขึน้ เชน ยานพาหนะตา ง ๆ เปน ตน

190 5) สภาวะอากาศ มีผลกระทบตอ ปรมิ าณความตองการบริโภคสินคาบางอยาง เชน ปริมาณ ความตองการซื้อเสอ้ื กันหนาวในฤดหู นาวของภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือจะเพ่ิมสูงข้ึน มีผลกําไร ราคาเสือ้ กนั หนาวสงู ขึ้นในชว งฤดหู นาว เปน ตน ในกรณีของอุปสงคตลาดหรอื การบรโิ ภคมวลรวมปจจยั ทก่ี าํ หนดจะมมี ากกวากาํ หนดขางตน อาทิ 1) ปริมาณซ้ือข้ึนอยูกับจํานวนประชากร ตามปกติเม่ือประชากรมีจํานวนเพิ่มมากข้ึนความ ตอ งการสนิ คาและบริการจะเพิ่มตาม แตการเพิ่มประชากรยังไมเปนการเพียงพอประชากรเหลาน้ีจะตองมี อาํ นาจซอื้ ดว ยจงึ จะสามารถซื้อสินคาไดม ากขน้ึ 2) ปริมาณซื้อข้นึ อยูก ับสภาพการกระจายรายไดในระบบเศรษฐกิจ เชน ประเทศทมี่ บี อ นาํ้ มนั บาง ประเทศปรากฏวา รายไดส ว นใหญต กอยูในมือของคนกลมุ นอย สว นคนกลุมใหญจะมรี ายไดตํา่ มากในสงั คมของ ประเทศลักษณะนี้การบริโภคจะแตกตางจากประเทศที่มีการกระจายรายไดคอนขางทัดเทียมกัน ถึงแมวา รายไดเ ฉลีย่ ของทั้งสองประเทศจะอยใู นลักษณะใกลเคยี งกนั ก็ตาม 4. การบริโภคและการออม ในการบริโภคของคนเรานั้นจะตองอาศัยเงินที่มาจากรายไดเปนสวนใหญ แตถาเรานํารายได ท้ังหมดมาใชในการบริโภค เมื่อถึงเวลาจําเปนหรือในยามเดือดรอนจะกอใหเกิดปญหายุงยาก เชน เกิดภาวการณเจ็บปว ยในครอบครัว การศึกษาของบุตรที่ตองใชเงินมาก สงเคราะหญาติที่เดือดรอน เปนตน คนเราจึงจาํ เปนตองเหลือรายไดส วนหนึง่ ไวเ พ่ือรองรบั ความจาํ เปนดงั กลา ว เงนิ สวนนี้ คอื เงินออม ซง่ึ เปน เงิน ทีเ่ หลือจากการใชจายดว ยการประหยัดหรือเก็บออมไวใ นสถาบันการเงนิ ซึ่งกอ ใหเ กิดประโยชนหลายประการ คือ (อเนก เธียรถาวร, 2542 : 25) 1) เพ่ือเกบ็ ไวใ ชจ ายในยามจําเปน คอื เงินรายไดท เี่ กบ็ ไวส าํ หรับรบั รองความจําเปนในครอบครัว เชน สมาชกิ ในครอบครวั เจบ็ ปวย เปน ตน 2) เพื่อใชจายในอนาคต เปนเงินรายไดที่เก็บไวสําหรับสิ่งท่ียังไมเกิดในปจจุบันแตจะเกิด ในอนาคต เชน เมอื่ ยามแกจ ะตอ งมีเงนิ สว นหน่งึ ไวสาํ หรับใชจา ย หรือเพ่ือการศึกษาของบุตร เปนตน 3) เพื่อใหเกิดดอกผลงอกเงย คือ การนําเงินไปฝากกับสถาบันการเงิน การซ้ือหุน การซ้ือ พันธบตั รรัฐบาล การนาํ เงนิ ไปลงทนุ ซงึ่ ไดผ ลตอบแทนเปนดอกเบ้ยี หรือกําไร 4) เพ่ือประโยชนทางเศรษฐกิจสวนรวม คือ เงินออมของประชาชนในสถาบันการเงิน รัฐบาล สามารถกูเงินมาลงทนุ ขยายการผลติ มากขึน้ มีผลตอ การจา งงานในประเทศมากขนึ้ ทาํ ใหป ระชาชนมเี ศรษฐกิจ ดขี น้ึ สรปุ การบริโภค หมายถงึ การใชจ า ยเพือ่ การบรโิ ภคสินคาและบรกิ ารตา ง ๆ ในระบบเศรษฐกิจการบรโิ ภค จะมากหรอื นอยขึน้ อยกู บั ปจ จัยหลาย ๆ อยาง และสวนหนงึ่ ท่ีเหลือจากการบรโิ ภคกค็ อื เงนิ ออม

191 3. การแบง สรรหรือการกระจาย (Distribution) 1. ความหมายของการแบงสรรหรอื การกระจาย การแบงสรร หมายถึง การแบงสรรผลผลิตจากผูผลิตไปยังผูบริโภคและแบงปนรายไดไปยัง ผเู กย่ี วขอ งกับการผลติ การแบง สรรจําแนกออกเปน 2 ประเภท คือ 1) การแบงสรรสินคาและบริการท่ีผลิตมาไดไปยังผูบริโภค เชน ชาวสวนขายผลไมใหกับ ผบู รโิ ภคหรือชา งตดั ผมบรกิ ารตดั ผมแกล ูกคา เปน ตน 2) การแบงสรรใหเ จาของปจจัยการผลติ ดงั น้ี ปจจัยการผลติ ผลตอบแทนท่ีไดรับ ทีด่ นิ คา เชา (rent) แรงงาน คา จาง (wages) ทนุ ดอกเบย้ี (interests) ผูป ระกอบการ กําไร (profit) 2. ความไมเทา เทียมกนั ของรายได การแบงสรรรายไดไปยังกลุมคนตาง ๆ ในสังคม มักกอใหเกิดความไมเทาเทียมกันของรายได มสี าเหตมุ าจาก 1) ความไมเทาเทียมกันในกําเนิดและทรัพยสินเกิดจากพ้ืนฐานและฐานทางเศรษฐกิจของ ครอบครัวแตกตางกัน เชน คนท่ีเกิดมาในครอบครัวท่ีร่ํารวยยอมมีฐานะทางเศรษฐกิจสูงกวาคนที่เกิดใน ครอบครัวทย่ี ากจน เปน ตน 2) ความไมเ ทา เทียมกนั ในการทาํ งาน เกิดจากการมหี นา ท่ีความรับผิดชอบในการทํางานแตกตาง กัน เชน ผอู าํ นวยการโรงเรยี นมรี ายไดสูงกวานกั การภารโรง เปนตน 3) ความไมเทาเทียมกันในความรู คือ บุคคลที่มีความรูเฉพาะดาน ซึ่งไมอาจทดแทนกันได เชน อาชพี แพทย วิศวกร ชา งเจยี ระไนเพชรพลอย จะมรี ายไดสงู เปน ตน 4) ลักษณะของอุปสงคอ ุปทาน คอื ความสัมพันธร ะหวางปรมิ าณความตองการและปริมาณเสนอ ขายไมสมดุลกัน เชน อุปสงคของแรงงานในกลุมประเทศแถบตะวันออกกลางสูงมากในขณะท่ีอุปทานของ แรงงานมนี อยกวา จึงทําใหค าจา งแรงงานในประเทศเหลา นี้สูง เปน ตน 5) การกระจายการบริการของรัฐในดานสาธารณูปโภคและความเจริญในดา นตา ง ๆ ไมท ั่วถึง เชน ถนนหนทาง ระบบการส่อื สารโทรคมนาคมสาธารณูปโภคตาง ๆ ทําใหบริเวณนั้นมีความเจริญทางเศรษฐกิจ ประชาชนมรี ายไดส งู เปน ตน ดังนั้นรัฐบาลของประเทศตาง ๆ จึงหาวิธีการจัดระบบเศรษฐกิจเพื่อใหมีการกระจายรายไดไปสู ประชาชนอยา งเปน ธรรมและท่ัวถงึ กนั กลาวคือ ประเทศท่ีใชระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม เอกชนมีเสรีภาพ ในการผลติ และการบริโภคอยางเต็มทกี่ อ ใหเกดิ รายไดใ นทรัพยสนิ มาก รฐั จะเรยี กเก็บภาษใี นอัตราสูง ประเทศ ที่ใชระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยมรัฐจะควบคุมการใชปจจัยการผลิตและกระจายรายไดไปยังประชาชน

192 อยา งเปนธรรม สวนประเทศที่ใชระบบเศรษฐกิจแบบผสม เชน ประเทศไทยจะมีมาตรการในการกระจาย รายไดอ ยางเปน ธรรมดว ยการใชม าตรการทางภาษี การจัดสวัสดิการแกผ มู ีรายไดนอย การควบคุมราคาสินคา เปน ตน สรปุ การแบง สรรหรอื การกระจาย หมายถงึ การแบงสรรผลผลิตจากผูผลติ ไปยังผูบริโภคและการแบงปน รายไดไ ปยงั เจา ของปจจยั การผลิตในรปู ของ คาเชา คา จาง ดอกเบีย้ กําไร ในการแบงสรรอาจจะเกิดความไม เทา เทียมกันของรายได ซง่ึ เปนหนาทข่ี องรฐั ทจ่ี ะตองดูแลการกระจายรายไดไ ปสกู ลมุ คนตา ง ๆ อยา งทว่ั ถงึ และ เปนธรรม 4. การแลกเปลี่ยน (Exchange) 1. ความหมายของการแลกเปลี่ยน การแลกเปล่ยี น หมายถึง การเปล่ียนความเปนเจาของในสินคาและบริการ โดยการโอนหรือ การยายกรรมสิทธ์ิ หรอื ความเปน เจา ของ (Ownership) ระหวา งบคุ คลหรอื ธรุ กจิ 2. วิวฒั นาการของการแลกเปล่ียน การแลกเปลีย่ นมวี ิวฒั นาการ 3 ระยะ คอื 1) การแลกเปลีย่ นส่ิงของกบั สงิ่ ของ มักเกิดข้ึนในสังคมที่มีความสัมพันธกันอยางใกลชิด เชน ในสังคมสมัยโบราณหรือในสังคมชนบท โดยการนําเอาสินคาและบริการมาแลกเปลี่ยนกันโดยตรงไมตองมี สื่อกลางในการแลกเปลย่ี น เชน ชาวนาเอาขา วมาแลกกับปลาของชาวประมง เปนตน ระบบการแลกเปลี่ยนสินคาตอ สนิ คาจะมขี อ เสียในเร่อื งความตองการไมตรงกนั ทําใหเ กดิ ความไม คลอ งตวั ในการแลกเปลี่ยน เชน ชาวนาอาจจะไมตองการปลา แตต องการนําขา วไปแลกผาจึงตองไปหาบุคคล ทม่ี ีความตองการตรงกันการแลกเปลยี่ นจงึ จะเกดิ ขน้ึ ได อกี ประการหน่งึ คอื มลู คาสง่ิ ของที่นาํ มาแลกเปลี่ยนกัน อาจจะมมี ลู คา หรอื สดั สว นไมเทากนั ทาํ ใหเ กิดความไมย ตุ ิธรรมในการแลกเปล่ียน 2) การใชเงินเปน ส่ือกลาง เนื่องจากความไมสะดวกและคลองตัวในการแลกเปล่ียนสินคากับ สินคาและความตองการไมตรงกัน ทําใหมนุษยคิดสื่อกลางในการแลกเปล่ียน เปนการแลกเปลี่ยนระหวาง ส่ิงของและเงิน ไดแก การแลกเปล่ียนซ้ือขายสินคาและบริการในสังคมปจจุบัน เงินในยุคแรก ๆ ท่ีมนุษย นาํ มาใชในการแลกเปล่ียนอาจอยูในรูปของเปลือกหอย โลหะ แรธาตุ หรือส่ิงของตาง ๆ ท่ีสังคมน้ันยอมรับ ทําใหก ารแลกเปลี่ยนนน้ั มีความคลอ งตัวมากยง่ิ ขน้ึ 3) การใชตราสารอยา งอืน่ แทนเงินหรือการใชเ ครดติ เน่ืองจากตลาดในระบบเศรษฐกิจมีความ ซบั ซอนมากย่ิงขึน้ การซอ้ื ขายแลกเปล่ยี นจงึ ไดพ ฒั นาจากระบบการใชเ งนิ เปนส่อื กลางมาเปนระบบการใชตรา สารอยางอื่นแทนเงิน หรือการซื้อขายแลกเปลี่ยนโดยผานระบบเครดิต โดยการใชเช็ค ใชตั๋วแลกเงินหรือ บัตรเครดิตตาง ๆ ระบบเครดิตชวยในการแลกเปล่ียนสินคาและบริการระหวางผูผลิต (Producers) หรือ หนวยธรุ กจิ (Business) กับผบู ริโภคหรือครวั เรอื น (Households) เปนไปอยา งรวดเร็ว

193 3. สถาบนั ทเ่ี กย่ี วของกบั การแลกเปลี่ยน ไดแก 1) คนกลาง (Middleman) หมายถึง ผูทําหนาที่เปนส่ือกลางระหวางผูผลิตกับผูบริโภค เชน พอคาขายปลีก พอคาเรตาง ๆ เปนตน คนกลางมีประโยชนทําใหผูบริโภคไดใชสินคาและบริการตามความ ตองการแตถา คนกลางเปน ผเู อาเปรียบผบู รโิ ภคมากเกนิ ไปจะทําใหประชาชนเดอื ดรอน 2) ธนาคาร (Bank) คือ สถาบันการเงินที่ใหความสะดวกในดานการแลกเปลี่ยน ธนาคารทํา หนาท่เี ปน ตวั กลางระหวางผูออมและผลู งทนุ 3) ตลาด (Market) ในทางเศรษฐศาสตร หมายถึง กระบวนการแลกเปลี่ยนซ้ือขายสินคาและ บรกิ าร ไมไดหมายถึงสถานท่ีทําการซ้ือขายสนิ คา แตเปนสถานทใ่ี ด ๆ ทส่ี ามารถติดตอซ้ือขายกันได อาจจะมี หลายรูปแบบ เชน ตลาดขา ว ตลาดหนุ ตลาดโค กระบอื เปนตน หนา ทีส่ ําคัญของตลาด ไดแก 3.1) การจัดหาสินคา (Assembling) คอื จัดหา รวบรวมสินคา และบริการมาไวเพื่อจําหนาย แกผตู อ งการซอ้ื 3.2) การเกบ็ รักษาสนิ คา (Storage) คอื การเกบ็ รกั ษาสนิ คา ท่ีรอการจาํ หนา ยแกผตู องการซอ้ื หรือเกบ็ เพอ่ื การเกง็ กาํ ไรของผูข าย เชน โกดัง หรอื ไซโลเก็บพืชผลตาง ๆ เปน ตน 3.3) การขายสินคา และบรกิ าร (Selling) ทาํ หนา ที่ขายสนิ คาและบรกิ ารแกผูต องการซอ้ื เชน รานคาปลกี หางสรรพสินคา ตลาดสด เปนตน 3.4) การกําหนดมาตรฐานของสินคา (Standardization) ทําหนาที่กําหนดมาตรฐานของ สินคาท่นี าํ มาเสนอขายในดานของนํ้าหนกั ปริมาณและคณุ ภาพ เพือ่ ใหผ ซู ือ้ เกดิ ความไววางใจในสินคาที่นํามา เสนอขาย 3.5) การขนสง (Transportation) ระบบการขนสงทําหนาท่ีสงสินคาที่นํามาแลกเปล่ียนซ้ือ ขายกนั การขนสงมคี วามสําคญั เพราะทุกขั้นตอนของการผลิตจะตองผานกระบวนการขนสงทง้ั สน้ิ 3.6) การยอมรับการเสี่ยงภัย (Assumtion of Risk) ตลาดจะยอมรับการเสี่ยงภัยตาง ๆ อนั อาจเกดิ ข้ึนจากการแลกเปล่ียนซอ้ื ขาย อาทิ ความเสยี่ งภยั เกี่ยวกบั สนิ คาสญู หายหรอื เสอ่ื มภาพ เชน สินคา การเกษตร ยารักษาโรค อาหาร เปนตน 3.7) การเงิน (Financing) ตลาดทําหนาที่รับจายเงินในข้ันตอนตาง ๆ ของการซื้อขาย ตลอดจนการจัดหาทนุ หมุนเวียนและสนิ เชือ่ ตาง ๆ เพือ่ การดําเนนิ ธรุ กิจเกย่ี วกับการแลกเปล่ยี นซ้อื ขาย ในการแขงขนั ตลาดแบง ออกเปน 2 ลกั ษณะคือ 1) ตลาดท่ีมีการแขงขันท่ีไมสมบูรณ (Imperfect Competitive Market) เปนตลาดที่พบอยู โดยทวั่ ไปในประเทศตา ง ๆ ลักษณะสาํ คญั ของตลาดชนิดน้ีคือ มักมีการจํากัดอยางใดอยางหน่ึงที่ทําใหผูขาย หรือผซู ื้อมอี ิทธพิ ลตอการกําหนดราคาหรือปริมาณได ตลาดที่มีการแขงขันไมสมบูรณแบงออกเปน 3 แบบ ไดแก 1.1) ตลาดก่ึงแขงขันก่ึงผูกขาด (Monopolistic Comtetition) คือ ตลาดที่มีผูซื้อขาย จํานวนมาก สนิ คาของผูขายแตล ะรายจะมคี วามแตกตางกันเพียงเลก็ นอยแตไมเหมอื นกนั ทุกประการ สามารถ ท่ีจะทดแทนกันไดแ ตไ มอาจทดแทนกันไดอยางสมบูรณ สวนใหญจะแตกตางกันในเรื่องของการบรรจุหีบหอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook