Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิจัยในชั้นเรียน​1_62

วิจัยในชั้นเรียน​1_62

Published by pennapa29darknight, 2020-10-07 13:15:32

Description: วิจัยในชั้นเรียน​1_62

Search

Read the Text Version

รายงานการวจิ ัยในชนั้ เรียน การพัฒนาทกั ษะการอ่านคา่ แถบสีความต้านทานของนักเรยี น โดยการใช้วงล้อแถบสี Development of resistance color code reading of students by color wheel usage. นางสาวเพ็ญนภา สขุ ยอ้ ย PENNAPA SUKYOY ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 แผนกวิชาช่างอิเลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั เทคนิคมีนบุรี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

ช่ือหัวข้อ การพัฒนาทักษะการอ่านคา่ แถบสีความตา้ นทานของนักเรียนโดย การใช้วงล้อแถบสี ผ้วู จิ ัย นางสาวเพญ็ นภา สุขยอ้ ย ปีการศกึ ษา 1/2562 บทคดั ยอ่ รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทาน ของนกั เรียนโดยการใชว้ งล้อแถบสี มีวัตถปุ ระสงค์ของการวิจยั เพ่ือพัฒนาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น การ อ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียนโดยการใช้วงล้อแถบสี กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนช้ัน ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1/3 (ปวช.1) ที่ลงทะเบียนในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง (2105- 2002) จำนวน 19 คน ตัวแปร ตัวแปรต้น ได้แก่ การสอนโดยใช้วงล้อแถบสี ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่อง การอ่านค่าแถบสีความต้านทาน เนื้อหา เป็นเนื้อหาตามหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาช่างอิเล็กทรอนิกส์ พุทธศักราช 2556 ระยะเวลาในการวิจัย ใช้เวลาในการทดลองเก็บข้อมูลจำนวน 2 คาบเรียน ในวันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562-วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 รวมเป็นเวลา 8 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ใน การวิจัย ได้แก่ วงล้อแถบสี และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติที แบบไม่อิสระ (t-test dependent)ค่าของ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียน เรื่อง การอ่านค่าแถบสีความตา้ นทานโดยใช้วงล้อแถบสี พบว่า คะแนนก่อน เรียนมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 46.84 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 16.348 และคะแนนหลังเรียนมี ค่าเฉลี่ย เท่ากับ 86.32 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 11.161 เมื่อทดสอบสถิติทีแบบไม่อิสระ (t- test แบบ dependent) พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 คะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อน เรียน ยอมรบั สมมติฐานการวจิ ยั I

Title Development of resistance color code reading of students by color wheel usage Researcher Ms.Pennapa Sukyoy Semester 1/2562 Abstract Classroom research report on the development of reading skills for resistance bands of students by using the color wheel. The purpose of the research is to develop academic achievement. To read the resistance band of a student using the color wheel Target group Are the first year vocational certificate students 1/3 (vocational certificate 1) registered in the DC circuit course (2105-2002), amount nineteen persons Including teaching by using the color wheel. The following variables include learning achievement on Reading the color stripe resistance. The content is content according to the vocational certificate program. Type of industry Electronics Technician Division, B.E. 2 5 5 6 , research duration Takes time to collect data for 2 lessons on Thursday 2 August 2019 - Thursday 9 August 2019 for a total of 8 hours. The tools used in the research were the color wheel and the achievement test. Analyze the data by using mean Standard deviation And t-test dependent statistics. The values of achievement in reading resistance bands by using the color wheel It was found that the pre-test scores had an average of 46.84. The standard deviation was 16.348 and the post-study scores had an average of 86.32. The standard deviation was 11.161. When the t-test dependent statistics were found, it was significant. Statistically at the 0.05 level. The average score after studying was higher than before studying Accept research hypothesis ii

กติ ติกรรมประกาศ งานวจิ ัย เร่ือง การพฒั นาทกั ษะการอ่านค่าแถบสีความตา้ นทานของนักเรียนโดยการใช้วงล้อ แถบสี ของนักเรียนชั้น ปวช.1 แผนกอิเลก็ ทรอนิกส์ ในคร้งั น้จี ะสำเรจ็ ลุลว่ งไปดว้ ยดี ด้วยความกรุณา จากบุคลากรและฝ่ายงานต่างๆ ของวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี ที่ให้ความรวมมือจนทำให้งานวิจัยฉบับนี้ ได้เสร็จสมบรู ณ์ ผู้วิจัยขอกราบขอบพระคุณ นายทวีศักดิ์ คิ้วทอง ผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี และ รองผู้อำนวยการวิทยาลัยเทคนิคมีนบุรีทุกท่าน ที่ให้การสนับสนุนในการทำวิจัยในครั้งนี้ และรวมถึง คณะครู นักเรียน นักศึกษา แผนกอิเล็กทรอนิกส์ ทุกท่านที่ให้ความร่วมมือในการจัดทำวิจัยในครั้งนี้ คุณค่าและประโยชน์อันพึงมีจากการทำวิจัยในชั้นเรียนฉบับนี้ ข้าพเจ้าขอมอบแด่ บิดา-มารดา ครู อาจารย์ ตลอดจนผู้มีพระคณุ ทกุ ทา่ นด้วยความเคารพ เพญ็ นภา สขุ ย้อย ครูพิเศษสอนแผนกวชิ าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ผู้จัดทำ I

สารบญั หนา้ บทคัดย่อ............................................................................................................................. ...................I Abstract............................................................................................................................. ..................II กิตตกิ รรมประกาศ……………………………………………………………………………………………………………..….III สารบัญ…………………………………………………………………………………………………………………………..…...IV สารบญั ตาราง…………………………………………………………………………………………………………………..…..VI บทที่ 1 บทนำ 1 1.1 ความเป็นมาและความสำคัญของปญั หา 1 1.2 วตั ถปุ ระสงค์ของงานวิจยั 1 1.3 สมมติฐานของงานวิจัย 2 1.4 กรอบแนวคดิ ในการวจิ ยั 2 1.5 ขอบเขตของงานวจิ ัย 2 1.6 คำนยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะท่ีใช้ในการวจิ ยั 3 1.7 ประโยชนท์ ่ไี ดร้ บั 3 บทท่ี 2 เอกสารและงานวจิ ัยทีเ่ กี่ยวข้อง 4 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาชา่ งอิเลก็ ทรอนิกส์ 4 2.2 ความหมายของส่ือการเรียนการสอน 6 2.3 หลกั การใช้สอ่ื การเรยี นการสอน 6 2.4 ประเภทของสือ่ การสอน 7 2.5 งานวิจัยท่เี กยี่ วขอ้ ง 7 บทที่ 3 วธิ ดี ำเนินการวจิ ยั 9 3.1 ประชากรและกลมุ่ ตวั อย่าง 9 3.2 รปู แบบการวิจยั 9 3.3 เครื่องมือท่ีใช้ในการวจิ ยั 10 3.4 การสร้างเครื่องมือในการวิจัย 10 3.5 การรวบรวมขอ้ มลู 12 3.6 การวเิ คราะห์ข้อมลู 12 II

สารบญั (ต่อ) บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 13 4.1 การวเิ คราะห์แบบทดสอบกอ่ นสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี 13 4.2 การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบหลงั สอนโดยใชว้ งลอ้ แถบสี 14 4.3 แสดงคา่ ของคะแนนก่อนและหลังแสดงค่าของแบบทดสอบหลังสอนโดยใช้วงล้อแถบสี โดยคิดเป็นรอ้ ยละ 15 บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ 19 5.1 สรุปผลการวจิ ัย 19 5.2 อภปิ รายผล 19 5.3 ขอ้ เสนอแนะ 18 บรรณานุกรม 19 ภาคผนวก 20 ภาคผนวก ก แบบทดสอบก่อนใชว้ งล้อแถบสี 21 ภาคผนวก ข วงลอ้ แถบสี 23 ภาคผนวก ค แบบทดสอบหลังใช้วงลอ้ แถบสี 25 ภาคผนวก ง เฉลยแบบทดสอบกอ่ นและหลงั ใชว้ งลอ้ แถบสี 28 ภาคผนวก ฉ ตารางวิเคราะห์ 29 ประวตั ผิ ู้วจิ ยั 33 III

สารบญั ตาราง ตารางที่ หน้า 3.1 แบบแผนการทดลอง 9 4.1 แสดงค่าของแบบทดสอบก่อนสอนโดยใชว้ งล้อแถบสี 13 4.2 แสดงคา่ ของแบบทดสอบหลังสอนโดยใช้วงล้อแถบสี 14 4.3 แสดงค่าของคะแนนกอ่ นและหลงั แสดงค่าของแบบทดสอบหลังสอนโดยใชว้ งล้อแถบสี โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 15 4.4 แสดงคา่ ของผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน เรือ่ ง การอ่านคา่ แถบสตี ัวต้านทาน โดยใชว้ งล้อแถบสี 16 IV

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 ทม่ี าและความสำคัญของปัญหา ในปัจจุบันนี้อาชีวะถือเป็นกำลังหลักของประเทศชาติ เนื่องจากแรงงานฝีมือช่างคือสิ่งที่ สำคัญยิ่งในยุคที่การแข่งขันทางด้านอุตสาหกรรม ซึ่งกำลังเติบโตอย่างก้าวกระโดด การพัฒนา สิ่งประดิษฐ์ใหม่ๆ จะเกิดขึ้นไม่ได้ ถ้าขาดกำลังคนที่มีคุณภาพ การจะทำให้คนมีคุณภาพน้ันก็ต้องเริ่ม จากการที่มีระบบการศึกษาที่ดีและเข้มแข็ง ดังนั้นการเตรียมความพร้อมให้ผู้เรียนในการเรียนรู้และ พฒั นาฝีมอื ตนเอง เพอื่ เข้าสยู่ ุคไทยแลนด์ 4.0 ไดน้ ั้น จะตอ้ งคิดเปน็ ทำเปน็ และการนำความรู้ ข้อมูล ที่มีอยู่มากกมายบนโลกมาประยุกต์ใช้เพื่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ ซึ่งจะต้องพัฒนาทักษะ ฝีมือ ในด้าน ต่างๆ ให้ชำนาญเสียก่อน จึงจะเกิดการรวบยอดความรู้และนำไปประยุกต์ได้ ซึ่งจะเห็นได้ว่าการ พฒั นาทกั ษะการอา่ นคา่ แถบสีเปน็ ส่ิงสำคัญในการนำไปต่อยอดตา่ งๆ ซึ่งผู้วิจัยได้ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษารับผิดชอบวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง แผนก อเิ ลก็ ทรอนิกส์ วิทยาลยั เทคนคิ มีนบรุ ี ผวู้ จิ ยั ได้เล็งเห็นปัญหาและอุปสรรคในการเรยี นการสอนในวิชา วงจรไฟฟา้ กระแสตรง ผูเ้ รยี นจะต้องเรียนรู้ค่าแถบสีของตัวต้านทาน ที่ผู้เรยี นมักจะไดใ้ ชง้ านในการต่อ วงจรไฟฟ้า ในการหาตัวต้านทานแต่ละแถบสีจะต้องใช้เวลาอย่างจำกัดในการอ่านค่าตัวต้านทาน ให้ ถูกต้องและแม่นยำ ซึ่งการใช้งานของตัวต้านทานเป็นอุปกรณ์พื้นฐานในการต่อวงจรและนำไปใช้ใน รายวิชาอ่ืนไดด้ ว้ ย จากปัญหาที่เกิดขึ้นดังกล่าว ผู้วิจัยมีแนวคิดที่จะจัดทำการพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสี ความต้านทานของนักเรียนโดยการใช้วงล้อแถบสี เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะในการอ่านค่าแถบสีของตัว ตา้ นทานไดอ้ ย่างชำนาญและมีความสามารถในเลือกใช้ตวั ต้านทานท่ถี ูกต้องและแม่นยพ ผวู้ จิ ัยคาดว่า เมื่อผู้เรียนมีทักษะในการอ่านค่าความต้านทานแล้ว การเรียนการสอนในรายวิชาวงจรไฟฟ้า กระแสตรง น้นั จะเป็นไปอย่างเรียบร้อย สามารถจัดการเรยี นการสอนภาคปฏิบตั ิได้ตามแผนการสอน และผู้เรียนจะได้รับความรู้และประสบการณ์จากการทดลองอย่างสมบูรณ์ตรงตามจุดประสงค์เชิง พฤติกรรม 1.2 วตั ถุประสงค์ของงานวจิ ัย 1.2.1 เพื่อสร้างการพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียนโดยการใช้วง ลอ้ แถบสี 1.2.2 เพอื่ พัฒนาและเสรมิ สรา้ งความชำนาญในการอ่านค่าแถบสีความตา้ นทาน 1.2.3 เพอื่ ใหผ้ เู้ รียนได้รบั ความรูแ้ ละเขา้ ใจในการเรยี นวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง

2 1.3 สมมติฐานของงานวิจยั 1.3.1 การพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียนโดยการใช้วงล้อแถบสี ท่ีสรา้ งข้นึ มีประสทิ ธิภาพหลังเรยี นมากกวา่ กอ่ นเรยี น 1.3.2 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยวงล้อแถบสี หลังเรียนสูงกว่าก่อน เรยี นอยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถติ ทิ ร่ี ะดบั .05 1.4 กรอบแนวคิดในงานวิจยั การสอนโดยใช้ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น วงลอ้ แถบสี รปู ที่ 1.1 กรอบแนวคดิ ในงานวิจัย 1.5 ขอบเขตของการวิจัย 1.5.1 กลมุ่ เปา้ หมาย ประชากร นกั เรยี นชั้น ปวช.1 แผนกชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนิคมีนบุรี กลมุ่ ตวั อยา่ ง นักเรยี นชนั้ ปวช.1/3 แผนกชา่ งอิเล็กทรอนกิ ส์ วิทยาลยั เทคนิคมนี บุรี จำนวน 19 คน 1.5.2 ตัวแปร ตัวแปรตน้ การสอนโดยใช้วงล้อแถบสี ตวั แปรตาม ผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นเรือ่ ง การอ่านคา่ แถบสีความต้านทาน 1.5.3 ขอบเขตเนื้อหา เนื้อหาสาระของรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง รหัสวิชา 2105-2002 ตาม หลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชา ช่างอิเล็กทรอนกิ ส์ 1.5.4 ระยะเวลาการทดลองเก็บข้อมูล ใช้เวลาในการทดลองเก็บข้อมูลจำนวน 2 คาบเรียน ในวันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562-วันพฤหสั บดที ่ี 9 สงิ หาคม พ.ศ. 2562 รวม 8 ช่ัวโมง 1.6 คำนยิ ามศพั ท์เฉพาะทีใ่ ช้ในการวิจัย การพัฒนา หมายถึง แบบฝึกทักษะเป็นสื่อการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติเพื่อพัฒนา ทกั ษะและความรูต้ า่ ง ๆ จนเกิดความชำนาญ และสามารถนำความรูไ้ ปใช้ไดอ้ ย่างถูกต้อง

3 นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้น ปวช.1/3 แผนกช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี จำนวน 19 คน ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หมายถึง คะแนนของนักเรียนที่ได้หลังจากการทำแบบทดสอบ วดั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนดว้ ยการเรียนด้วยวงล้อแถบสี ที่ได้จากการทดสอบ ทกั ษะ หมายถึง ความชำนาญ หรอื ความสามารถในการปฏิบตั ิส่ิงใดส่งิ หนง่ึ จากการฝกึ ฝน แบบทดสอบ หมายถงึ ชดุ ของคำถาม ปัญหา สถานการณ์ กลุ่มของงานหรือกจิ กรรมอย่าง ใดอย่างหนึ่งที่ใช้เป็นสิ่งเร้า กระตุ้นยั่วยุ หรือชักนำให้ผู้ถูกทดสอบแสดงพฤติกรรมหรือปฏิกิริยา ตอบสนองตามแนวทางท่ีต้องการ วงล้อแถบสี หมายถงึ สื่อการเรยี นการสอนท่ีชว่ ยในการแปลคา่ ความตา้ นทาน 1.7 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับจากการวิจยั 1.7.1 การพัฒนาทกั ษะการอ่านค่าแถบสีความตา้ นทานโดยการใช้วงลอ้ แถบสี 1.7.2 ผเู้ รียนสามารถอ่านค่าแถบสีความต้านทานได้ถูกต้องและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน รายวิชาอื่นต่อไป

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเ่ี ก่ยี วข้อง การพฒั นาทักษะการอา่ นค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียนโดยการใชว้ งล้อแถบสี ผู้วจิ ัย ไดศ้ ึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจยั ท่เี กี่ยวข้องตามประเดน็ สาคญั หวั ข้อตอ่ ไปน้ี 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 2.2 ความหมายของส่อื การเรยี นการสอน 2.3 หลักการใช้สื่อการเรยี นการสอน 2.4 ประเภทของส่ือการสอน 2.5 งานวจิ ัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง 2.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาช่างอเิ ล็กทรอนิกส์ 2.1.1 จุดประสงค์รายวิชา 1.เพื่อให้สามารถประยุกต์ใช้ความรู้และทักษะด้านภาษา วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ สงั คมศกึ ษา สุขศึกษาและพลศึกษาในการพฒั นาตนเองและวิชาชีพ 2.เพื่อให้มีความรู้และทักษะในหลักการบริหารและการจดั การวชิ าชีพ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและหลักการงานอาชีพท่ีสัมพันธ์เก่ียวข้องกับการพัฒนาวิชาชีพช่าง อิเล็กทรอนิกส์ ให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลงและความก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ สังคม และ เทคโนโลยี 3.เพื่อให้มีความรู้และทักษะในหลักการและกระบวนการงานพื้นฐานด้าน อตุ สาหกรรม 4.เพอ่ื ให้มีความรแู้ ละทกั ษะในงานผลิตและงานบริการทางอเิ ล็กทรอนิกส์ตาม หลักการและกระบวนการในลักษณะครบวงจรเชิงธรุ กิจโดยคานึงถึงการใช้ทรัพยากรอย่าง คุ้มค่า การอนรุ กั ษ์พลังงานและสง่ิ แวดล้อม 5.เพ่ือให้สามารถปฏิบัติงานช่างอิเล็กทรอนิกส์ในสถานประกอบการและ ประกอบอาชีพอิสระรวมทั้งการใช้ความรู้และทักษะเป็นพ้ืนฐานในการศึกษาต่อในระดับที่ สงู ขึน้ 6.เพ่ือให้สามารถเลือก ใช้ ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีในงานอาชีพช่าง อเิ ล็กทรอนิกส์

5 7.เพื่อให้มีเจตคติและกิจนิสัยที่ดีต่องานอาชีพ มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ ซ่ือสัตย์ ประหยัด อดทน มีวินัย มีความรับผิดชอบต่อสังคมและส่ิงแวดล้อม ต่อต้านความ รุนแรงและสารเสพติด สามารถพฒั นาตนเองและทางานร่วมกบั ผอู้ นื่ 2.1.2 มาตรฐานการศึกษาวชิ าชีพ คุณภาพของผู้สาเร็จการศึกษาระดับคุณวุฒิการศึกษาประกาศนียบัตร วชิ าชีพ ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาวชิ าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ ประกอบด้วย 1.ด้านคณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ ได้แก่ 1.1 ด้านคุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ เช่น ความเสียสละ ความซ่ือสัตย์สุจริตกตัญญูกตเวที ความอดกล่ัน การละเว้นสิ่งเสพติดและการพนัน มี จิตสานกึ และเจตคติที่ดตี ่อวิชาชีพและสงั คม 1.2 พฤติกรรมลักษณะนิสัย ได้แก่ ความมีวินัย ความรับผิดชอบ มีมนุษย์ สัมพนั ธ์ ความเช่ือมน่ั ในตนเอง ความรกั สามคั คี ขยนั ประหยัด อดทน การพง่ึ ตนเอง 1.3 ทักษะทางปัญญา ได้แก่ ความรู้ในหลักทฤษฎี ความสนใจใฝ่รู้ ความคิด รเิ ริม่ สรา้ งสรรค์ ความสามารถในการคิด วเิ คราะห์ 2.ดา้ นสมรรถนะหลักและสมรรถนะทว่ั ไป ได้แก่ 2.1 สื่อสารโดยใช้ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในชีวิตประจาวันและใน งานอาชีพ 2.2 แก้ไขปัญหาในงานอาชีพโดยใช้หลักการทางวิทยาศาสตร์และ คณติ ศาสตร์ 2.3 ปฏิบัติตนตามหลักศาสนา วัฒนธรรม ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมทาง สงั คมละสทิ ธหิ นา้ ที่พลเมือง 2.4 พฒั นาบคุ ลิกภาพและสุขอนามยั โดยใช้หลักการและกระบวนการด้านสุข ศึกษาและพลศึกษา 3.ด้านสมรรถนะวิชาชพี 3.1 วางแผน ดาเนินงาน จัดการงานอาชีพตามหลักการและกระบวนการ โดยคานึงถึงการบรหิ ารงานคุณภาพ การอนุรักษ์ทรัพยากรและส่ิงแวดล้อม หลักอาชีวอนา มัยและความปลอดภยั 3.2 ใช้คอมพิวเตอรแ์ ละสารสนเทศเพื่องานอาชพี 3.3 ปฏิบัติงานพื้นฐานอาชีพช่างอิเล็กทรอนิกส์ตามหลักการและ กระบวนการ 3.4 อ่านแบบ เขียนแบบในงานอิเล็กทรอนิกส์ งานระบบเสียง งานระบบ ภาพ งานระบบสื่อสาร การประเมนิ ราคา และเลือกใช้วัสดุอุปกรณอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์

6 3.5 คิดวิเคราะห์ปัญหา สาเหตุและวิธีการแก้ไข รวมท้ังคิดแยกแยะประเด็น ปัญหาในทางวชิ าชพี 3.6. ประกอบ ตดิ ตง้ั และทดสอบการทางานของอุปกรณ์ไฟฟ้าอเิ ล็กทรอนิกส์ ในงานระบบเสียง งานระบบภาพ งานระบบสื่อสาร และงานอิเล็กทรอนิกส์อุตสาหกรรม ดว้ ยเครือ่ งมอื วัดทางไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนกิ ส์ 3.7 ซ่อมบารุงรักษาเคร่ืองรับเครื่องส่งวิทยุ ระบบเสียง ระบบภาพ ระบบสื่อสารโทรคมนาคม ระบบคอมพิวเตอรแ์ ละอปุ กรณ์ และงานอิเล็กสอ์ ุตสาหกรรม 2.2 ความหมายของสอื่ การเรียนการสอน ความหมายของส่ือการเรียนการสอน (Instructional Media) สื่อ (Media) หมายถึง ตัวกลางที่ใช่ถ่ายทอดหรือนาความรู้ ในลักษณะต่าง ๆ จากผู้ส่งไปยังผู้รับให้เข้าใจ ความหมายได้ ตรงกันในการเรียนการสอนสื่อท่ีใช้เป็นตัวกลางนาความรู้ในกระบวนการส่ือความหมายระหว่างผู้สอน กบั ผู้เรยี นเรียกว่าสื่อการสอน (Instruction Media) ในทางการศึกษามีคาทม่ี ีความหมายแนวเดียวกันกับส่ือการเรียนการสอน เช่น สื่อการสอน (Instructional Media or Teaclning Media) ส่ือการสอน (Educational media) อุปกรณช์ ่วยสอน (Teaching Aids) เป็นต้น ในปัจจุบันนักการศึกษามักจะเรียกการนาส่ือการเรียนการสอนชนิดต่าง ๆ มารวมกันว่า เทคโนโลยีทางการศึกษา(Educational) ซ่ึงหมายถึงการนาเอาวัสดุอุปกรณ์และวิธีการ มาใช้รว่ มกนั อย่างมีระบบในการเรยี นการสอน เพอ่ื เพ่ิมประสทิ ธภิ าพในการสอน สื่อการเรียนการสอน หมายถึง ส่ิงต่างๆ ที่เป็นบุคคล วัสดุ อุปกรณ์ ตลอดจนเทคนิควิธีการ ซ่ึงเป็น ตัวกลางทาให้ผู้เรียนเกิดการเรยี นรู้ตามจุดประสงค์ของการเรียนการสอนที่กาหนดไว้ได้อย่างง่ายและ รวดเร็วเป็นเคร่ืองมือและตัวกลางซึ่งมีความสาคัญในกระบวนการเรียนการสอนมีหน้าท่ีเป็นตัวนา ความต้องการของครูไปสู่ตัวนักเรียนอย่างถูกต้องและรวดเร็วเป็นผลให้นักเรียนเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายการเรียนการสอนได้อย่างถูกต้องเหมาะสม นักการศึกษาเรียกช่ือการ สอนด้วยชอ่ื ต่าง ๆ เช่น อุปกรณก์ ารสอน โสตทศั นปู กรณ์ เทคโนโลยกี ารศึกษา ส่ือการเรียนการสอน ส่ือการศกึ ษา เปน็ ตน้ 2.3 หลักการใช้สื่อการเรยี นการสอน การใช้สื่อการเรียนการสอนน้ันอาจจะใช้เฉพาะขั้นตอนใดข้ันตอนหน่ึงของการสอน หรือจะ ใชใ้ นทุกขั้นตอนกไ็ ด้ ดังน้ี 1.ขั้นนาเข้าสู่บทเรียน เพ่ือกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในเน้ือหาท่ีกาลังจะเรยี น หรือเนื้อหาท่ีเกี่ยวข้องกับการเรียนในคร้ังก่อน แต่มิใช่ส่ือที่เน้นเนื้อหาเจาะลึกอย่างแท้จริง เป็นสอ่ื ท่ีง่ายในการนาเสนอในระยะเวลาอันส้ัน

7 2.ขั้นดาเนินการสอนหรือประกอบกิจกรรมการเรียน เป็นขั้นสาคัญในการเรียน เพราะเป็นขั้นท่ีจะให้ความรู้เน้ือหาอย่างละเอียดเพื่อสนองวัตถุประสงค์ท่ีต้ังไว้ ต้องมีการ จดั ลาดบั ข้ันตอนการใชส้ อื่ ใหเ้ หมาะสมและสอดคล้องกบั กิจกรรมการเรียน 3.ขั้นวิเคราะห์และฝึกปฏิบัติ ส่ือในขั้นนี้จึงเป็นสื่อที่เป็นประเด็นปัญหาให้ผู้เรียนได้ ขบคิดโดยผู้เรยี นเป็นผู้ใชส้ ่อื เองมากทีส่ ดุ 4.ขัน้ สรุปบทเรยี น เป็นขนั้ ของการเรยี นการสอนเพ่ือการยา้ เนอ้ื หาบทเรียนให้ผู้เรียน มีความเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ งและตรงตามวัตถุประสงค์ทีต่ ั้งไว้ ควรใช้เพียงระยะเวลาส้ันๆ 5.ข้ันประเมินผเู้ รยี น เป็นการทดสอบความสามารถของผ้เู รียนว่าผู้เรยี นเขา้ ใจในสิ่งที่ เรียนถูกต้องมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่แล้วจะเป็นการประเมินจากคาถามจากเน้ือหา บทเรียนโดยอาจจะมีภาพประกอบด้วยกไ็ ด้ 2.4 ประเภทของสือ่ การสอน นักเทคโนโลยีการศึกษา ได้แบ่งประเภทของส่ือการสอน ตามลักษณะรูปร่างดังนี้ (Kinder,1965) 1.ส่ือประเภทรูปภาพ ได้แก่ รูปภาพต่างๆ ท้ังภาพท่ีไม่ต้องการใช้เคร่ืองฉายและภาพท่ี ต้องการ เคร่ืองฉาย ได้แก่ รูปภาพทัว่ ไป สไลด์ ฟลิ ม์ สตรปิ ภาพยนตร์ ฯลฯ 2.สือ่ ประเภทเครอ่ื งฉาย ไดแ้ ก่ แผ่นเสยี ง เทปบนั ทกึ เสียง วทิ ยุ ระบบขยายเสยี ง เคร่อื ง ฉายสไลด์ เครื่องฉายภาพยนตร์ ฯลฯ 3.สื่อประเภทวสั ดุกราฟฟิก ไดแ้ ก่ แผนภูมิ แผนสถติ ิ แผนภาพ ภาพสเก็ต ภาพโฆษณา การ์ตูน แผนที่ ลกู โลก ฯลฯ 4.สื่อประเภทแหล่งชุมชนเพ่ือการศึกษา ได้แก่ การศึกษานอกสถานท่ี วิทยากร แหล่ง ชุมชนต่างๆ 5.ส่ือประเภทวสั ดุราคาถูก ไดแ้ ก่ จุลสาร รูปภาพ หนังสอื พมิ พ์ เศษวสั ดุ ฯลฯ 6.สื่อประเภทอ่ืนๆ 6.1แผน่ ป้ายตั้งแสดงเชน่ กระดานชอรก์ แผ่นป้ายสาลปี า้ ยนเิ ทศ ฯลฯ 6.2 วัสดแุ ละเทคนคิ การแสดง เชน่ สาธิต นาฏการ ฯลฯ 6.3 วสั ดุสามมิตไิ ดแ้ กข่ องจริง หุ่นจาลอง 7.ส่ือประเภทใหม่ๆ ได้แก่ โทรทัศน์ ห้องปฏิบัติการภาษา บทเรียนสาเร็จรูป คอมพวิ เตอร์ สือ่ บนเครือข่าย และระบบการเรยี นการสอนต่างๆ 2.5 งานวิจยั ท่เี กย่ี วข้อง วรี ะศักด์ิ (2540) ไดท้ าการวจิ ยั และหาประสทิ ธภิ าพชุดการสอน วิชาวิศวกรรม 1 เรือ่ ง ระบบ ของแรงสมดุลของแรงและในโครงสร้างและแรงกระจายตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

8 กรมอาชีวศึกษา พุทธศักราช 2536 ผลการวิจัยปรากฏว่า ชุดการสอนท่ีสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ 85.97/82.5 ซ่งึ สงู กวา่ เกณฑท์ ่ีกาหนด 80/80 เดช (2540) ได้ทาการวิจัยสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอนเร่ือง หม้อไอน้าและชุด แลกเปล่ียนความร้อน ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2536 สาขาวิชาช่าง ยนต์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ผลจากการวิจัยปรากฏว่า ชุดการสอนท่ีสร้างข้ึนมีประสิทธิภาพ 85.10/83.61 สวุ ิทย์ (2540) ได้ทาการวจิ ยั สร้างและหารประสิทธภิ าพชุดการสอน เรอื่ ง เครอื่ งยนต์ดีเซล ท่ี ควบคุมการทางานด้วยอิเล็กทรอนิกส์ ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2536 สาขาวิชาช่างยนต์ สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล ผลจากการวิจัยปรากฏว่า ชุดการสอนท่ีสร้างข้ึนมี ประสทิ ธิภาพ 84.46/81.16 ซึ่งสูงกว่าเกณฑท์ ีก่ าหนด 80/80 วารุณี (2545) ได้ทาการวิจัยการพัฒนาส่ืออุปกรณ์การสอน วิชาหลักเศรษฐศาสตร์ เร่ือง อุปสงค์ อุปทาน และภาวะดุลยภาพ สาหรับนักเรียน ชั้นปวส. 1 สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ วิทยาลัย เกษตรและเทคโนโลยีกาแพงเพชร ผลจากการวิจัยปรากฏว่า ส่ืออุปกรณ์การสอนที่สร้างข้ึนมี ประสิทธิภาพ 90/94 ซ่ึงสูงกว่าเกณฑ์ท่ีกาหนดคือ 80/80 และศึกษาความก้าวหน้าของผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน หลงั การใช้ส่ืออุปกรณ์การสอน ผลปรากฏว่า นกั เรยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนกา้ วหน้า ทุกคน คิดเฉลี่ยความก้าวหน้าได้ร้อยละ 37.86 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 56.14 เปน็ รอ้ ยละ 94 อภิชาต (2546) ) ได้ทาการวิจัยสร้างและหาประสิทธิภาพชุดการสอน เรื่อง เวกเตอร์ ตาม หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 สาขางานเทคนิคยานยนต์วิทยาลัยเทคนิค เชียงราย ผลจากการวิจัยปรากฏว่า ชุดการสอนท่ีสร้างขึ้นมีประสิทธิภาพ 82.20/83.50 ซึ่งสูงกว่า เกณฑท์ กี่ าหนด 80/80 Olsen (1975:4992-A) ได้ทาการวิจัยเกี่ยวกับผลการใช้ชุดการสอน ในการศึกษาแผนใหม่ที่ ใช้เป็นโครงการเริ่มทดลองในเขตคานาวา โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือหารายละเอียดเก่ียวกับโปรแกรม การศึกษาใหม่ ของโรงเรียนประถมศึกษาท่ีอยู่ในและนอกโครงการของเขตคานาวา รัฐเวอร์จิเนีย ตะวนั ตก โดยให้ครูท่ีอยใู่ นโรงเรียนในโครงการใช้ชดุ การสอนทีท่ ้องถ่นิ ต้องการ แต่ครโู รงเรียนนอกเขต โครงการไม่ให้ใช้ชุดการสอนเหล่าน้ัน ผลการวิจัยปรากฏว่า การศึกษาโดยใช้ชุดการสอนน้ันให้ผล ดีกว่าการสอนโดยไมใ่ ชช้ ุดการสอน

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนนิ การงานวจิ ยั รายงานการวจิ ัยในชนั้ เรียน เรอ่ื ง การพฒั นาทกั ษะการอ่านคา่ แถบสคี วามตา้ นทานของนักเรียน โดยการใชว้ งล้อแถบสี โดยมีรายละเอยี ดในการดำเนนิ การวจิ ัย ดงั นี้ 3.1 ขอบเขตของการวิจัย ประชากร และกล่มุ ตวั อย่าง ประชากร นักเรียนชัน้ ปวช.1 แผนกชา่ งอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ วิทยาลยั เทคนคิ มนี บุรี กลุ่มตัวอย่าง นักเรียนชั้น ปวช.1/3 แผนกช่างอิเล็กทรอนิกส์ วิทยาลัยเทคนิคมีนบุรี จำนวน 19 คน ตวั แปรท่ีศกึ ษา ตัวแปรตน้ การสอนโดยใช้วงล้อแถบสี ตัวแปรตาม ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นเรื่อง การอ่านค่าแถบสคี วามตา้ นทาน ขอบเขตเนอ้ื หาวชิ าท่ใี ชใ้ นการทดลอง เนื้อหาสาระของรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง รหัสวิชา 2105-2002 ตาม หลักสูตร ประกาศนียบตั รวชิ าชพี พทุ ธศกั ราช 2556 ประเภทวิชาอตุ สาหกรรม สาขาวิชาชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ ระยะเวลาการทดลอง ใช้เวลาในการทดลองเก็บข้อมูลจำนวน 2 คาบเรียน ในวันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562-วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 3.2 รปู แบบการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้เป็นวิจัยเชิงทดลอง โดยใช้การศึกษารูปแบบ One Group Pretest Posttest Design ซึ่งมรี ปู แบบดงั ตารางท่ี 1 ตารางที่ 3.1 แบบแผนการทดลอง การทดสอบ การสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี การทดสอบหลังเรียน กอ่ นเรยี น T1 X T2 T1 หมายถงึ การทดสอบก่อนเรยี น X หมายถึง การสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี

10 T2 หมายถงึ การทดสอบหลังเรียน 3.3 เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการวิจยั 3.3.1 วงล้อแถบสี 3.3.2 การหาคุณภาพของวงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของ นกั เรยี น 3.3.3 แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น 3.4 การสร้างเครื่องมอื ในการวจิ ยั ผวู้ จิ ยั ได้ดำเนินการสรา้ งเครอ่ื งมอื ในการวจิ ยั ตามขัน้ ตอน ดังนี้ 3.4.1 วงลอ้ แถบสี มขี น้ั ตอนการสร้างดงั นี้ 3.4.1.1 ศึกษาโครงสร้างและฟังก์ชันของค่าแถบสีตัวต้านทาน เพื่อออกแบบสื่อตาม วตั ถปุ ระสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม 3.4.1.2 สรา้ งวงลอ้ แถบสีเพอื่ พัฒนาทักษะการอา่ นค่าแถบสีความต้านทานของนักเรยี น ท่ี สอดคล้องกับวตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม 3.4.1.3 นําวงล้อแถบสเี พือ่ พฒั นาทักษะการอา่ นคา่ แถบสีความต้านทานของนักเรยี น แสง วิทยานิพนธ์และอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมตรวจสอบ หากมีข้อบกพร่องต้องทาการแก้ไข ปรบั ปรุงตอ่ ไป 3.4.1.4 นําวงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียน ที่ ปรับปรุงแก้ไขตาม คําแนะนาํ ของอาจารยท์ ่ีปรึกษาแล้วเสนอ ผทู้ รงคณุ วุฒิ 3 ท่าน 3.4.1.5 ปรับปรุงแก้ไขวงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของ นกั เรียน ตามข้อเสนอแนะของผ้ทู รงคุณวฒุ ิ 3.4.1.6 ได้วงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียน ไป ใช้กับนักเรียนซึ่งเป็นกลุม่ ตัวอย่าง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมลู ในการวจิ ัยต่อไปจากขน้ั ตอนการสรา้ งสื่อ 3.4.2 การหาคุณภาพของวงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทาน ของนักเรียน มีขนั้ ตอนการหาคณุ ภาพดังนี้ 3.4.2.1 วงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียน เสนอ ให้ผู้ทรงคณุ วฒุ จิ ำนวน 3 ท่าน โดยใชแ้ บบประเมินคณุ ภาพของวงลอ้ แถบสเี พื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทาน ของนกั เรยี น แบง่ ระดบั ความคิดเห็นออกเป็น 5 ระดบั ดงั นี้ ระดบั 5 หมายถงึ ระดบั คุณภาพดีมาก

11 ระดับ 4 หมายถงึ ระดับคณุ ภาพดี ระดับ 3 หมายถงึ ระดับคุณภาพปานกลาง ระดบั 2 หมายถึง ระดับคุณภาพพอใช้ ระดบั 1 หมายถึง ระดับคุณภาพควรปรับปรุง การกำหนดเกณฑ์การประเมินคุณภาพของวงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสี ความต้านทานของนักเรยี น 4.50 - 5.00 มคี ณุ ภาพ อยู่ในระดับดมี าก 3.50 - 4.49 มีคณุ ภาพ อยใู่ นระดับดี 2.50 - 3.49 มีคุณภาพ อยู่ในระดบั กลาง 1.50 - 2.49 มคี ณุ ภาพ อยใู่ นระดบั พอใช้ 1.00 - 1.49 มคี ุณภาพ อยใู่ นระดับควรปรับปรุง เกณฑ์การประเมินคุณภาพวงล้อแถบสี กำหนดเกณฑ์การประเมิน (X̅) ต้องอยู่ในระดับ ค่าเฉล่ยี ไมต่ ่ำกวา่ 3.50 จึงถอื ว่าวงล้อแถบสี น้นั มีคณุ ภาพ (2) นำวงล้อแถบสีไปใช้กับนักเรียนซึ่งเป็นกลุ่มตัวอย่าง เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลใน การวิจัย ตอ่ ไป (3) ตรวจสอบโดยอาจารย์ทป่ี รึกษา (4) ไดว้ งล้อแถบสีทีผ่ า่ นการหาคณุ ภาพมาแล้วไปใชก้ บั กลุ่มตัวอย่างเพ่ือทำการวจิ ยั 3.4.3 แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น มีขัน้ ตอนการสร้างดงั นี้ 3.4.3.1 ศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาช่างอุตสาหกรรม พทุ ธศักราช 2556 3.4.3.2 ศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เรื่อง การอ่านค่าสีตัว ตา้ นทาน 3.4.3.3 ศึกษาคู่มือการวัดผลตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาช่าง อตุ สาหกรรม พุทธศกั ราช 2556 3.4.3.4 สร้างแบบทดสอบ การอ่านค่าสีตัวต้านทานจำนวน 10 ข้อ โดยให้ครอบคลุม จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม 3.4.3.5 นำแบบทดสอบ ที่วิชางานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้น เรื่อง การอ่านค่าสี ตัวต้านทาน ที่สร้างขึ้นให้ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา คือ อาจารย์ธีระยุทธ นุ้ยนุ่น ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา หลักการสอน รวมไปถึงหลักสูตร คือ อาจารย์สมบัติ อินยินและอาจารย์ไพโรจน์ ครองตนผู้เชี่ยวชาญ ด้านการวิจัยและสถิติ และความสอดคล้องด้วยดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence : IOC ) เท่ากับ 1.00 โดยปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญด้านภาษา เก่ียวกบั คำที่พมิ พ์ผดิ และข้อความท่ไี ม่ชัดเจน

12 3.4.3.6 นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง การ อ่านค่าสีตัวต้านทาน ไปใช้จริงนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่าง อิเล็กทรอนิกส์ ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 จำนวน 19 คน ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชา วงจรไฟฟ้ากระแสตรง (2105-1002) และในการเก็บขอ้ มูลมวี ิธีการดำเนินการ 3.5 การรวบรวมข้อมูล ผู้วิจัยได้นำวงล้อแถบสี วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เรื่อง การอ่านค่าสีตัวต้านทาน ไปใช้จริง กับนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์ ในภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562 จำนวน 19 คน ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง (2105-1002) และในการเกบ็ ข้อมลู มีวธิ กี ารดำเนนิ การ ดงั นี้ 3.5.1 ขั้นเตรียมการ ผู้วิจัยอธิบายจุดประสงค์ในการเรียนรู้ ขั้นตอนการเรียนการสอน วิธีการใชโ้ ดยวงล้อแถบสี วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เรื่อง การอ่านค่าสีตัวต้านทาน ให้กับนักเรียนให้ รับทราบทุกคน พร้อมทั้งคอยชี้แนะและให้คำแนะนำวิธีการใช้วงล้อแถบสี วิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เรื่อง การอ่านค่าสีตัวต้านทาน อย่างใกล้ชิดเมื่อนักเรียนเกิดความสงสัย และให้นักเรียนทำ แบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนกอ่ นเรียน จากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน จำนวน 10 ข้อ 3.5.2 ขั้นสอน ผู้วิจัยได้ดำเนินการให้นักเรียนได้เรียนรู้วงล้อแถบสี วิชาวงจรไฟฟ้า กระแสตรง เร่อื ง การอ่านคา่ สีตัวต้านทาน พร้อมทัง้ คอยชี้แนะ และให้คำแนะนำวิธีการใช้วงล้อแถบสี วชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง เร่ือง การอ่านคา่ สตี ัวตา้ นทาน อยา่ งใกล้ชดิ เม่อื นักเรียนเกดิ ความสงสัย 3.5.3 ข้ันสรปุ ใหน้ กั เรียนชว่ ยกันสรปุ ร่วมกับผสู้ อน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจให้ตรงกนั 3.5.4 ขั้นวัดผลและประเมินผล ให้นักเรียนทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรยี น จากแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น จำนวน 10 ข้อ 3.6 การวิเคราะห์ข้อมลู นำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นก่อนเรียน และหลังเรียนมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ค่าเฉล่ีย ค่าเบีย่ งเบนมาตรฐาน และทดสอบสถติ ทิ ีแบบไมอ่ สิ ระ (t-test dependent)

บทที่ 4 ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู รายงานการวจิ ัยในชน้ั เรยี น เรอื่ ง การพฒั นาทกั ษะการอ่านคา่ แถบสคี วามตา้ นทานของนักเรียน โดยการใช้วงล้อแถบสี ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาช่าง อิเล็กทรอนิกส์ โดยใช้วงล้อแถบสี กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 1 (ปวช.1) ท่ีลงทะเบยี นในรายวชิ าวงจรไฟฟ้ากระแสตรง (2105-2002) จำนวน 19 คน ตวั แปร ตัวแปร ตน้ ได้แก่ การสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี ตวั แปรตาม ไดแ้ ก่ ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนเรอื่ ง การอา่ นค่าแถบ สีความต้านทาน เนื้อหา เป็นเนื้อหาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาช่าง อุตสาหกรรม ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการทดลองเกบ็ ข้อมลู จำนวน 2 คาบเรียน ในวันพฤหัสบดีท่ี 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562-วนั พฤหสั บดที ี่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจัย ได้แก่ วงลอ้ แถบสี,การหา คุณภาพของวงล้อแถบสีเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียน ,แบบทดสอบ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติที แบบไมอ่ สิ ระ (t-test dependent) โดยมีรายละเอียดในการวเิ คราะหข์ ้อมูลดงั นี้ 4.1 การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบกอ่ นสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี ตารางที่ 4.1 แสดงค่าของแบบทดสอบกอ่ นสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี จำนวน 10 ข้อ ลำดบั ช่ือ-นามสกุล 750 Ω 10 kΩ 1 จกั รรนิ ทร์ ตรึกหากจิ 1 kΩ 2 ชลิดา สถติ วิรยิ ะกุล 490 Ω 3 ชตุ เิ ดช แซเ่ ฮง้ 220 Ω 4 ฐติ ิชญา ศรเี กิดกลดั 100 kΩ 5 ณัชชา เกดิ ทรพั ย์ 56 kΩ 6 ณัฐพร ชล 12 kΩ 7 ธนพร บุญประเสรฐิ 1.5 kΩ 8 นาฎอนงค์ แสงสุวรรณ์ 82 kΩ 9 บุญมี บญุ ระยอง รวมคะแนน 10 ปรัตถกร ป่นิ แกว้ 10001011116 01110011005 00110001003 11010101005 10010100014 11011101118 00110111016 10100101116 00001110003 11100101005

14 ตารางท่ี 4.1 (ต่อ) แสดงคา่ ของแบบทดสอบก่อนสอนโดยใชว้ งลอ้ แถบสี จำนวน 10 ข้อ ลำดับ ชอ่ื -นามสกุล 750 Ω 10 kΩ 1 kΩ 490 Ω 220 Ω 100 kΩ 56 kΩ 12 kΩ 1.5 kΩ 82 kΩ รวมคะแนน 11 ปฐั ญารัตน์ ตานี 00001010002 12 พงศร์ พี ศริ ิธรรม 11111011007 13 ภทั รพงศ์ มาตสะอาด 11000100014 14 รังสรรค์ ยอดพิมาย 00011110004 15 วรวิทย์ เหลา่ สนิ ชัย 00101001104 16 วรัชยา ถาวรยทุ ธเดช 00000110114 17 ศริ ชัช กง่ิ ทอง 10011101117 18 สคุ นธา ตุลยเสวี 11000000013 19 อัษฎาวุฒิ ทองมุล 00001110003 4.2 การวเิ คราะหแ์ บบทดสอบหลงั สอนโดยใชว้ งลอ้ แถบสี ตารางท่ี 4.2 แสดงค่าของแบบทดสอบหลงั สอนโดยใชว้ งล้อแถบสี จำนวน 10 ข้อ ลำดับ ชอ่ื -นามสกลุ 750 Ω 10 kΩ 1 kΩ 490 Ω 220 Ω 100 kΩ 56 kΩ 12 kΩ 1.5 kΩ 82 kΩ รวมคะแนน 1 จกั รรนิ ทร์ ตรกึ หากจิ 11010111118 2 ชลดิ า สถติ วิรยิ ะกลุ 01111111119 3 ชุตเิ ดช แซเ่ ฮ้ง 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 4 ฐิตชิ ญา ศรเี กดิ กลัด 01111001117 5 ณัชชา เกดิ ทรัพย์ 11111110108 6 ณฐั พร ชล 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 7 ธนพร บญุ ประเสริฐ 11101111119 8 นาฎอนงค์ แสงสุวรรณ์ 01111011118 9 บุญมี บุญระยอง 01110101106 10 ปรัตถกร ป่ินแกว้ 11111111019

15 ตารางที่ 4.2 (ต่อ) แสดงคา่ ของแบบทดสอบหลงั สอนโดยใช้วงล้อแถบสี จำนวน 10 ขอ้ ลำดับ ช่ือ-นามสกุล 750 Ω 10 kΩ 1 kΩ 490 Ω 220 Ω 100 kΩ 56 kΩ 12 kΩ 1.5 kΩ 82 kΩ รวมคะแนน 11 ปฐั ญารัตน์ ตานี 11111011119 12 พงศ์รพี ศิรธิ รรม 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 13 ภัทรพงศ์ มาตสะอาด 11111101119 14 รงั สรรค์ ยอดพิมาย 10111111018 15 วรวทิ ย์ เหล่าสินชัย 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 16 วรัชยา ถาวรยทุ ธเดช 01111111119 17 ศริ ชชั ก่งิ ทอง 11010111107 18 สคุ นธา ตลุ ยเสวี 11111111019 19 อษั ฎาวุฒิ ทองมุล 11111011119 ตารางท่ี 4.3 แสดงค่าของคะแนนก่อนและหลงั แสดงค่าของแบบทดสอบหลังสอนโดยใช้วงลอ้ แถบสี โดยคิดเปน็ ร้อยละ ลำดบั ชอ่ื -นามสกลุ ก่อนใช้ หลังใ ้ช 1 จักรรนิ ทร์ ตรกึ หากจิ 60 80 2 ชลิดา สถิตวิรยิ ะกุล 50 90 3 ชตุ เิ ดช แซ่เฮง้ 30 100 4 ฐติ ิชญา ศรีเกิดกลัด 50 70 5 ณัชชา เกดิ ทรพั ย์ 40 80 6 ณฐั พร ชล 80 100 7 ธนพร บญุ ประเสริฐ 60 90 8 นาฎอนงค์ แสงสวุ รรณ์ 60 80 9 บุญมี บญุ ระยอง 30 60 10 ปรตั ถกร ปิน่ แก้ว 50 90 11 ปัฐญารัตน์ ตานี 20 90

16 ตารางท่ี 4.3 (ตอ่ ) แสดงค่าของคะแนนกอ่ นและหลังแสดงค่าของแบบทดสอบหลังสอนโดยใชว้ งล้อ แถบสี โดยคดิ เป็นร้อยละ ลำดับ ชื่อ-นามสกลุ ก่อนใช้ หลังใช้ 12 พงศ์รพี ศิริธรรม 70 100 13 ภทั รพงศ์ มาตสะอาด 40 90 14 รงั สรรค์ ยอดพิมาย 40 80 15 วรวิทย์ เหลา่ สนิ ชยั 40 100 16 วรัชยา ถาวรยทุ ธเดช 40 90 17 ศิรชัช กิง่ ทอง 70 70 18 สุคนธา ตุลยเสวี 30 90 19 อษั ฎาวุฒิ ทองมุล 30 90 ตารางที่ 4.4 แสดงค่าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทาน โดยใช้วงล้อ แถบสี คะแนน N S.D. Df t Sig กอ่ นเรียน 19 46.84 16.348 18 8.922* 0.00 หลงั เรียน 19 86.32 11.161 * นัยสำคญั ทางสถติ ิท่รี ะดับ 0.05 จากตารางที่ 4 แสดงค่าของผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนเรื่อง การอ่านค่าแถบสี ความต้านทานโดยใช้วงล้อแถบสี พบว่า คะแนนก่อนเรียนมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 46.84 ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน เท่ากับ 16.348 และคะแนนหลังเรียนมีค่าเฉลี่ย เท่ากับ 86.32 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 11.161 เมื่อทดสอบสถิติทีแบบไม่อิสระ (t-test แบบ dependent) พบว่า มีนัยสำคัญทาง สถติ ิท่ีระดบั 0.05 คะแนนเฉลยี่ หลงั เรยี นสงู กวา่ กอ่ นเรยี น ยอมรบั สมมตฐิ านการวจิ ัย

บทที่ 5 สรปุ ผล อภปิ รายผล และข้อเสนอแนะ รายงานการวิจยั ในชั้นเรยี น เร่อื ง การพฒั นาทักษะการอา่ นคา่ แถบสคี วามต้านทานของนักเรียน โดยการใชว้ งล้อแถบสี มวี ัตถุประสงค์ของการวจิ ัยเพ่อื พัฒนาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น การอ่านค่าแถบ สีความต้านทานของนักเรียนโดยการใช้วงล้อแถบสี กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วชิ าชีพ ช้นั ปที ่ี 1/3 (ปวช.1) ทล่ี งทะเบยี นในรายวิชาวงจรไฟฟ้ากระแสตรง (2105-2002) จำนวน 19 คน ตัวแปร ตัวแปรต้น ได้แก่ การสอนโดยใช้วงล้อแถบสี ตัวแปรตาม ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรอ่ื ง การอา่ นค่าแถบสีความตา้ นทาน เนื้อหา เป็นเนื้อหาตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาช่าง อเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ พทุ ธศกั ราช 2556 ระยะเวลาในการวิจัย ใช้เวลาในการทดลองเก็บข้อมูลจำนวน 2 คาบเรียน ในวันพฤหัสบดีที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2562-วันพฤหัสบดีที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2562 รวมเป็น เวลา 8 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ วงล้อแถบสี และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสถิติที แบบไม่อิสระ (t-test dependent) โดยมีรายละเอยี ดในการวิเคราะห์ข้อมูลดงั น้ี 5.1 สรุปผลการวิจัย รายงานการวจิ ยั ในช้ันเรยี น เรื่อง การพัฒนาทักษะการอ่านคา่ แถบสีความต้านทานของนักเรียน โดยการใชว้ งล้อแถบสี สามารถสรุปผลการวิจยั ไดด้ ังนี้ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น เรอ่ื ง การอา่ นคา่ แถบสีความตา้ นทานของนักเรยี นโดยการใช้วงล้อแถบ สี พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ยอมรับ สมมติฐานการวจิ ยั 5.2 อภปิ รายผลการวิจยั รายงานการวจิ ยั ในชนั้ เรียน เรื่อง การพฒั นาทกั ษะการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียน โดยการใช้วงล้อแถบสี สามารถอภิปรายผลการวิจยั ไดด้ งั น้ี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการอ่านค่าแถบสีความต้านทานของนักเรียนโดยการใช้วงล้อแถบสี พบว่า มีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน ยอมรับ สมมติฐานการวิจัย ทั้งนี้เนื่องมาจาก อาจเป็นเพราะประสบการณ์ท่ีนักเรียนเคยไดร้ ับมาก่อนจากการ เรยี นที่ใชก้ ารสาธติ บรรยายทำให้นักเรียนไม่มีทักษะในการเรียนปฏิบตั ิ เม่ือนำวงล้อแถบสี เรื่อง การ อ่านค่าแถบสตี ัวต้านทาน เขา้ มาเสรมิ ในการเรยี นการสอนวชิ าวงจรไฟฟา้ กระแสตรง ทำให้นักเรียนได้ ฝึกทักษะ เรื่อง การอ่านค่าแถบสีตัวต้านทานเพิม่ มากข้ึน สามารถอ่านค่าได้หลากหลายเพิ่มขึ้นจนทำ

18 ให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การอ่านค่าแถบสี ความต้านทานของนกั เรยี นโดยการใช้วงล้อแถบสี และนอกจากนั้นวงล้อแถบสี เรื่อง การอ่านค่าแถบ สีตัวต้านทาน ยังช่วยให้มีทักษะการอ่านค่าตัวต้านทานที่ดีขึ้นแล้วยังจะช่วยให้นักเรียนมีการจดจำ แถบสีได้ดขี ้นึ อกี ด้วย 5.3 ข้อเสนอแนะ รายงานการวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง การพัฒนาทกั ษะการอ่านคา่ แถบสคี วามตา้ นทานของนักเรียน โดยการใช้วงล้อแถบ สามารถขอ้ เสนอแนะ ได้ดงั นี้ 1. ในการนำวงล้อแถบไปใช้ โดยนักเรียนสามารถนำไปเล่นเป็นเกมหรือไปศึกษาด้วย ตนเองท่ีบ้าน หรอื ในท่ีอ่ืน ๆ ที่นักเรียนมคี วามพร้อมและควรมีคำถาม โดยไม่จำกัดสถานที่ และเวลา 2. ก่อนดำเนินการสอนจริงครูควรบรรยายประกอบการเรียนเพิ่มเติม และช่วยเหลือให้ คำแนะนำตลอดเวลา เมอ่ื ใช้วงล้อแถบสีเพ่อื ชว่ ยให้นกั เรียนเกดิ ความเขา้ ใจดียิง่ ข้ึน

19 บรรณานุกรม ชยั ยงค์ พรหมวงศ์ และคณะ. ระบบสือ่ การสอน. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2531. ธำรงค์ศักดิ์ หมินก้ำหรมี . 2556. รหัส 2105-2005 วงจรไฟฟา้ กระแสตรง. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทศนู ย์ หนงั สือเมืองไทย จำกดั พนั ธ์ศกั ด์ิ พฒุ มิ ำนติ พงษ์. 2556. รหัส 2104-2002 วงจรไฟฟา้ กระแสตรง. กรุงเทพฯ : ศนู ยส์ ่งเสรมิ อำชวี ะ วรำภรณ์ ทมุ ชำติ. 2556. รหัส 2105-2002 วงจรไฟฟา้ กระแสตรง. กรงุ เทพฯ : ศูนยส์ ง่ เสรมิ อำชวี ะ วรวุธ สมสะอำด. 2554. ประเภทของส่ือการสอน. [Online]. เข้ำถงึ ไดจ้ ำก : https://www.classstart.org/classes/268 ศ.ดร.ชยั ยงค์ พรหมวงศ์. 2551. การสรา้ งชดุ การสอน. [Online]. เขำ้ ถึงไดจ้ ำก : http://inno- sawake.blogspot.com/2008/07/1.html พรเพญ็ ฤทธลิ นั . 2554. การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน. [Online]. เข้ำถึงได้จำก : http://pornpenrit.blogspot.com/2011/06/blog-post.html อธวิ ัฒน์ พรหมจนั ทร์. 2556. หลักการใช้สื่อการเรียนการสอน. [Online]. เขำ้ ถงึ ได้จำก : https://www.gotoknow.org/posts/549511 Maymatavee. 2016. ความหมายของสอ่ื การเรยี นการสอน. [Online]. เขำ้ ถงึ ได้จำก : https://mataveeblog.wordpress.com/2016/02/15

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก แบบทดสอบกอ่ นใชว้ งล้อแถบสี

22 ชื่อ-.สกุล......................................................................................ช้นั ปที ี.่ ........................รหสั ....................................... แบบทดสอบกอ่ นใช้วงลอ้ แถบสี เรื่อง การอา่ นค่าแถบสีตัวตา้ นทาน คำช้ีแจ้ง ให้นักเรียนอ่านค่าแถบสีตวั ต้านทานต่อไปน้ี • ตวั ตา้ นทานแบบ 4 แถบสี ตัว แถบสตี ัวตา้ นทาน คา่ ทีอ่ ่านได้ คา่ ความ ท่ี 1 23 ผดิ พลาด 1 4 2 3 4 5 • ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี ตวั แถบสีตวั ต้านทาน ค่าทอี่ ่าน ค่าความ ท่ี 1 234 5 ได้ ผิดพลาด 1 2 3 4 5

ภาคผนวก ข วงลอ้ แถบสี

24 วงลอ้ แถบสี รปู ที่ ข.1 วงลอ้ แถบสีแบบ 4 แถบสี รูปท่ี ข.2 วงลอ้ แถบสีแบบ 5 แถบสี

ภาคผนวก ค แบบทดสอบหลังใชว้ งล้อแถบสี

26 ชื่อ-.สกุล......................................................................................ช้นั ปที ี.่ ........................รหสั ....................................... แบบทดสอบหลังใช้วงล้อแถบสี เรื่อง การอา่ นค่าแถบสีตัวตา้ นทาน คำช้ีแจ้ง ให้นักเรียนอ่านค่าแถบสีตวั ต้านทานต่อไปน้ี • ตวั ตา้ นทานแบบ 4 แถบสี ตัว แถบสตี ัวตา้ นทาน คา่ ทีอ่ ่านได้ คา่ ความ ท่ี 1 23 ผดิ พลาด 1 4 2 3 4 5 • ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี ตวั แถบสีตวั ต้านทาน ค่าทอี่ ่าน ค่าความ ท่ี 1 234 5 ได้ ผิดพลาด 1 2 3 4 5

ภาคผนวก ง เฉลยแบบทดสอบกอ่ นและหลงั ใชว้ งล้อแถบสี

28 ช่อื -.สกุล......................................................................................ชัน้ ปีท.่ี ........................รหสั ....................................... แบบทดสอบกอ่ นใช้วงลอ้ แถบสี เรอ่ื ง การอา่ นคา่ สตี วั ตา้ นทาน คำช้แี จง้ ให้นักเรียนอา่ นค่าสีตวั ตา้ นทานต่อไปนี้ • ตวั ต้านทานแบบ 4 แถบสี ตวั แถบสีตวั ต้านทาน 4 ค่าทีอ่ ่านได้ ค่าความ ที่ 1 23 ทอง ผิดพลาด 1 มว่ ง เขยี ว น้ำตาล ทอง 750 Ω 2 นำ้ ตาล ดำ สม้ ทอง 10 kΩ ±5% 3 นำ้ ตาล ดำ แดง ทอง 1 kΩ ±5% 4 เหลอื ขาว น้ำตาล ทอง 490 Ω ±5% 5 แดง แดง นำ้ ตาล 220 Ω ±5% ±5% • ตัวต้านทานแบบ 5 แถบสี ตวั แถบสีตัวตา้ นทาน คา่ ที่อา่ น คา่ ความ ที่ 1 2 3 4 5 ได้ ผิดพลาด 1 น้ำตาล ดำ ดำ สม้ น้ำตาล 100 kΩ ±1% 2 เขียว น้ำเงิน ดำ แดง น้ำตาล 56 kΩ ±1% 3 น้ำตาล แดง ดำ แดง แดง 12 kΩ ±2% 4 นำ้ ตาล เขียว ดำ น้ำตาล น้ำตาล 1.5 kΩ ±1% 5 เทา แดง ดำ แดง น้ำตาล 82 kΩ ±1%

ภาคผนวก ฉ ตารางการวิเคราะห์ข้อมลู

30 ตารางท่ี ฉ. 1 แสดงคา่ ของแบบทดสอบกอ่ นใช้วงลอ้ แถบสี จำนวน 10 ขอ้ ลำดบั ชอ่ื -นามสกุล 750 Ω 10 kΩ 1 จักรรินทร์ ตรึกหากจิ 1 kΩ 2 ชลดิ า สถติ วริ ิยะกุล 490 Ω 3 ชุติเดช แซ่เฮง้ 220 Ω 4 ฐติ ิชญา ศรเี กดิ กลดั 100 kΩ 5 ณชั ชา เกดิ ทรัพย์ 56 kΩ 6 ณัฐพร ชล 12 kΩ 7 ธนพร บุญประเสริฐ 1.5 kΩ 8 นาฎอนงค์ แสงสวุ รรณ์ 82 kΩ 9 บุญมี บุญระยอง รวมคะแนน 10 ปรัตถกร ป่นิ แกว้ 11 ปฐั ญารัตน์ ตานี 10001011116 12 พงศร์ พี ศริ ิธรรม 01110011005 13 ภทั รพงศ์ มาตสะอาด 00110001003 14 รงั สรรค์ ยอดพิมาย 11010101005 15 วรวทิ ย์ เหลา่ สินชยั 10010100014 16 วรัชยา ถาวรยทุ ธเดช 11011101118 17 ศริ ชชั ก่ิงทอง 00110111016 18 สุคนธา ตุลยเสวี 10100101116 19 อัษฎาวุฒิ ทองมลุ 00001110003 11100101005 00001010002 11111011007 11000100014 00011110004 00101001104 00000110114 10011101117 11000000013 00001110003

31 ตารางที่ ฉ. 2 แสดงคา่ ของแบบทดสอบหลงั ใช้วงลอ้ แถบสี จำนวน 10 ข้อ ลำดบั ช่อื -นามสกุล 750 Ω 10 kΩ 1 จกั รรินทร์ ตรกึ หากจิ 1 kΩ 2 ชลดิ า สถิตวริ ยิ ะกุล 490 Ω 3 ชตุ เิ ดช แซ่เฮง้ 220 Ω 4 ฐิติชญา ศรเี กดิ กลัด 100 kΩ 5 ณชั ชา เกดิ ทรัพย์ 56 kΩ 6 ณฐั พร ชล 12 kΩ 7 ธนพร บุญประเสรฐิ 1.5 kΩ 8 นาฎอนงค์ แสงสวุ รรณ์ 82 kΩ 9 บญุ มี บญุ ระยอง รวมคะแนน 10 ปรัตถกร ป่ินแก้ว 11 ปัฐญารัตน์ ตานี 11010111118 12 พงศ์รพี ศริ ิธรรม 01111111119 13 ภทั รพงศ์ มาตสะอาด 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 14 รงั สรรค์ ยอดพิมาย 01111001117 15 วรวทิ ย์ เหล่าสนิ ชัย 11111110108 16 วรัชยา ถาวรยุทธเดช 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 17 ศริ ชัช ก่งิ ทอง 11101111119 18 สุคนธา ตลุ ยเสวี 01111011118 19 อษั ฎาวุฒิ ทองมลุ 01110101106 11111111019 11111011119 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 11111101119 10111111018 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 10 01111111119 11010111107 11111111019 11111011119

ตารางท่ี ฉ. 3 แสดงคา่ ของคะแนนก่อนและหลังใช้วงลอ้ แถบสีโดยคิดเปน็ รอ้ ยละ 32 ลำดบั ชือ่ -นามสกลุ ก่อนใช้60 80 หลังใ ้ช50 90 1 จักรรินทร์ ตรึกหากจิ 30 100 2 ชลิดา สถติ วิรยิ ะกลุ 50 70 3 ชุตเิ ดช แซเ่ ฮง้ 40 80 4 ฐิตชิ ญา ศรีเกดิ กลดั 80 100 5 ณชั ชา เกดิ ทรพั ย์ 60 90 6 ณัฐพร ชล 60 80 7 ธนพร บญุ ประเสริฐ 30 60 8 นาฎอนงค์ แสงสวุ รรณ์ 50 90 9 บญุ มี บญุ ระยอง 20 90 10 ปรัตถกร ปนิ่ แกว้ 70 100 11 ปัฐญารตั น์ ตานี 40 90 12 พงศ์รพี ศิริธรรม 40 80 13 ภัทรพงศ์ มาตสะอาด 40 100 14 รงั สรรค์ ยอดพิมาย 40 90 15 วรวิทย์ เหลา่ สินชยั 70 70 16 วรัชยา ถาวรยุทธเดช 30 90 17 ศริ ชัช กง่ิ ทอง 30 90 18 สุคนธา ตลุ ยเสวี 19 อษั ฎาวฒุ ิ ทองมลุ ตารางท่ี ฉ. 4 แสดงคา่ ของผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี น เรอ่ื ง การอ่านคา่ สีตัวต้านทาน โดยใช้วงล้อแถบสี คะแนน N S.D. Df T Sig ก่อนเรยี น 19 46.84 16.348 18 8.922* 0.00 หลังเรียน 19 86.32 11.161

33 ประวัติผู้วิจัย ช่ือ : นางสาวเพ็ญนภา ช่ือสกุล : สุขย้อย สัญชาติ : ไทย เช้ือชาติ : ไทย ศาสนา พทุ ธ เกิด : วันท่ี 29 เดือน สงิ หาคม พ.ศ. 2537 โทรศพั ทม์ ือถือ : 093-578-9763 E-mail : [email protected] ประวัติการศกึ ษา : ระดบั ปริญญาตรี หลกั สูตร ค.อ.บ. ครุศาสตร์อตุ สาหกรรมบัณทิต สถาบนั เทคโนโลยีพระจอมเกลา้ เจา้ คุณทหารลาดกระบัง ตำแหนง่ ปัจจุบัน : ครูพเิ ศษสอน ประจำแผนกวิชาอเิ ล็กทรอนิกส์ สถานทท่ี ำงานปัจจบุ ัน : สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา สงั กดั : วิทยาลยั เทคนคิ มนี บุรี ๕๗ ถนน สหี บุรานุกจิ แขวงมนี บุรี เขตมีนบุรี รหัสไปรษณีย์ ๑๐๕๑๐ จงั หวัด : กรงุ เทพมหานคร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook