Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มที่8-หน่วย3ข้อ-3.5-3.6 r

กลุ่มที่8-หน่วย3ข้อ-3.5-3.6 r

Published by Guset User, 2022-08-15 15:04:18

Description: กลุ่มที่8-หน่วย3ข้อ-3.5-3.6 r

Search

Read the Text Version

d ขอ้ สอบกอ่ นเรยี น ลิงคท์ ำแบบทดสอบกอ่ นเรียน 1.ข้อใดตอ่ ไปน้ีนไี้ มถ่ กู ตอ้ ง ก.สมดุ เงนิ สดใช้สำหรบั บนั ทกึ รายการบั และจ่ายเงนิ สด ข.สมุดซอื้ ใช้สำหรับบันทึกรายการซอ้ื สนิ ค้าเปน็ เงินเช่ือ ค.สมดุ ขาย ใชส้ ำหรบั บันทึกรายการขายสินคา้ เป็นเงนิ สด ง.สมดุ รายวนั เฉพาะถอื เป็นสมุดบนั ทึกรายการขนั้ ตน้ ประเภทหน่ึง จ.สมดุ รายวนั เฉพาะ 2.กจิ การแห่งหนง่ึ ใชส้ มดุ รายวนั ท่ัวไป สมุดรายวันรบั เงินและสมุดรายวันจา่ ยเงนิ ใน การบนั ทกึ บญั ชี เมือ่ วนั ที่6 มิย. กจิ การนำเงนิ ฝากธนาคาร 6,000 บาท กิจการ ต้องบันทึกในสมดุ ใด ก.สมุดรายวันทว่ั ไป ข.สมุดรายวนั รบั เงิน ค.สมดุ รายวนั จ่ายเงิน ง.สมุดรายวันรบั เงนิ และสมุดรายวนั จา่ ยเงนิ จ.สมุดรายวันเฉพาะ

3. ซื้อสนิ ค้าดว้ ยเช็ค 3,600 บาท กจิ การมสี มุดรายวันเฉพาะ ทุกชนดิ รายการนีล้ งในสมุดรายวนั เลม่ ใด ก.สมดุ รายวนั ซอื้ ข.สมดุ รายวนั รับเงนิ ค.สมุดรายวันทั่วไป ง.สมุดรายวนั จา่ ยเงิน จ.สมุดรายวนั ขาย 4. ซ้อื รถยนต์ 2,000 บาทเป็นเงนิ เช่อื จะลงในสมุดรายวันเฉพาะเลม่ ใด ก.สมุดรายวันซ้ือ ข.สมดุ รายวนั ขาย ค.สมุดรายวนั ท่ัวไป ง.สมดุ รายวันจ่ายเงิน จ.สมุดรายวนั รบั เงนิ 5. มค.29 ขายสนิ ค้าเป็นเงินเชื่อใหน้ ายสมัคร 9,000 บาท เงอื่ นไขกา รชำระหนี้ 2/10 n/30 จา่ ยเงนิ สดเป็นคา่ ขนสง่ แทนลกู คา้ รายนี้ 300 บาท สมดุ บญั ชเี ลม่ ใดไม่ได้บนั ทึกรายการ ก.สมดุ รายวันขาย ข.สมดุ รายวันท่ัวไป ค.สมดุ รายวนั จา่ ยเงนิ ง.สมดุ แยกประเภทยอ่ ยลูกหนี้ จ.สมดุ รายวันรบั คืนสนิ คา้

การบนั ทกึ รายการซอื้ ขายสนิ คา้ ในสมดุ รายวนั เฉพาะ และผา่ นรายการแยกประเภท สมดุ รายวันเฉพาะ เป็นสมุดรายวนั ขั้นตน้ ประเภทหน่งึ เหมาะสำหรับกิจการทมี่ ีรายการค้าเกิดขนึ้ จำนวนมาก กจิ การแตล่ ะแหง่ จะมสี มดุ รายวันเฉพาะกีเ่ ล่มก็ข้ึนอยกู่ ับลักษณะการดำเนินงานของกจิ การนนั้ วา่ มคี วามจำเป็นท่จี ะต้องใช้กีเ่ ลม่ แตร่ ายการคา้ ใดท่มี ีรายการนอ้ ย รายการน้นั ก็จะบนั ทึกไว้ ในสมุดรายวันท่วั ไป และหลงั จากนน้ั จดั ทำงบทดลองเพื่อพิสูจนค์ วามถกู ตอ้ งของ การบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะและผา่ นรายการไปยงั บญั ชแี ยกประเภทท่เี กี่ยวขอ้ ง สมดุ รายวนั เฉพาะทน่ี ยิ มใช้กันมาก มดี ังน้ี สมดุ รายวันซื้อ (Puchase Journal) บันทกึ รายการซื้อสินค้าเป็นเงนิ เชือ่ สมดุ รายวันขาย(Sales Journal) บนั ทกึ รายการขายสนิ คา้ เป็นเงินเชอื่ สมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด(Purchase Returns and Allowance Journal)บันทึกรายการ สง่ คืนสินคา้ หรอื ได้รับสว่ นลด กรณที ซ่ี ้ือสนิ ค้าเปน็ เงินเช่อื สมุดรายวันรับคืนและส่วนลด(Sales Returns and Allowance Journal) บันทึกรายการรับคืน สนิ คา้ หรอื ให้ส่วนลด กรณที ี่ขายสินคา้ เป็นเงนิ เช่ือ สมุดรายวันเงินสดรบั (Cash Payment Journal) บนั ทึกรายการรบั เงนิ สด สมุดรายวันเงินสดจ่าย(Cash Payment Journal) บนั ทกึ รายการจ่ายเงินสด ประโยชนข์ องสมดุ รายวันเฉพาะ 1.รายการคา้ ที่เกิดขนึ้ บอ่ ยครง้ั และเป็นประเภทเดยี วกนั จะถกู จดั เรียงลำดบั ไวใ้ นสมดุ รายวัน เล่มเดยี วกนั เพื่อประหยดั เวลาในการบันทกึ บญั ชี 2.ประหยัดเวลาในการผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท เพราะเวลาผ่านบัญชีไม่ต้องผ่าน ทกุ วันเหมอื นสมดุ รายวนั ทวั่ ไป แต่จะใชย้ อดรวมผา่ นทกุ สิน้ เดือน หรือทุก 15 วัน 3.เพอื่ ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ภายในท่ดี ีในการป้องกันการทุจรติ ที่อาจจะเกิดขึน้ โดยแบ่งแยก หน้าท่ีในการบนั ทกึ บญั ชีในสมุดรายวันเฉพาะแต่ละประเภท

บญั ชคี ุมยอด และบัญชีแยกประเภทย่อย ธุรกิจซื้อขายสินค้าจะมีรายการซื้อขายสินค้าที่เป็นเงินสดและเป็นเงินเชื่อจำนวนมาก โดยเฉพาะในการซ้อื ขายสนิ คา้ เป็นเงนิ เชื่อจะทำให้ธุรกจิ มเี จ้าหนี้การคา้ และลูกหนีก้ ารค้ามากมาย ธรุ กิจจงึ ต้องเปดิ บัญชแี ยกประเภทสำหรับเจา้ หน้กี ารคา้ และลกู หนีก้ ารคา้ แต่ละรายเรียกว่า บัญชีแยกประเภทย่อย สว่ นบัญชเี จา้ หนี้การคา้ และบัญชลี กู หนก้ี ารค้าซึ่งเป็นบัญชีรวมยอดเจ้าหน้ี หรอื ลกู หนี้ของกิจการทั้งหมด เรียกว่า บญั ชคี มุ ยอดในธุรกิจซ้อื ขายสนิ ค้าเมอ่ื เกดิ รายการเก่ียวกับ เจ้าหนี้หรือลูกหนี้ จะต้องผ่านบัญชีแยกประเภททั้งบัญชีคุมยอด และบัญชีแยกประเภทย่อยของ ลกู หนหี้ รือเจ้าหนี้แต่ละราย บญั ชคี มุ ยอดนี้จะแสดงในสมุดบญั ชีแยกประเภททั่วไปรวมกับบัญชีแยก ประเภททั่วไปกับบัญชีอื่นๆ และยอดคงเหลือในบัญชีย่อยแต่ละรายรวมกันจะต้องเท่ากับยอด คงเหลือในบัญชีคุมยอดลักษณะของบัญชีย่อยมีลักษณะเหมือนกับบัญชีแยกประเภททั่วไป บัญชี ย่อยจะนิยมแสดงแบบยอดคงเหลือเพราะสามารถทราบยอดคงเหลือไดท้ ันที สมดุ รายวันซ้ือ สมุดรายวันซื้อเป็นสมุดท่ีใช้บันทึกรายการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อเท่านั้น ถ้าเป็นการซื้อสินค้าเปน็ เงินสดกจ็ ะตอ้ งบนั ทึกในสมดุ เงนิ สดจ่ายและถ้าเปน็ การซื้อสินทรพั ยอ์ ื่นเปน็ เงนิ เช่อื ก็จะตอ้ งบันทึก ในสมุดรายวันทวั่ ไป การอา้ งองิ หนา้ สมุดรายวนั ซ้อื ใช้อักษรย่อ “ซ” วธิ ีการบนั ทึกรายการในสมุดรายวันซอ้ื และการผ่านรายการ 1.บันทึกรายการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อตามใบกำกับสินค้าโดยบันทึกวันเดือนปีวันที่ใน ใบกำกับสินค้า ชอ่ื เจ้าหนี้ เงอ่ื นไขในการชำระเงนิ และจำนวนเงนิ ลงในสมดุ รายวนั ซ้อื 2.ทุกสิ้นวันให้ผ่านรายการซื้อสนิ ค้าเป็นเงินเชื่อแตล่ ะรายการไปด้านเครดิตของบัญชีแยก ประเภทย่อยเจ้าหนี้การค้าแต่ละราย พร้อมทั้งทำเครื่องหมาย P ในช่อง “อ้างอิง” ของสมุด รายวันซือ้ และลงเลขหน้าของสมุดรายวันซื้อ (ซ.1) ในช่อง “อ้างอิง” ของบัญชีแยกประเภทยอ่ ย เจา้ หนกี้ ารคา้ 3.ทุกสน้ิ เดอื นรวมยอดคงเหลือในช่อง “จำนวนเงิน” ของสมุดรายวนั ซ้อื แล้วผ่านจำนวน เงินรวมไปทางด้านเดบติ ของบัญชีซื้อ (การบันทกึ บัญชีแบบส้ินงวด) หรือบัญชีสนิ คา้ คงเหลอื (การ บันทึกบัญชแี บบต่อเนื่อง) และทางด้านเครดติ ของบัญชีเจ้าหน้ีการค้าพร้อมท้ังอ้างอิงถึงบัญชแี ยก ประเภททผ่ี า่ นบัญชี ไวใ้ ต้จำนวนเงนิ รวมของสมุดรายวนั ซ้ือและเลขที่หนน้าของสมดุ รายวันซ้ือซ.1) ในช่อง“อา้ งองิ ” ของบัญชีซอื้ หรือบัญชีสินคา้ คงเหลือ และบัญชีเจ้าหนก้ี ารคา้ สมดุ รายวันขาย

สมุดรายวันขายเป็นสมุดที่ใช้บันทึกรายการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อเท่านั้น ส่วนการขายสินค้าเปน็ เงินสดจะตอ้ งบนั ทึกในสมุดรายวันเงินสดรับ การอ้างองิ หน้าในสมุดรายวันขายใช้อกั ษรยอ่ “ข” วิธีการบนั ทกึ รายการในสมุดรายวนั ขาย และการผา่ นรายการ 1. บนั ทึกรายการขายสินคา้ เปน็ เงินเชื่อตามใบกำกับสินค้าโดยบันทึกวนั เดือนปี เลขที่ใบกำกับสินค้า ช่อื และจำนวนเงนิ ท่ีปรากฏอยใู่ นใบกำกบั สนิ คา้ ในชอ่ งทก่ี ำหนดไว้ในสมดุ รายวนั ขาย 2. ทกุ สิน้ วันใหผ้ ่านรายการขายสินคา้ เปน็ เงนิ เชือ่ แต่ละรายการไปด้านเดบติ ของบญั ชีแยกประเภทย่อย ลกู หนีก้ ารคา้ แต่ละราย พรอ้ มทง้ั ทำเคร่ืองหมายP ในช่อง “อ้างอิง” ของสมดุ รายวนั ขาย และลง เลขหน้าของสมดุ รายวนั ขาย (ข.1) ในชอ่ ง “อ้างอิง” ของบญั ชีแยกประเภทย่อยลูกหนี้การค้า 3. ทุกส้ินเดือนรวมยอดคงเหลอื ในช่อง“จำนวนเงิน” ของสมุดรายวนั ขาย แลว้ ผา่ นจำนวนเงินรวมไป ทางด้านเครดิตของบัญชีขาย (การบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด) หรือบัญชีสินค้าคงเหลือ (การบันทึก บญั ชีแบบตอ่ เน่ือง) และทางดา้ นเดบิตของบญั ชลี ูกหน้ีการค้า พร้อมทั้งอ้างองิ ถึงบัญชีแยกประเภท ทผี่ ่านบญั ชี (411/112) ไวใ้ ตจ้ ำนวนเงนิ รวมของสมุดรายวันขาย และเลขที่หน้าของสมุดรายวันขาย (ข.1) ในช่อง “อ้างองิ ” ของบัญชีขาย และบัญชลี ูกหนี้การคา้ สมุดรายวันสง่ คนื และสว่ นลด สมุดรายวันส่งคืนและส่วนลดเป็นสมุดที่ใช้สำหรับบันทึ กการส่งคืนหรือได้รับส่วนลดเนื่องจาก สนิ คา้ ทีส่ ง่ มาชำรดุ หรอื ไม่ตรงตามใบส่ังซือ้ กรณีสง่ คืนสนิ คา้ หรอื ได้รับสว่ นลดทซี่ ื้อสินค้าเป็นเงิน เชอ่ื การอา้ งอิงหนา้ ในสมุดรายวนั ส่งคนื และสว่ นลด ใช้อักษรย่อ “สค.” ถา้ สง่ คนื สนิ ค้าและได้รับ เปน็ เงินสดจะบนั ทึกในสมุดเงินสดรับ วธิ ีการบันทกึ รายการในสมุดรายวนั ส่งคืนและส่วนลด และผ่านรายการ 1. บันทึกรายการส่งคืนหรือได้รับส่วนลดตามใบลดหนี้จากลูกค้าหรือใบลดหนี้จากผู้ขาย บันทึกวัน เดือนปี เลขทีใ่ บลดหนี้ ชอ่ื เจ้าหน้ี และจำนวนเงนิ ลงในสมุดรายวนั ส่งคืนและสว่ นลด 2. ทุกสิ้นวันให้ผ่านรายการส่งคืนหรือได้รับส่วนลดแต่ละรายการไปด้านเดบิตของบัญชีแยก ประเภทย่อยเจ้าหนีก้ ารค้าแต่ละราย พร้อมทั้งทำเครื่องหมาย P ในช่อง “อ้างอิง” ของสมุด รายวันส่งคืนะส่วนลดละลงเลขหน้าของสมุดรายวันส่งคืนและส่ วนลด (สค.1) ใน ชอ่ ง “อ้างอิง” ของบญั ชีแยกประเภทย่อยเจา้ หนกี้ ารคา้ 3. ทุกสิ้นเดือนรวมยอดคงเหลือในช่อง “จำนวนเงิน” ของสมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด แล้ว ผ่านจำนวนเงินรวมไปด้านเครดิตของบัญชีส่งคืนและส่วนลด และทางด้านเดบิตของบัญชี เจา้ หนกี้ ารคา้ พรอ้ มท้งั อ้างองิ บญั ชีแยกประเภทท่ีผ่านรายการ (211/512) ไวใ้ ตจ้ ำนวนเงินรวม

ของสมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด และเลขหน้าของสมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด (สค.1) ใน ชอ่ ง “อ้างอิง” ของบญั ชีส่งคนื และส่วนลดและบญั ชีเจา้ หน้ีการค้า สมุดรายวันรบั คืนและสว่ นลด สมุดรายวันรับคืนและส่วนลด เป็นสมุดที่ใช้สำหรับบันทึกการรับคนื หรอื ให้ส่วนลดแก่ลูกค้าท่ี ขายสนิ คา้ เป็นเงินเชือ่ เน่ืองจากสนิ คา้ ทส่ี ่งมาชำรุด หรอื ไมต่ รงตามใบสั่งซื้อ แต่ถ้ารับคืนสินค้าที่ ลูกค้าซื้อเป็นเงินสดและจ่ายเงินสดจะบันทึกในสมุดเงินสดจ่าย การอ้างอิงหน้าในสมุดรายวันรับ คนื และสว่ นลดใชอ้ ักษรย่อ “รค.” วธิ กี ารบนั ทึกรายการในสมุดรายวันรบั คืนและสว่ นลด และผ่านรายการ 1. บันทกึ รายการรับคืนหรือให้สว่ นลดตามใบลดหน้ีจากลูกคา้ หรือใบลดหนี้จากลูกคา้ บนั ทึกวันเดือน ปี เลขทีใ่ บลดหนี้ ชอื่ ลกู หนี้ และจำนวนเงินลงในสมุดรายวนั รับคนื และส่วนลด 2. ทุกสิ้นวันให้ผ่านรายการรับคืนหรือให้รับส่วนลดแต่ละรายการไปดา้ นเครดิตของบัญชีแยกประเภท ยอ่ ยลูกหนี้การค้าแต่ละราย พรอ้ มทั้งทำเคร่อื งหมาย P ในชอ่ ง “อา้ งอิง” ของสมุดรายวันรับคืน และส่วนลด และลงเลขหน้าของสมดุ รายวนั รบั คืนและส่วนลด (รค.1) ในช่อง “อ้างอิง” ของบัญชี แยกประเภทยอ่ ยลูกหน้กี ารคา้ 3. ทุกสิ้นเดือนรวมยอดคงเหลือในช่อง “จำนวนเงิน” ของสมุดรายวันรับคืนและส่วนลด แล้วผ่าน จำนวนเงินรวมไปด้านเดบิตของบัญชีรับคืนและส่วนลด และทางด้านเครดิตของบญั ชลี ูกหนีก้ ารคา้ พรอ้ มทง้ั อา้ งอิงบัญชีแยกประเภทที่ผ่านรายการ (412/112) ไว้ใตจ้ ำนวนเงนิ รวมของสมุดรายวันรับ คนื และส่วนลด และเลขหน้าของสมดุ รายวันรับคืนและส่วนลด (รค.1) ในชอ่ ง “อา้ งอิง” ของบัญชี รับคืนและสว่ นลดและบัญชลี ูกหนี้การคา้ บัญชีเงนิ ฝากธนาคาร กิจการส่วนใหญ่จะใช้บริการของธนาคาร ไม่ว่าจะเปน็ การรับเงนิ หรือจ่ายเงิน การรับเงินอาจจะรับ เปน็ เช็คหรอื เงนิ สด แล้วนำไปฝากธนาคารไวเ้ พ่อื ความปลอดภยั และยังได้ดอกเบี้ยอกี ดว้ ย ส่วนใน การจ่ายเงินนั้นกิจการส่วนใหญ่จะจา่ ยเป็นเชค็ เพ่อื ความสะดวกและปลอดภัย ดังนนั้ ในบัญชีเงินสด ของกิจการนน้ั จึงไมไ่ ด้หมายถงึ เฉพาะเงินสดในมือเทา่ นน้ั แตย่ งั หมายรวมถึงเงนิ ฝากธนาคารด้วย

การบนั ทึกบญั ชกี รณีกิจการไดร้ บั หรือจ่ายเป็นเช็ค มดี งั น้ี xxx กรณรี ับเช็คแลว้ นำไปฝากธนาคารทนั ทใี นวนั ท่ีรบั บนั ทกึ บัญชดี งั น้ี เดบติ เงนิ ฝากธนาคาร xxx เครดติ ลูกหน้กี ารคา้ /ขาย กรณีรับเช็คแล้วยังไมน่ ำไปฝากธนาคารในวนั ทรี่ ับ บนั ทกึ บญั ชีดังน้ี เดบติ เงนิ สด xxx เครดิต ลกู หนี้การค้า/ขาย xxx กรณจี ่ายค่าใช้จ่ายตา่ งๆ เปน็ เชค็ บันทึกบญั ชีดงั น้ี เดบติ ค่าใชจ้ ่ายต่างๆ xxx เครดติ เงินฝากธนาคาร xxx สมุดเงินสด สมุดเงินสด เป็นสมุดรายวนั ขั้นต้นที่ใช้สำหรบั บันทึกรายการท้ังรับเงินสดและจ่ายเงินสดไว้ในเลม่ เดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับธุรกจิ ขนาดเล็กที่มีรายการเก่ียวกับการรบั เงินสดและจ่ายเงินสดไม่มาก นักในแต่ละงวดบัญชี สมุดเงินสดเป็นทั้งสมุดรายวันขั้นต้น และสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปของ บัญชีเงนิ สด และบญั ชเี งินฝากธนาคาร ดังนั้นเมอื่ ถึงวันส้นิ งวดบัญชีก็จะต้องหายอดคงเหลือยกไป ของบญั ชีเงนิ สด และบญั ชเี งินฝากธนาคาร เชน่ เดยี วกับสมดุ บัญชแี ยกประเภททว่ั ไป วธิ กี ารบนั ทกึ บัญชี และการผ่านบัญชใี นสมุดเงนิ สด 1. บันทึกรายการเกี่ยวกับการรบั และจ่ายเงินสด โดยบันทึก คำอธิบายรายการ จำนวนเงินในช่อง เงินสดหรือช่องเงินฝากธนาคารทางด้านเดบิต ถ้าเป็นการรับเป็นเงินสดหรือเช็ค และบันทึก ทางด้านเครดิต ถ้าเป็นรายการจา่ ยเป็นเงินสดหรือจ่ายเปน็ เชค็ ถา้ เปน็ กรณีรบั ชำระหน้ีหรือจ่ายชำระหนี้ ได้รับส่วนลดจากผู้ขายหรอื ใหส้ ว่ นลดเงินสดกับผู้ ซ้อื ให้บันทึกจำนวนเงินเท่าท่รี ับหรือจ่ายจริงในช่องเงินสดหรือเงนิ ฝากธนาคาร ส่วนที่เป็นส่วนลด ใหบ้ ันทึกในชอ่ งส่วนลดรับหรอื สว่ นลดจ่าย กรณที เ่ี ปน็ สมุดเงินสด 3 ช่อง 2. ผ่านรายการที่บันทึกไว้ทางด้านเดบิตของสมุดเงินสดไปทางด้านเครดิตของบัญชีแยกประเภทที่ เก่ียวข้องในวันที่เกดิ รายการนน้ั ๆ พรอ้ มท้ังลงเลขทบ่ี ัญชใี นช่อง “อา้ งองิ ” ของสมุดเงินสดและเลข หนา้ ของสมุดเงนิ สด (งส.) ในช่อง “อ้างองิ ” ของบัญชีแยกประเภทท่ัวไป 3. ผ่านรายการที่บันทึกไว้ทางด้านเครดิตของสมุดเงินสดไปทางด้านเดบิตของบัญชีแยกประเภทท่ี เกีย่ วข้องในวันทรี่ ายการน้ันเกิดขน้ึ

4. กรณรี ายการท่ีเกยี่ วขอ้ งกับการนำเงินฝากธนาคาร และถอนเงินจากธนาคารทำดงั นี้ 4.1 เมื่อมีการนำเงินสดฝากธนาคาร จะบันทึกในสมุดเงินสด โดยเดบิตเงินฝากธนาคาร และ เครดิตเงินสด รายการนี้จะไม่ต้องผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท เพราะบัญชีเงินสด และ บญั ชเี งินฝากธนาคารอยใู่ นสมุดเลม่ เดียวกัน ให้ใส่อกั ษร C ในช่อง “อา้ งอิง” ซ่ึงหมายถึงรายการ ท่อี ย่ตู รงข้ามกนั 4.2 เมื่อมีการถอนเงนิ จากธนาคารจะบันทึกในสมุดเงินสดโดยเดบิตเงนิ สด และเครดิตเงินฝาก ธนาคาร และรายการนี้ก็ไม่ต้องผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทเช่นเดียวกัน แต่ให้ใส่อักษร C ในช่อง “อ้างอิง” 5. ทุกส้ินเดอื นรวมยอดในแต่ละช่องของสมดุ เงินสด และหาผลต่างทางดา้ นเดบติ และเครดิต เพ่ือหา ยอดคงเหลือยกไปของสมดุ เงินสด ซง่ึ กค็ ือยอดคงเหลือของบัญชเี งินสดและบญั ชีเงินฝากธนาคาร สมุดรายวนั เฉพาะ สมุดรายวันเฉพาะเป็นสมุดรายวันข้นต้นประเภทหนึ่ง เหมาะสำหรับกิจการที่มีรายการค้าเกิดข้ึน จำนวนมาก กิจการแต่ละแห่งจะมีสมุดรายวันเฉพาะกี่เล่มก็ขึ้นอยู่กับลักษณะการดำเนินงานของ กจิ การนัน้ ว่ามีความจำเป็นทจี่ ะตอ้ งใชก้ ่ีเลม่ แตร่ ายการค้าใดท่ีมรี ายการน้อย รายการก็จะบันทึกไว้ ในสมุดรายวันทัว่ ไป สมดุ รายวันเฉพาะที่นิยมใชก้ นั มาก มดี งั น้ี 1. สมดุ รายวนั ซือ้ บันทึกรายการซือ้ สินคา้ เป็นเงนิ เชอ่ื 2. สมุดรายวันขาย บันทกึ รายการขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือ 3. สมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด บันทึกรายการส่งคืนสินค้าหรือได้รบั ส่วนลด กรณีที่ซื้อสินค้าเป็น เงินเชื่อ 4. สมุดรายวันรับคนื และส่วนลด บันทึกรายการรับคืนสินค้าหรือใหส้ ว่ นลด กรณีที่ขายสินค้าเป็นเงิน เชื่อ 5. สมดุ รายวนั เงนิ สดรับ บันทึกรายการรบั เงนิ สด 6. สมดุ รายวันเงนิ สดจา่ ย บันทกึ รายการจา่ ยเงนิ สด 7. สมุดเงินสด บนั ทึกรายการรับและจา่ ยเงินสด ส่วนรายการใดท่ีบนั ทกึ ในสมดุ รายวันเฉพาะไมไ่ ด้ กใ็ ห้บันทึกในสมดุ รายวันทวั่ ไป ประโยชนข์ องสมดุ รายวนั เฉพาะ 1. รายการค้าที่เกิดขึ้นบ่อยครั้ง และเป็นประเภทเดียวกันจะถูกจัดเรียงลำดับไว้ในสมุดรายวันเล่ม เดยี วกนั เพ่ือประหยัดเวลาในการบนั ทึกบญั ชี

2. ประหยัดเวลาในการผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท เพราะเวลาผ่านบัญชีไม่ต้องผ่านทุกวัน เหมอื นสมดุ รายวันทวั่ ไป แต่จะใชย้ อดรวมผา่ นทกุ ส้ินเดือน หรอื ทกุ 15 วนั 3. เพอ่ื ให้มรี ะบบการควบคมุ ภายในท่ีดีในการป้องกันการทุจริตที่อาจจะเกิดขึน้ โดยแบ่งแยกหน้าท่ีใน การบนั ทกึ บญั ชีในสมดุ รายวนั เฉพาะแตล่ ะประเภท บญั ชคี มุ ยอด และบัญชแี ยกประเภทย่อย ธุรกจิ ซ้ือขายสินค้าจะมีรายการซื้อขายสนิ ค้าทเ่ี ป็นเงินสดและเปน็ เงนิ เชอ่ื จำนวนมาก โดยเฉพาะใน การซ้ือขายสนิ คา้ เป็นเงินเชื่อจะทำให้ธุรกจิ มีเจ้าหน้กี ารค้า และลูกหนีก้ ารค้ามากมาย ธุรกิจจึงต้องเปิดบัญชีแยกประเภทสำหรับเจ้าหนี้การค้าและลูกหนีก้ ารค้าแต่ละรายเรียกว่า บัญชี แยกประเภทย่อย ส่วนบัญชีเจ้าหนี้การค้า และบัญชีลูกหนี้การค้าซึ่งเป็นบัญชีรวมยอดเจ้าหน้ีหรอื ลกู หนี้ของกจิ การท้งั หมด เรยี กว่า บัญชคี มุ ยอด ในธุรกิจซื้อขายสินค้าเมื่อเกิดรายการเกี่ยวกับเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ จะต้องผ่านบัญชีแยก ประเภททง้ั บญั ชคี มุ ยอด และบญั ชีแยกประเภทย่อยของลูกหนี้หรือเจา้ หน้แี ต่ละราย บญั ชีคุมยอดนี้ จะแสดงในสมดุ บัญชแี ยกประเภททัว่ ไปรวมกับบญั ชแี ยกประเภทท่ัวไปกบั บญั ชีอ่ืนๆ และยอดคงเหลอื ในบญั ชยี ่อยแตล่ ะรายรวมกันจะตอ้ งเท่ากบั ยอดคงเหลอื ในบัญชีคุมยอด ลกั ษณะของบญั ชีย่อยมลี ักษณะเหมอื นกบั บัญชีแยกประเภททัว่ ไป บญั ชีย่อยจะนยิ มแสดงแบบยอด คงเหลือเพราะสามารถทราบยอดคงเหลือได้ทนั ที สมดุ รายวันซอ้ื สมุดรายวันซื้อเป็นสมุดที่ใช้บันทึกรายการซื้อสินค้าเป็นเงนิ เชื่อเท่านั้น ถ้าเป็นการซื้อสินคา้ เปน็ เงินสดก็จะต้องบันทึกในสมุดเงินสดจ่าย และถ้าเป็นการซื้อสินทรัพย์อื่นเป็นเงินเชื่อก็จะต้อง บนั ทกึ ในสมุดรายวนั ท่วั ไป การอา้ งองิ หนา้ สมุดรายวนั ซอ้ื ใช้อกั ษรยอ่ “ซ” วิธีการบันทึกรายการในสมุดรายวนั ซ้ือ และการผ่านรายการ 1. บนั ทึกรายการซอื้ สินค้าเปน็ เงนิ เชื่อตามใบกำกับสินค้าโดยบันทึกวันเดือนปี วันท่ใี นใบกำกับสินค้า ช่อื เจา้ หนี้ เงื่อนไขในการชำระเงิน และจำนวนเงินลงในสมดุ รายวนั ซอ้ื 2. ทุกสิ้นวันให้ผ่านรายการซื้อสินค้าเป็นเงินเชื่อแต่ละรายการไปด้านเครดิตของบัญชีแยกประเภท ยอ่ ยเจา้ หนี้การคา้ แต่ละราย พร้อมท้ังทำเคร่ืองหมายP ในชอ่ ง “อา้ งอิง” ของสมุดรายวนั ซอ้ื และ ลงเลขหนา้ ของสมดุ รายวนั ซอื้ (ซ.1) ในช่อง “อา้ งองิ ” ของบัญชีแยกประเภทยอ่ ยเจ้าหนกี้ ารคา้ 3. ทุกสิ้นเดือนรวมยอดคงเหลือในช่อง“จำนวนเงิน” ของสมุดรายวันซื้อ แล้วผ่านจำนวนเงินรวมไป ทางดา้ นเดบติ ของบัญชซี อื้ (การบนั ทึกบญั ชแี บบสิน้ งวด) หรือบัญชสี ินค้าคงเหลือ (การบันทึกบัญชี แบบต่อเนื่อง) และทางด้านเครดิตของบัญชีเจ้าหนี้การค้าพร้อมทั้งอ้างอิงถึงบัญชีแยกประเภทที่

ผ่านบญั ชี (511/211) ไวใ้ ต้จำนวนเงินรวมของสมุดรายวนั ซือ้ และเลขที่หนนา้ ของสมุดรายวนั ซ้อื (ซ. 1) ในช่อง“อา้ งอิง” ของบัญชีซื้อหรือบัญชีสนิ คา้ คงเหลอื และบัญชีเจ้าหนก้ี ารคา้ สมดุ รายวนั ขาย สมุดรายวันขายเป็นสมุดที่ใช้บันทึกรายการขายสินค้าเป็นเงินเชื่อเทา่ นั้น ส่วนการขายสินค้าเปน็ เงินสดจะตอ้ งบันทึกในสมุดรายวันเงนิ สดรับ การอา้ งองิ หนา้ ในสมุดรายวนั ขายใช้อักษรย่อ “ข” วิธกี ารบันทกึ รายการในสมดุ รายวนั ขายและการผา่ นรายการ 1. บันทึกรายการขายสินคา้ เป็นเงินเช่ือตามใบกำกับสินค้าโดยบันทึกวันเดือนปี เลขที่ใบกำกับสินค้า ชอ่ื และจำนวนเงนิ ท่ีปรากฏอยู่ในใบกำกับสนิ ค้า ในชอ่ งท่กี ำหนดไวใ้ นสมดุ รายวนั ขาย 2. ทกุ สิ้นวนั ให้ผา่ นรายการขายสนิ คา้ เป็นเงนิ เชื่อแต่ละรายการไปด้านเดบิตของบัญชีแยกประเภทย่อย ลกู หนี้การค้าแต่ละราย พรอ้ มทงั้ ทำเครื่องหมายP ในช่อง “อ้างอิง” ของสมุดรายวันขาย และลง เลขหน้าของสมดุ รายวนั ขาย (ข.1) ในชอ่ ง “อา้ งอิง” ของบญั ชีแยกประเภทย่อยลูกหน้กี ารค้า 3. ทุกสิ้นเดอื นรวมยอดคงเหลือในช่อง“จำนวนเงิน” ของสมดุ รายวันขาย แลว้ ผ่านจำนวนเงินรวมไป ทางด้านเครดิตของบัญชีขาย (การบันทึกบัญชีแบบสิ้นงวด) หรือบัญชีสินค้าคงเหลือ (การบันทึก บัญชแี บบต่อเนื่อง) และทางด้านเดบติ ของบัญชลี กู หน้ีการค้า พร้อมทัง้ อา้ งองิ ถงึ บัญชีแยกประเภท ท่ีผา่ นบัญชี (411/112) ไวใ้ ต้จำนวนเงินรวมของสมุดรายวันขาย และเลขท่ีหน้าของสมุดรายวันขาย (ข.1) ในช่อง “อา้ งอิง” ของบัญชขี าย และบญั ชลี ูกหน้ีการค้า สมดุ รายวนั สง่ คนื และสว่ นลด สมุดรายวันส่งคืนและสว่ นลดเปน็ สมุดที่ใชส้ ำหรบั บันทึกการสง่ คืนหรอื ไดร้ บั ส่วนลดเน่ืองจาก สนิ คา้ ทีส่ ง่ มาชำรุด หรอื ไม่ตรงตามใบส่งั ซอื้ กรณีสง่ คืนสินค้าหรือได้รบั สว่ นลดทีซ่ อ้ื สินค้าเป็นเงนิ เชอ่ื การอา้ งอิงหน้าในสมดุ รายวันส่งคนื และสว่ นลด ใช้อกั ษรยอ่ “สค.” ถ้าสง่ คืนสินค้าและได้รับ เป็นเงนิ สดจะบนั ทกึ ในสมุดเงนิ สดรับ วธิ กี ารบนั ทกึ รายการในสมดุ รายวนั สง่ คนื และสว่ นลด และผา่ นรายการ 1. บนั ทึกรายการสง่ คนื หรอื ได้รับส่วนลดตามใบลดหนจี้ ากลูกค้าหรือใบลดหนจี้ ากผขู้ าย บนั ทกึ วนั เดอื นปี เลขที่ใบลดหนี้ ชื่อเจ้าหน้ี และจำนวนเงินลงในสมุดรายวนั สง่ คืนและส่วนลด 2. ทกุ สิ้นวนั ให้ผา่ นรายการสง่ คนื หรอื ไดร้ ับสว่ นลดแตล่ ะรายการไปด้านเดบิตของบญั ชีแยกประเภท ยอ่ ยเจา้ หนกี้ ารค้าแต่ละราย พรอ้ มทั้งทำเคร่ืองหมาย P ในชอ่ ง “อ้างอิง” ของสมุดรายวนั ส่งคืน และส่วนลด และลงเลขหน้าของสมดุ รายวันส่งคืนและสว่ นลด (สค.1) ในชอ่ ง “อา้ งอิง” ของบญั ชี แยกประเภทยอ่ ยเจ้าหน้ีการคา้

3. ทุกส้นิ เดือนรวมยอดคงเหลือในช่อง “จำนวนเงนิ ” ของสมุดรายวันส่งคนื และสว่ นลด แล้วผา่ น จำนวนเงินรวมไปด้านเครดิตของบัญชสี ่งคืนและส่วนลด และทางดา้ นเดบติ ของบญั ชีเจ้าหน้ีการค้า พร้อมท้งั อ้างองิ บัญชีแยกประเภททผี่ า่ นรายการ (211/512) ไวใ้ ต้จำนวนเงนิ รวมของสมดุ รายวนั ส่งคืนและส่วนลด และเลขหน้าของสมดุ รายวนั สง่ คืนและส่วนลด (สค.1) ในช่อง “อ้างองิ ” ของ บัญชีสง่ คืนและส่วนลดและบญั ชีเจ้าหน้กี ารค้า สมุดรายวันรบั คืนและส่วนลด สมุดรายวันรับคืนและสว่ นลด เปน็ สมดุ ท่ีใช้สำหรับบันทึกการรบั คืนหรือให้ส่วนลดแก่ลูกค้าท่ีขาย สินค้าเป็นเงินเชื่อ เนื่องจากสินค้าที่ส่งมาชำรุด หรือไม่ตรงตามใบสั่งซื้อ แต่ถ้ารับคืนสินค้าท่ี ลูกค้าซื้อเป็นเงินสดและจ่ายเงินสดจะบันทึกในสมุดเงินสดจ่าย การอ้างอิงหน้าในสมุดรายวันรบั คืนและส่วนลดใชอ้ กั ษรยอ่ “รค.” วิธีการบันทกึ รายการในสมุดรายวนั รบั คืนและสว่ นลด และผ่านรายการ 1. บนั ทกึ รายการรับคนื หรือให้ส่วนลดตามใบลดหนจ้ี ากลูกคา้ หรือใบลดหนี้จากลกู ค้า บันทกึ วันเดือน ปี เลขทใ่ี บลดหน้ี ชอื่ ลกู หน้ี และจำนวนเงินลงในสมุดรายวันรบั คืนและส่วนลด 2. ทุกสิ้นวันให้ผ่านรายการรับคืนหรือให้รับส่วนลดแต่ละรายการไปด้านเครดิตของบัญชีแยกประเภท ยอ่ ยลกู หนี้การค้าแต่ละราย พร้อมทง้ั ทำเครอ่ื งหมาย P ในช่อง “อ้างอิง” ของสมุดรายวันรับคืน และส่วนลด และลงเลขหนา้ ของสมุดรายวันรบั คืนและส่วนลด (รค.1) ในช่อง “อ้างอิง” ของบัญชี แยกประเภทยอ่ ยลูกหนี้การค้า 3. ทุกสิ้นเดือนรวมยอดคงเหลือในช่อง “จำนวนเงิน” ของสมุดรายวันรับคืนและส่วนลด แล้วผ่าน จำนวนเงินรวมไปด้านเดบิตของบัญชีรับคืนและส่วนลด และทางด้านเครดติ ของบญั ชลี ูกหนี้การค้า พรอ้ มทั้งอ้างองิ บญั ชแี ยกประเภทท่ีผา่ นรายการ (412/112) ไว้ใต้จำนวนเงินรวมของสมุดรายวันรับ คืนและสว่ นลด และเลขหนา้ ของสมุดรายวนั รบั คืนและส่วนลด (รค.1) ในช่อง “อา้ งอิง” ของบัญชี รับคนื และสว่ นลดและบญั ชีลูกหนีก้ ารค้า บญั ชเี งนิ ฝากธนาคาร กิจการส่วนใหญ่จะใช้บริการของธนาคาร ไม่ว่าจะเปน็ การรับเงนิ หรือจ่ายเงิน การรับเงินอาจจะรับ เป็นเชค็ หรอื เงนิ สด แล้วนำไปฝากธนาคารไว้เพอื่ ความปลอดภยั และยังได้ดอกเบย้ี อีกด้วย ส่วนใน การจ่ายเงินน้นั กจิ การส่วนใหญจ่ ะจ่ายเป็นเช็คเพอื่ ความสะดวกและปลอดภัย ดังนน้ั ในบญั ชีเงินสด ของกจิ การน้ันจึงไมไ่ ด้หมายถงึ เฉพาะเงินสดในมอื เท่าน้ัน แต่ยงั หมายรวมถึงเงินฝากธนาคารดว้ ย

การบันทกึ บัญชกี รณกี จิ การไดร้ ับหรือจา่ ยเป็นเช็ค มดี งั น้ี xxx กรณรี ับเช็คแลว้ นำไปฝากธนาคารทนั ทใี นวนั ทร่ี ับ บันทกึ บัญชีดงั น้ี เดบิต เงินฝากธนาคาร xxx เครดติ ลูกหน้กี ารค้า/ขาย กรณรี ับเช็คแล้วยังไม่นำไปฝากธนาคารในวนั ท่รี บั บนั ทึกบัญชดี ังน้ี เดบติ เงนิ สด xxx เครดติ ลูกหนีก้ ารค้า/ขาย xxx กรณีจา่ ยคา่ ใชจ้ ่ายต่างๆ เปน็ เช็ค บนั ทกึ บญั ชดี งั น้ี เดบิต คา่ ใชจ้ า่ ยต่างๆ xxx เครดติ เงินฝากธนาคาร xxx สมุดเงนิ สด สมุดเงินสด เป็นสมุดรายวันขั้นต้นท่ีใช้สำหรับบันทึกรายการท้ังรับเงินสดและจ่ายเงินสดไวใ้ นเล่ม เดียวกัน ซึ่งเหมาะสำหรับธุรกิจขนาดเล็กที่มีรายการเกีย่ วกับการรับเงินสดและจ่ายเงินสดไม่มาก นักในแต่ละงวดบัญชี สมุดเงินสดเป็นทั้งสมุดรายวันขั้นต้น และสมุดบัญชีแยกประเภททั่วไปของ บญั ชเี งินสด และบัญชเี งินฝากธนาคาร ดังนนั้ เม่อื ถงึ วันสน้ิ งวดบัญชกี จ็ ะต้องหายอดคงเหลือยกไป ของบัญชีเงนิ สด และบญั ชีเงนิ ฝากธนาคาร เช่นเดยี วกับสมดุ บัญชีแยกประเภททว่ั ไป วธิ กี ารบนั ทกึ บญั ชี และการผา่ นบัญชีในสมดุ เงินสด 1. บันทึกรายการเกี่ยวกับการรับและจา่ ยเงินสด โดยบันทึก คำอธิบายรายการ จำนวนเงินในช่อง เงินสดหรือช่องเงินฝากธนาคารทางด้านเดบิต ถ้าเป็นการรับเป็นเงินสดหรือเช็ค และบันทึก ทางด้านเครดิต ถ้าเป็นรายการจ่ายเป็นเงินสดหรือจ่ายเป็นเชค็ ถ้าเป็นกรณีรับชำระหนี้หรือจ่าย ชำระหน้ี ได้รบั ส่วนลดจากผขู้ ายหรอื ให้สว่ นลดเงินสดกับผู้ซ้อื ให้บนั ทกึ จำนวนเงนิ เทา่ ท่ีรับหรือจ่าย จริงในช่องเงินสดหรือเงินฝากธนาคาร ส่วนที่เป็นส่วนลดให้บันทึกในช่องส่วนลดรับหรือส่วนลด จา่ ย กรณีทีเ่ ปน็ สมุดเงินสด 3 ช่อง 2. ผ่านรายการที่บันทึกไว้ทางด้านเดบิตของสมุดเงินสดไปทางด้านเครดิตของบัญชีแยกประเภทท่ี เกย่ี วข้องในวันทเ่ี กดิ รายการน้ันๆ พรอ้ มทั้งลงเลขท่ีบัญชีในชอ่ ง “อา้ งองิ ” ของสมดุ เงินสดและเลข หนา้ ของสมดุ เงนิ สด (งส.) ในช่อง “อา้ งอิง” ของบญั ชีแยกประเภททวั่ ไป 3. ผ่านรายการที่บันทึกไว้ทางด้านเครดิตของสมุดเงินสดไปทางด้านเดบิตของบัญชีแยกประเภทท่ี เกี่ยวขอ้ งในวนั ทีร่ ายการนัน้ เกดิ ขนึ้

4. กรณรี ายการทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การนำเงินฝากธนาคาร และถอนเงินจากธนาคารทำดังนี้ 4.1 เมื่อมีการนำเงินสดฝากธนาคาร จะบันทึกในสมุดเงินสด โดยเดบิตเงินฝากธนาคาร และ เครดิตเงินสด รายการนี้จะไม่ต้องผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภท เพราะบัญชีเงินสด และ บญั ชเี งนิ ฝากธนาคารอยใู่ นสมุดเลม่ เดียวกัน ให้ใส่อกั ษร C ในชอ่ ง “อ้างองิ ” ซ่ึงหมายถึงรายการ ที่อยูต่ รงข้ามกนั 4.2 เมื่อมีการถอนเงนิ จากธนาคารจะบันทึกในสมุดเงินสดโดยเดบิตเงินสด และเครดิตเงินฝาก ธนาคาร และรายการนี้ก็ไม่ต้องผ่านรายการไปยังบัญชีแยกประเภทเช่นเดียวกัน แต่ให้ใส่อั กษร C ในชอ่ ง “อา้ งองิ ” 5. ทุกสนิ้ เดือนรวมยอดในแตล่ ะช่องของสมุดเงนิ สด และหาผลต่างทางด้านเดบติ และเครดติ เพ่อื หา ยอดคงเหลอื ยกไปของสมดุ เงินสด ซง่ึ ก็คือยอดคงเหลอื ของบัญชเี งินสดและบญั ชเี งินฝากธนาคาร สมดุ รายวันเงินสดรับ สมุดรายวันเงนิ สดรับ เปน็ สมดุ ท่ีใช้บันทึกรายการคา้ ทุกรายการท่ไี ดร้ บั เป็นเงินสด วธิ ีการบันทกึ รายการในสมุดรายวนั เงินสดรบั และการผ่านรายการ 1. บันทกึ รายการรบั เงนิ สด โดยการบันทึกวันเดอื นปี คำอธบิ ายรายการ จำนวนเงินในช่องเดบิต เงิน สด เงินฝากธนาคารหรือสว่ นลดจ่ายกรณีรับชำระหนี้และให้ส่วนลด และชอ่ งเครดิตบัญชีต่างๆ ซึ่ง ในที่นี้จะมีช่องเครดิตเฉพาะบัญชีลูกหนี้การค้า และบัญชีขาย ซึ่งเป็นรายการที่เกิดขึ้นบ่อยๆ ส่วน รายการรับเงินจากแหล่งอื่น ให้บันทึกจำนวนเงินในช่อง “บัญชีอื่นๆ” พร้อมชื่อบัญชีที่เครดิตใน ชอ่ ง “ชื่อบญั ช”ี 2. ทุกสิ้นวันผ่านรายการรับชำระเงินสดจากลูกหนี้การค้าแต่ละรายการไปทางด้านเครดิตของบัญชี แยกประเภทย่อยลูกหนี้การค้า พร้อมทั้งทำเครื่องหมาย “P” ในช่อง “อ้างอิง” ของช่องเครดิต บัญชีลูกหนี้การค้า ในสมุดเงินสดรับและลงเลขหน้าของสมุดเงินสดรับ (สร.) ใน ชอ่ ง “อ้างองิ ” ของบัญชีแยกประเภทยอ่ ยลูกหนีก้ ารคา้ 3. ทกุ ส้นิ วันผา่ นรายการท่อี ยู่ในช่อง “บัญชีอน่ื ๆ” ไปยงั บัญชีแยกประเภทน้ันๆ พรอ้ มท้ังลงเลขที่บัญชี ใ นช่อง “อ้างอิง” ใ นสม ุดเ งินสดรับ และ ลงเลข หน้าของสมุดเงินสดรับ (สร.) ใ น ช่อง “อา้ งองิ ” ของบัญชแี ยกประเภทนั้นๆ ยกเว้นบัญชีทป่ี รากฏอยู่ในชอ่ งบญั ชีอ่ืนๆ คือ บัญชีเงิน สด และบัญชีเงนิ ฝากธนาคาร ซึง่ เกดิ จากการนำเงินฝากธนาคารและถอนเงินจากธนาคาร ไม่ต้อง ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภท เนื่องจากรายการทั้ง 2 ประเภทต้องบันทึกทั้งในสมุดเงินสด รับ และสมุดเงินสดจ่าย แต่ให้ใส่เครื่องหมาย C ในช่อง “อ้างอิง” ในบัญชีทั้ง 2 เล่ม หมายถึง ใหด้ รู ายการท่ีอยตู่ รงข้ามกนั

4. ทุกส้ินเดือนให้รวมยอดคงเหลอื ในชอ่ ง เงินสด เงินฝากธนาคาร และสว่ นลดจา่ ย แลว้ ผา่ นจำนวน เงินรวมไปทางด้านเดบิตของบัญชีแยกประเภทเหล่านี้ และรวมยอดคงเหลือในบัญชีลูกหนี้การค้า และบญั ชขี าย แลว้ ผา่ นจำนวนเงนิ ไปทางด้านเครดติ ของบญั ชีแยกประเภทเหล่านี้ พร้อมท้ังลงเลขท่ี บัญชีไว้ใต้ช่องยอดรวมในแต่ละช่องของสมุดเงินสดรับและเลขหน้าของสมุดเงินสดรับ (สร.) ใน ช่อง “อ้างอิง”ของบัญชีแยกประเภททั่วไป แต่สำหรับยอดรวมเครดิตในช่องบัญชอี ื่นๆ ไม่ต้องผ่าน รายการในวันส้นิ เดือนอีก เพราะในแต่ละรายการได้ผ่านไปยังบญั ชีแยกประเภทในตอนส้ินวันแล้ว สมดุ รายวนั เงนิ สดจา่ ย สมุดรายวันเงนิ สดจ่าย เป็นสมุดทใ่ี ชบ้ นั ทึกรายการคา้ ทุกรายการท่ไี ด้จ่ายเงนิ วธิ กี ารบันทึกรายการในสมดุ รายวันเงนิ สดจา่ ย และการผา่ นรายการ 1. บนั ทึกรายการจา่ ยเงนิ สด โดยการบนั ทึกวันเดือนปี คำอธบิ ายรายการ จำนวนเงนิ ในช่องเครดิต เงนิ สด เงนิ ฝากธนาคารหรือส่วนลดรับกรณจี า่ ยชำระหนแ้ี ละไดร้ ับส่วนลด และชอ่ งเดบติ บัญชีต่างๆ ซึ่งในที่นี้จะมีช่องเดบิตเฉพาะบัญชีเจ้าหนี้การค้า และบัญชซี ือ้ ซึ่งเป็นรายการทีเ่ กิดขึ้นบ่อยๆ ส่วน รายการจ่ายเงินจากแหล่งอื่น ให้บันทึกจำนวนเงินในช่อง “บัญชีอื่นๆ” พร้อมชื่อบัญชีที่เดบิตใน ชอ่ ง “ชอื่ บญั ช”ี 2. ทุกสิ้นวันผ่านรายการจ่ายชำระหนี้ เจ้าหนี้การค้าแต่ละรายการไปทางด้านเดบิตของบัญชีแยก ประเภทย่อยเจ้าหนี้การค้า พร้อมทั้งทำเครื่องหมาย “P” ในช่อง “อ้างอิง” ของช่องเดบิตบัญชี เจ้าหนก้ี ารค้า ในสมดุ เงินสดจา่ ยและลงเลขหน้าของสมุดเงินสดจา่ ย (สจ.) ในช่อง “อา้ งอิง” ของ บัญชีแยกประเภทยอ่ ยเจ้าหนี้การคา้ 3. ทุกสิ้นวันผ่านรายการที่อยู่ในช่อง “บัญชีอื่นๆ” ไปยังบัญชีแยกประเภทนั้นๆ พร้อมทั้งลงเลขท่ี บัญชีในช่อง “อ้างอิง” ในสมุดเงินสดจ่าย และลงเลขหน้าของสมุดเงินสดจ่าย (สจ.1) ใน ชอ่ ง “อ้างอิง” ของบัญชีแยกประเภทน้ันๆ ยกเวน้ บัญชที ี่ปรากฏอยู่ในช่องบญั ชีอ่ืนๆ คือ บัญชีเงิน สด และบัญชีเงินฝากธนาคาร ซึง่ เกดิ จากการนำเงนิ ฝากธนาคารและถอนเงินจากธนาคาร ไมต่ ้อง ผ่านรายการไปยงั บัญชีแยกประเภท เนื่องจากรายการทั้ง 2 ประเภทต้องบันทึกทั้งในสมุดเงินสด รับ และสมุดเงินสดจ่าย แต่ให้ใส่เครื่องหมาย C ในช่อง “อ้างอิง” ในบัญชีทั้ง 2 เล่ม หมายถึง ให้ดูรายการทอ่ี ยตู่ รงขา้ มกนั 4. ทุกสิ้นเดือนให้รวมยอดคงเหลือในช่อง เงินสด เงินฝากธนาคาร และส่วนลดจ่าย แล้วผ่าน จำนวนเงินรวมไปทางด้านเครดิตของบัญชแี ยกประเภทเหล่านี้ และรวมยอดคงเหลือในบัญชีเจ้าหน้ี การคา้ และบัญชซี ื้อ แล้วผา่ นจำนวนเงินไปทางด้านเดบิตของบัญชีแยกประเภทเหลา่ นี้ พร้อมท้ังลง เลขทบ่ี ญั ชีไว้ใตช้ ่องยอดรวมในแต่ละชอ่ งของสมดุ เงินสดจา่ ยและเลขหน้าของสมุดเงนิ สดจ่าย (สจ.)

ในชอ่ ง “อ้างอิง”ของบัญชีแยกประเภททั่วไป แต่สำหรับยอดรวมเดบิตในชอ่ งบัญชีอ่ืนๆ ไม่ต้องผ่าน รายการในวนั สน้ิ เดือนอกี เพราะในแต่ละรายการได้ผา่ นไปยังบัญชีแยกประเภทในตอนสิน้ วันแลว้ การบนั ทึกบญั ชใี นสมดุ รายวันทว่ั ไป รายการคา้ บางประเภทท่ีเกดิ ขึ้นไม่บ่อยนัก และไม่สามารถท่นี ำไปบนั ทกึ ในสมุดรายวันเฉพาะเล่มใด เลม่ หนึ่งไดก้ จ็ ะนำมาบันทกึ ไว้ในสมดุ รายวนั ทั่วไป รายการเหล่าน้ไี ดแ้ ก่ 1. รายการรบั คนื สินคา้ ท่ขี ายเป็นเงินเชอ่ื และให้สว่ นลดกรณที ี่ไม่มสี มดุ รายวันรบั คนื และส่วนลด 2. รายการสง่ คืนสินค้าท่ีซ้อื เป็นเงนิ เชอ่ื และได้รบั ส่วนลดกรณีท่ไี มม่ สี มุดรายวนั สง่ คนื และสว่ นลด 3. รายการซ้ือขายสินทรัพยเ์ ปน็ เงนิ เชื่อ 4. รายการซ้ือขายสนิ ทรัพย์และรบั จ่ายเปน็ ต๋วั เงนิ 5. รายการเบกิ สนิ คา้ ไปใช้ส่วนตัว 6. รายการปรับปรงุ บัญชี และเปดิ บญั ชี เป็นต้น รายละเอยี ดลูกหน้ีและเจ้าหนี้ ทุกๆ สิ้นเดือนหรือสิ้นงวดบัญชีกิจการควรที่จจะจัดทำรายละเอียดลูกหนี้ และเจ้าหนี้ขึ้นเพื่อให้ ทราบว่า ในวันสิ้นงวดกิจการมลี ูกหนี้และเจ้าหนี้ค้างชำระทั้งหมดกี่รายเป็นจำนวนเท่าใด และเป็น การพสิ ูจนค์ วามถกู ต้องของบญั ชีคมุ ยอด และบญั ชีแยกประเภทยอ่ ย การบันทึกรายการซื้อขายสินค้า 2 วิธี คือ การบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่อง (Perpetual Inventory Method) การบันทึกบัญชีสินค้าเมื่อสิ้นงวด (Periodic Inventory Method) ซง่ึ บนั ทึกบัญชีเชน่ เดยี วกบั สมดุ รายวนั ทว่ั ไป การบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะของ ทั้ง2วิธี จะมีข้อแตกต่างเฉพาะรายการ บัญชีซื้อสินค้า บัญชีส่งคืนและส่วนลด บัญชีค่าขนส่งเข้า และส่วนลดรับ แต่หากกิจการบันทึกบัญชีสินค้าแบบต่อเนื่องรายการเหล่านี้จะไม่ปรากฏแต่จะ บันทึกไวใ้ นบัญชสี นิ ค้าทกุ รายการ ตัวอย่างการบันทกึ บัญชสี ินคา้ แบบต่อเน่ือง -การซ้อื สินคา้ และส่งคืนเป็นเงนิ เชื่อ ร้านกุหลาบการค้า เป็นผู้ประกอบการเจ้าของคนเดียวจดทะเบียนเข้าระบบภาษีมูลค่าเพ่ิม กำหนดต้นทนุ ของสินค้าทข่ี ายเปน็ ร้อยละ 65 ของราคาขาย มีรายการค้าทเ่ี กี่ยวกับการซ้ือสินค้า และสง่ คืนที่เป็นเงินเชอื่ ในระหวา่ งเดือนเมษายน ดังนี้ 25x1 เม.ย 2 ซื้อสินค้าจากร้านบวร ราคา 50,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เงื่อนไข 2/10n,n/30 ใบกำกับภาษีเลขท่ี 011/20

3 ซื้อสินค ้าจากนายเบญจพล ราค า 45 ,000 บาท ส่ว นลดการค้า 5% ภาษมี ลู คา่ เพิม่ 7% เง่ือนไข 2/15n,n/45 ใบกำกบั ภาษเี ลขท่ี 05/03 12 ส่งคนื สนิ คา้ ใหน้ ายบวรราคา 2,500 บาท เน่ืองจากชำรุดระหวา่ งการขนส่ง ใบขอ ลดหน้ี 02/05 ภาษีมูลค่าเพิม่ 7% 15 ซื้อสินค้าจากนายเอกรัช ราคา 20,000 บาท ภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% เงื่อนไข 3/15n,n/60 ใบกำกับภาษีเลขท่ี 11/08 19 ออก Debit Memo เลขที่ 9/12 ให้นายเบญจพล จำนวน1,000 บาท เป็นราคา หลังหักสว่ นลด ภาษมี ลู ค่าเพมิ่ 7% เน่อื งจากสนิ ค้าผดิ ตวั อยา่ งแตไ่ ม่ต้องส่งคืนสินคา้ 25 ซือ้ สินคา้ จากนายเอกรัช เพมิ่ เตมิ ราคา 15,000 บาท ภาษีมูลค่าเพม่ิ 7% เงือ่ นไข 2/10 EOM ใบกำกับภาษีเลขท่ี 9/12 ใหท้ ำ 1.บันทกึ รายการทเี่ กิดขึ้นในสมดุ รายวนั ซอ้ื สนิ คา้ 2.บนั ทกึ รายการท่ีเกิดข้ึนในสมุดรายวนั ส่งคืนสนิ ค้าและจำนวนท่ไี ดล้ ด 3.ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทเจ้าหน้ีรายตวั 4.ผา่ นรายการไปบัญชีแยกประเภททัว่ ไป 1.บนั ทกึ รายการท่ีเกิดขนึ้ ในสมุดรายวันซือ้ สินค้า สมุดรายวันซอื้ สินค้า พ.ศ.25x1 เลขที่ ช่อื เจา้ หน้ี เงื่อนไขการ เลขที่ เดบติ เครดติ เดอื น วันท่ี ใบกากบั สนิ คา้ ชาระเงิน บญั ชี สินค้า ภาษซี อ้ื เจา้ หนี้ เม.ย 2 011/20 ร้านบวร 2/10n,n/30 ✓ 50,000 - 3,150 - 53,150 - 3 05/03 นายเบญจพล 2/15n,n/45 ✓ 42,750 - 2,992 50 45,742 50 15 11/08 นายเอกรัช 3/15n,n/60 ✓ 20,000 - 1,400 - 21,400 - 25 9/12 นายเอกรัช 2/10n EOM ✓ 15,000 - 1,050 - 16,050 - 30 127,750 8,592 50 136,342 50 501 105 201

2.บันทึกรายการทเี่ กิดขนึ้ ในสมดุ รายวันสง่ คืนสินค้าและจำนวนทไี่ ดล้ ด สมุดรายวันส่งคืนและส่วนลด พ.ศ.25x1 เลขท่ี MEMO ชื่อเจา้ หนี้ เลขท่ี เดบติ เครดติ เดอื น วันที่ บญั ชี สินค้า ภาษซี อ้ื เจา้ หนี้ เม.ย 12 02/02 ร้านบวร ✓ 2500 - 175 - 2675 - 1070 - 19 9/12 นายเบญจพล ✓ 1000 - 70 - 3745 - 30 3500 - 245 - 201 502 - 105 3.ผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภทเจ้าหนี้รายตัว บญั ชีแยกประเภทเจา้ หนรี้ ายตวั ร้านบวร พ.ศ.25x1 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ คงเหลือ บญั ชี เม.ย 2 ซอื้ สินคา้ เงอ่ื นไข 2/10n,n/30 ช.1 - 53,150 - 53,150 - 12 สง่ คนื สนิ คา้ ส.ค.1 2,675 - - 50,475 - บญั ชีแยกประเภทเจา้ หนรี้ ายตวั ร้านเบญจพล พ.ศ.25x1 รายการ เลขท่ี เดบติ เครดติ คงเหลือ บญั ชี เม.ย 3 ซอื้ สนิ คา้ เงอื่ นไข 2/15,n/45 ช.1 - 45,742 50 45,742 - 19 สง่ คนื สนิ คา้ ส.ค.1 1,070 - - 44,672 50

บญั ชีแยกประเภทเจา้ หนรี้ ายตวั ร้านเอกรัช พ.ศ.25x1 รายการ เลขที่ เดบติ เครดติ คงเหลือ บญั ชี เม.ย 15 ซอ้ื สินคา้ เงอ่ื นไข 3/15,n/60 21,400 - 21,400 - ช.1 16,050 - 37,450 - 25 ซอ้ื สนิ คา้ เงอื่ นไข 2/10 EOM ช.1

4.ผ่านรายการไปบญั ชแี ยกประเภทท่วั ไป บญั ชีสินค้า เลขที่ 104 พ.ศ.25x1 รายการ เลขที่ เดบติ พ.ศ.25x1 รายการ เลขที่ เครดติ บญั ชี บญั ชี เม.ย 30 สมุดรายวัน ซอื้ สนิ คา้ ช.1 127,750 - เม.ย 30 สมุดรายวัน ส.ค1 3,500 - สง่ คนื สินคา้ บญั ชีภาษซี อ้ื เลขท่ี 106 พ.ศ.25x1 รายการ เลขท่ี เดบติ พ.ศ.25x1 รายการ เลขท่ี เครดติ บญั ชี บญั ชี เม.ย 30 สมุดรายวัน ซอื้ สนิ คา้ ช.1 8,592 50 เม.ย 30 สมุดรายวัน ส.ค1 245 - ส่งคนื สนิ คา้ บญั ชีเจา้ หน้ี เลขท่ี 201 พ.ศ.25x1 รายการ เลขที่ เดบติ พ.ศ.25x1 รายการ เลขท่ี เครดติ บญั ชี บญั ชี เม.ย 30 สมุดรายวัน ซอื้ สินคา้ ### 3,745 - เม.ย 30 สมุดรายวัน ช.1 136,342 - สง่ คนื สนิ คา้

3.6 งบทดลองของกจิ การซอ้ื ขายสนิ ค้า งบทดลองเป็นการแสดงยอดคงเหลือของบญั ชีแยกประเภททุกบญั ชี ณ วันใดวันหน่ึง เพื่อ พิสูจน์ความถูกต้องของการบันทึกบญั ชีและการผ่านบัญชีแยกประเภทตามหลักการบัญชีคู่และ ใน หน่วยนี้จะแสดงการหายอดคงเหลือด้วยดินสอเฉพาะรายการที่เกี่ยวข้องกับ การซื้อสินค้า การขายสินค้า และรายการที่เกี่ยวกับภาษีซื้อและภาษีขายเท่านั้น เพราะรายการบัญชีอื่นๆ ท่ี เกี่ยวข้องกับสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของ มีวิธีหายอดคงเหลือเช่นเดียวกับการเรียนใน หน่วยท่ี 2 กนิ การใหบ้ ริการ บัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวข้องกับรายการซื้อขายสินค้าและรายการที่เกี่ย วกับภาษีซื้อและ ภาษีขายทจี่ ะแสดงเป็นตัวอยา่ งการหายอดคงเหลือด้วยดนิ สอน้ันเปน็ บญั ชแี ยกประเภท 1. การผา่ นรายการแยกประเภทจากสมุดรายวันทั่วไป 2. การผ่านรายการแยกประเภทจากสมดุ รายวนั เฉพาะ บัญชีที่เกี่ยวข้องกับภาษีมูลค่าเพิ่ม ได้แก่ บัญชีภาษีซื้อ บัญชีภาษีขาย และบัญชี ภาษีมลู คา่ เพ่มิ ซ่งึ ไดถ้ ูกปิดบัญชีท้ังหมดให้ มคี า่ เทา่ กบั ศูนย์ไมม่ ผี ลต่างจึงไม่มียอดคงเหลือปรากฏ จะมยี อดคงเหลอื เฉพาะบัญชลี กู หน้ี-กรมสรรพากรเทา่ นั้น ซึง่ มีสถานภาพเปน็ สนิ ทรพั ยข์ องกจิ การ และนำมาจัดทำงบทดลองเฉพาะบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการซื้อขายสินค้าและ บัญชีภาษีมูลค่าเพ่ิม เทา่ นัน้

ตัวอย่างท่ี 1 งบทดลองกจิ การบนั ทกึ บัญชสี ินค้าแบบตอ่ เน่ืองและในกรณีภาษีซ้ือมากกว่าภาษีขาย (ลกู หนี้-กรมสรรพากร) ห้างหนุ้ สว่ นจำกดั ฝา้ ยไหมไทย งบทดลอง วนั ท่ี 31 ธันวาคม 25x1 (หน่วย:บาท) ชือ่ บญั ชี เลขที่ เดบติ เครดิต บญั ชี เงินสด xxx - เงินฝากธนาคาร xxx - ลกู หนี้ xxx - สนิ คา้ 105 48,400 - *ลกู หน้ี-กรมสรรพากร 107 *3,150 - เครื่องใช้สำนักงาน xxx - อปุ กรณ์สำนักงาน xxx - อาคาร xxx - ท่ีดิน xxx - เจา้ หน้ี ทุน-ห้นุ สว่ น xxx - เงนิ ถอน-หนุ้ ส่วน xxx - ขายสินค้า xxx - รับคืนและส่วนลด 401 12,000 - ตน้ ทนุ ขาย 402 2,000 - ส่วนลดจ่าย 501 7,800 - ค่าขนสง่ ออก 502 535 - ค่าสาธารณปู โภค 503 2,500 - ค่าเช่า xxx xxx

ค่าโฆษณา xxx คา่ นายหน้า xxx เงินเดือน xxx xxxx xxxx ตัวอย่างที่ 2 งบทดลองกิจการบนั ทึกบัญชสี ินค้าแบบส้ินงวดและในกรณขี ายมากกว่าภาษี ซือ้ (เจา้ หนี้-กรมสรรพากร) ห้างหุ้นสว่ นจำกัดฝา้ ยไหมไทย งบทดลอง วันท่ี 31 ธันวาคม 25x1 ช่ือบญั ชี เลขที่ เดบิต เครดิต บัญชี เงินสด เงนิ ฝากธนาคาร xxx - ลกู หน้ี xxx - สินค้า xxx - เครอื่ งใชส้ ำนักงาน xxx - อปุ กรณ์สำนกั งาน xxx - อาคาร xxx - ทด่ี ิน xxx - เจ้าหน้าการคา้ xxx - *เจา้ หน-ี้ กรมสรรพากร เงินกู้ xxx - ทุน-หุ้นส่วน 202 *1,190 - เงนิ ถอน-หุ้นสว่ น ขายสนิ คา้ xxx - รบั คืนสนิ คา้ และจำนวนที่ลด xxx - ให้ xxx - 401 12,000 - 402 2,000 -

ส่วนลดรับ 403 480 - ซอ้ื สินคา้ 501 57,500 - ค่าขนสง่ เขา้ 502 1,200 - สง่ คนื สนิ ค้าและจำนวนทไี่ ด้ ลด 503 2,500 - ส่วนลดจา่ ย คา่ ขนสง่ ออก 504 535 - คา่ สาธารณูปโภค ค่าเชา่ 505 2,500 - คา่ โฆษณา เงินเดอื น xxx - xxx - xxx - xxx - xxxx - xxxx -

แบบทดสอบหลงั เรยี น ลิงคท์ ำแบบทดสอบหลงั เรยี น 1บชำระหน้ี 20,000 บาทให้สว่ นลด 1,000 บาท จะลงในสมดุ รายวันเฉพะเล่มใด ก.ใลงในสมุดรายวันท่ัวไป โดยเดบิตเงินสด 20,000 ส่วนลด 1,000 เครดิต ลูกหนี้ 21,000 ข.ลงในสมุดรายวันรบั เงินโดย เดบติ เงนิ สด 20,000 เครดติ ส่วนลดรบั 1,000 เครดติ ลูกหน้ี 19,000 ค.ลงในสมุดรายวันรับเงนิ โดยเดบิตเงนิ สด 19,000 สว่ นลดจ่าย 1,000 เครดิตลกู หนี้ 20,000 ง.ลงในสมดุ รายวันจา่ ยเงิน โดยเดบติ ลกู หนี้ 19,000 สว่ นลดจ่าย 1,000 เครดิตลูกหน้ี 20,000 จ.ลงในสมุดรายวันรับเงนิ โดยเดบติ เงนิ สด 16,000 สว่ นลดจ่าย 1,000 เครดติ ลกู หนี้ 17,000 2. จา่ ยค่าขนส่งแทนนายสมคั ร 400 บาทบันทึกในสมุดรายวันอะไร อย่างไร ก.สมุดรายวันทั่วไป โดย เดบิตลกู หนี้ -สมคั ร 400 เครดิต เงินสด 400 ข.สมดุ รายวนั จ่ายเงินโดย เดบิตลูกหน้ี -สมัคร 400 เครดติ เงินสด 400 ค.สมุดรายวันรบั เงนิ โดย เดบิตลกู หน้ี -สมคั ร 400 เครดิต เงินสด 400 ง.แยกประเภทลกู หนี้โดย เดบิตลกู หนี้ -สมคั ร 400 เครดิต เงินสด 400 จ.แยกประเภทลูกหนี้โดย เดบติ ลกู หนี้ -สมัคร 800 เครดติ เงินสด 800


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook