Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดการสอนการปลูกพืชผักสวนครัว เรื่องการปลูกโหระพา

ชุดการสอนการปลูกพืชผักสวนครัว เรื่องการปลูกโหระพา

Published by kru.p.jaithep2555, 2022-06-09 10:44:48

Description: เกษตรชุด4

Search

Read the Text Version

ชดุ การสอนการปลกู พชื ผักสวนครัว กลุม่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ เลม่ ท่ี ๔ การปลกู โหระพา นางสาวชนฐั กนั ต์ ใจเทพ ครู วิทยฐานะครูชำนาญการ โรงเรยี นมัธยมสทุ ธาราม สำนกั งานเขตคลองสาน กรงุ เทพมหานคร

ชดุ การสอนการปลกู พชื ผักสวนครวั กลุ่มสาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ (งานเกษตร) ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ เลม่ ที่ ๔ การปลูกโหระพา นางสาวชนัฐกนั ต์ ใจเทพ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ โรงเรยี นมธั ยมสุทธาราม สำนักงานเขตคลองสาน กรงุ เทพมหานคร

ก คำนำ ชุดการสอนการปลูกพืชผักสวนครวั กล่มุ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ ฉบบั น้ีจดั ทำขนึ้ เพื่อใหป้ ระกอบการเรยี น ท่ใี หน้ กั เรยี นสามารถศึกษาหาความรู้ ฝกึ ทกั ษะเพิ่มเติมจากเนื้อหาพร้อม ทั้งสามารถประเมินผลตนเองได้จากคำตอบในเฉลย เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรูด้ ้วยตนเอง และใช้เอกสารทั้งในเวลา และนอกเวลาเรยี น ชดุ การสอนการปลูกพชื ผกั สวนครวั กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี (งานเกษตร) ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ มจี ำนวน ๔ เลม่ ดังนี้ เล่มท่ี ๑ หลักการปลูกผกั สวนครัว เลม่ ท่ี ๒ การปลกู ผกั ถ่วั ฝกั ยาว เล่มท่ี ๓ การปลกู ผกั บ้งุ จีน เลน่ ที่ ๔ การปลกู โหระพา ชุดการสอนการปลูกพืชผักสวนครัว เรื่องการปลูกโหระพา กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ (งานเกษตร) ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒ เลม่ ท่ี ๔ การปลกู โหระพา สำเรจ็ ลลุ ว่ งไปด้วยดี ขอขอบคุณผู้ท่ีมีส่วนเก่ียวข้อง ท่ใี หค้ ำปรกึ ษา แนะนำ และให้ความช่วยเหลือ จนทำให้ชุดการสอนฉบับนี้ มคี ุณคา่ มากย่ิงข้ึนและหวังเป็นอย่างยิ่ง ว่าจะเป็นเป็นโยชน์ต่อผู้เรียนในการศึกษาหาความรู้ในงานเกษตรให้กับตนเองหรือกลุ่มผู้เรียนได้อย่าง มีประสทิ ธภิ าพ ชนัฐกนั ต์ ใจเทพ

สารบญั ข เรอื่ ง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข สารบญั ภาพ ง คำช้แี จง จ มาตรฐานการเรียนรู้ ฉ ฉ ตัวชีว้ ดั ฉ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ช สาระสำคัญ ช สาระการเรียนรู้ ๑ แบบทดสอบก่อนเรียน ๖ การปลูกโหระพา ๗ ลกั ษณะท่วั ไปของโหระพา ๗ พันธโ์ุ หระพา ๗ การขยายพนั ธ์ุ ๘ วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการปลูกโหระพา ๙ การเตรยี มดนิ ๑๐ วธิ ีการปลกู ๑๓ การดูแลรักษา ๑๔ การป้องกนั กำจัดโรคและแมลงศัตรูพืช โหระพา ๑๘ การเกบ็ เกย่ี วผลผลติ ๑๙ ประโยชนข์ องโหระพา ๒๒ ใบมอบหมายกจิ กรรมท่ี ๑ ๒๓ ใบมอบหมายกจิ กรรมที่ ๒ ๒๔ ใบมอบหมายกจิ กรรมที่ ๓ ๒๘ แบบฝกึ หัด ๒๙ แบบทดสอบหลังเรียน ๓๑ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน

สารบญั (ต่อ) ค เร่ือง หน้า ตัวอยา่ งคำตอบใบมอบหมายกจิ กรรมท่ี ๑ ๓๒ ตวั อย่างคำตอบใบมอบหมายกิจกรรมที่ ๒ ๓๓ เฉลยแบบฝึกหัด ๓๔ บรรณานกุ รม ๓๕

สารบญั ภาพประกอบ ง ภาพประกอบท่ี หน้า ๑ ต้นโหระพา ๖ ๒ การขยายพันธโุ์ ดยการเพาะเมล็ด ๗ ๓ การขยายพนั ธโุ์ ดยการปกั ชำ ๗ ๔ การเตรยี มดินในถาดเพาะเมล็ด ๙ ๕ การปลกู โดยการเพาะยา้ ยต้นกล้า ๑๑ ๖ การปลูกโดยการเพาะยา้ ยต้นกล้า ๑๑ ๗ การปลูกโดยการปกั ชำ ๑๒ ๘ เพลีย้ ไฟโหระพา ๑๔ ๙ แมลงหวข่ี าว ๑๕ ๑๐ แมลงวันหนอนชอนใบ ๑๖ ๑๑ หนอนผีเสอื้ ห่อใบ ๑๗ ๑๒ การเก็บเก่ียวผลผลติ ๑๘ ๑๓ ลำต้น เมลด็ รากโหระพา ๒๐

จ คำชี้แจงวธิ ใี ช้เอกสารประกอบการเรียน ชุดการสอนการปลูกพชื ผกั สวนครัว กลมุ่ สาระการเรยี นรูก้ ารงานอาชพี (งานเกษตร) ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ เล่มที่ ๔ การปลูกโหระพา ซึ่งผู้จัดทำได้ปรับปรุงเนื้อหาสาระ ให้สอดคล้องกับท้องถิ่นและความต้องการ ของนักเรียน เพื่อให้นักเรียนและครูผู้สอนมีชุดการสอนเป็นสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ใหน้ ักเรยี นมนี ิสัยรักการอา่ นศึกษาค้นคว้าหาความรู้ และสร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง ในการศึกษาชดุ การสอนเล่มนี้ เพ่อื ให้บรรลจุ ัดประสงค์การเรียนรู้นกั เรยี นควรปฏิบัตติ ามขั้นตอนต่อไปน้ี คำช้แี จงสำหรับครู ๑. ศกึ ษาทำความเข้าใจชดุ การสอนทัง้ เล่ม ๒. ใชส้ อนควบคู่กบั แผนการจัดการเรยี นรู้ ตามจุดประสงค์การเรยี นรู้ ๓. เตรียมเอกสารการเรยี นให้พร้อมและครบตามจำนวนนกั เรียน ๔. ดำเนินกจิ กรรมการเรยี นรตู้ ามลำดับขน้ั ตอนในแผนการจดั การเรียนรู้ คำชแ้ี จงสำหรับนกั เรียน ๑. ชุดการสอนการปลูกพืชผักสวนครัว เรื่อง การปลูกโหระพา ให้นักเรียนใช้อ่านประกอบในชั่วโมง ท่คี รูทำการสอน หรือหลังจากครสู อนจบเนื้อหา ๒. นกั เรยี นทำแบบทดสอบก่อนเรยี น เพ่ือประเมนิ ความรู้พนื้ ฐาน ๓. นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ให้เข้าใจ เพื่อเตรียมความพร้อมสำหรั บการเรียนเนื้อหา และฝกึ ปฏิบัติกิจกรรม ๔. นักเรียนศึกษาเนื้อหากิจกกรมตามลำดับขั้นตอน เมื่อนักเรียนศึกษาเนื้อหาเสร็จแล้ว ให้ทำใบมอบหมายกิจกรรม ทำแบบฝึกหัดในแต่ละเรื่องเพื่อประเมินความรู้และสามารถตรวจสอบ คำตอบจากเฉลย นักเรยี นต้องมีความซ่ือสตั ยต์ ่อตนเองไม่แกไ้ ขคำตอบ ๕. นกั เรียนทำแบบทดสอบหลงั เรยี น แล้วตรวจสอบแบบทดสอบหลงั เรยี นจากแบบเฉลยเพ่อื ประเมินผล การเรยี น

ฉ มาตรฐาน/ตัวช้วี ดั /จดุ ประสงค์ มาตรฐาน สาระท่ี ๑ การดำรงชีวิตและครอบครวั ง ๑.๑ เข้าใจการทำงาน มีความคิดสร้างสรรค์ มีทักษะกระบวนการทำงาน ทักษะการจัดการ ทกั ษะกระบวนการแกป้ ัญหา ทักษะการทำงานร่วมกัน และทกั ษะการแสวงหาความรู้ มีคุณธรรม และลกั ษณะ นสิ ยั ในการทำงาน มีจิตสำนึกในการใช้พลงั งานทรพั ยากร และสง่ิ แวดล้อมเพ่ือการดำรงชวี ติ และครอบครวั ตวั ชีว้ ดั ง ๑.๑ ม.2/1 ใชท้ ักษะการแสวงหาความรูเ้ พอ่ื พัฒนาการทำงาน ง ๑.๑ ม.2/2 ใช้ทักษะกระบวนการแก้ปญั หาในการทำงาน ง ๑.๑ ม.2/3 มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรพั ยากรในการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งประหยดั และคุ้มคา่ จุดประสงคก์ ารเรยี นรสู้ ตู่ ัวชว้ี ดั นักเรียนจะมีความรู้ความสามารถ ดังนี้ ๑. อธบิ ายขัน้ ตอนการปลกู โหระพาได้ ๒. ปฏบิ ัติการเตรยี มดิน ปลกู ดแู ลรักษา เกบ็ เก่ียวผลผลติ โหระพาตามขั้นตอนไดอ้ ย่างถูกต้อง ๓. บอกกประโยชน์ของโหระพาได้ ๔. มีความรบั ผดิ ชอบ ขยัน ใช้ทรพั ยากรอย่างประหยดั และคุ้มค่า

ช สาระสำคัญ โหระพา เป็นผักที่นิยมปปลูกในแถบเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น มาเลเซีย ไทย ลาว และอินโดนีเซีย เป็นผกั ทีอ่ ยู่ในกลุ่มเดียวกบั กะเพรา และแลงลกั แตม่ กี ลนิ่ หอมเฉพาะตวั สามารถปลูกได้ตลอดท่ีงปี และปลูกได้ใน ดินเกือบทุกชนิด แต่เจริญเติบโตได้ดีในดินร่วน มีการระบายน้ำได้ดี และมีความชื้นสม่ำเสมอ ต้องการแสงแดด ตลอดทงั้ วนั สาระการเรียนรู้ ๑. ลกั ษณะท่วั ไปของโหระพา ๒. พนั ธโุ์ หระพา ๓. การขยายพันธ์ุ ๔. วัสดอุ ปุ กรณใ์ นการปลกู โหระพา ๕. การเตรยี มดิน ๖. วธิ ีการปลกู ๗. การดูแลรกั ษา ๘. การปอ้ งกนั กำจัดโรคและแมลงศัตรพู ชื โหระพา ๙. การเกบ็ เกี่ยวผลผลติ ๑๐. ประโยชนข์ องโหระพา

๑ แบบทดสอบก่อนเรียน คำช้ีแจง ให้นกั เรียนทำเครื่องหมาย X ทับขอ้ ที่ถูกต้องท่สี ดุ ๑. ถ้าตอ้ งการจะตักดนิ ใสก่ ระถาง นกั เรยี นควรจะเลือกอุปกรณใ์ นขอ้ ใดจงึ เหมาะสมทีส่ ุด ก. จอม ข. เสยี ม ค. ชอ้ นปลกู ง. สอ้ มพรวนดนิ ๒. ข้อใดเป็นสว่ นผสมของดินทีเ่ หมาะในการปลูกโหระพาในกระถาง ก. ดนิ รว่ น ๒ ส่วน / ทราย ๑ ส่วน / ขุยมะพรา้ ว ๑ ส่วน / ปุ๋ยคอก ๑ ส่วน ข. ดนิ รว่ น ๑ สว่ น / ทราย ๒ ส่วน / ขยุ มะพร้าว ๑ สว่ น / ปุ๋ยคอก ๑ สว่ น ค. ดนิ รว่ น ๑ สว่ น / ทราย ๑ ส่วน / ขยุ มะพร้าว ๒ สว่ น / ปยุ๋ คอก ๑ ส่วน ง. ดินรว่ น ๑ สว่ น / ทราย ๑ ส่วน / ขุยมะพรา้ วม ๑ ส่วน / ปยุ๋ คอก ๒ สว่ น ๓. แมลงในข้อใดเปน็ สาเหตุทำให้ใบโหระพาหงิกงอและเหย่ี วแห้ง ตน้ แคระแกรน ก. ตก๊ั แตน ข. เพลยี้ ไฟ ค. หนอนคืบ ง. แมลงหว่ขี าว ๔. การนำเมลด็ โหระพาไปคลุกกบั ทรายละเอยี ดกอ่ นหว่านลงในแปลงปลูกจะเกิดผลอยา่ งไร ก. ชว่ ยใหด้ ินระบายนำ้ ได้ดี ข. ช่วยรกั ษาความชุ่มชนื้ ให้กบั ดนิ ค. ทำใหเ้ มล็ดกระจายตวั สม่ำเสมอ ง. ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ มลด็ วัชพชื งอกออกมา ๕. การปลอ่ ยให้โหระพามดี อกจนแก่คาตน้ มีผลอย่างไร ก. ทำให้ตน้ แก่ช้า แตกใบมาก ข. ทำให้ตน้ แก่เร็ว แตกใบนอ้ ย ค. ทำใหต้ ้นเจรญิ เตบิ โตดี อายยุ ืน ง. ทกให้ตน้ เจริญเตบิ โตดี แตกใบมาก

๒ ๖. อาการทใี่ บโหระพาเปน็ แผลมนี ้ำและเมือกคอ่ ย ๆ ขยายใหญ่ลุกลามไปทัว่ เกิดจากสาเหตุใด ก. โรคใบเนา่ ข. โรคราน้ำคา้ ง ค. โรคใบจุด ง. โรคใบเหีย่ ว ๗. ป๋ยุ ในข้อใดเรยี กว่า “ ปุย๋ แอมโมเนียมซัลเฟต” ก. ปุ๋ยสตู ร ๔๖ - ๐ -๐ ข. ปุ๋ยสูตร ๒๑ - ๐ - ๐ ค. ปุ๋ยสตู ร ๑๕ - ๑๕ – ๑๕ ง. ป๋ยุ สูตร ๑๖ - ๑๖ – ๑๖ ๘. การรดน้ำโหระพาทปี่ ลูกในกระถาง กบั การปลูกในแปลง มคี วามแตกต่างกนั หรือเหมอื นกนั อย่างไร ก. เหมือนกนั เพราะต้องมกี ารรดน้ำทกุ วนั วนั ละ ๒ คร้งั ข. เหมอื นกนั เพราะต้องมกี ารรดนำ้ ๓- ๕ ครัง้ ตอ่ สัปดาห์ ค. ต่างกัน เพราะปลกู ในแปลงตอ้ งมีการรดนำ้ ทกุ วัน วัยละ ๒ ครั้ง ง. ตา่ งกัน เพราะการปลูกในกระถางต้องมีการรดนำ้ ทุกวนั วันละ ๒ คร้ัง ๙. ใครปฏิบัตไิ ดถ้ ูกต้องในการเกบ็ เกย่ี วผลผลดิ ตน้ โหระพา ก. ปอนด์เกบ็ โหระพาทกุ ๆ ๑ - ๓ วัน ข. ปยุ๋ ทยอยเก็บโหระพาจากกิ่งท่อี ย่ดู ้านบนก่อน ค. เป๊ยี กใช้มอื เด็ดยอดโหระพาใส่ถงุ ไปขายทีต่ ลาด ง. ป้อมถอนตน้ โหระพาที่มีอายุ ๘ เดอื นออกแล้วเรม่ิ ปลกู ใหม่ ๑๐.เมลด็ แห้งของโหระพามปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร ก. บรรเทาอาการปวดข้อ ข. บรรเทาอาการปวนศรี ษะ ค. ชว่ ยขบั ลมในกระเพาะอากหาร ง. เปน็ ยาระบายช่วยในการขบั ถา่ ย

๓ อ่านเพิม่ ........เสรมิ ความรู้ น้องแตงกวากำลงั วาดรปู อะไรอยู่ครบั สวสั ดคี ะนอ้ งแตงกวา น้องผักบงุ้ เอ๊ะ! ทำไมน้องผกั บงุ้ หนา้ เครียดจงั คะ แตงกวากำลงั วาดรปู ต้นโหระพา แล้วชใู ห้เพื่อนดู หนา้ หอ้ งเพอ่ื ประกอบการายงานเรอื่ ง การปลูก โหระพาคะ่

แล้วนอ้ งผักบุ้งล่ะคะ เข้าใจเนื้อหา ๔ ท่ีจะรายงานใหเ้ พ่ือนฟังหรือยังคะ ยงั งงๆ อยู่เหมือนกนั ค่ะ พ่ีสม้ โอกบั พี่ มะนาวช่วยนอ้ งผักบุ้งหน่อยไดไ้ หมคะ ได้สคิ ะ น้องผกั บุ้ง

๕ ถา้ เราจะพดู รายงานหน้าช้นั ให้เพอื่ นเขา้ ใจ เราต้องเรียนรจู้ ากประสบการณ์ จริงคะ่ นี่คือต้นโหระพาทพ่ี ่สี ้มโอกับพม่ี ะนาวปลกู ค่ะ เดย๋ี วพี่จะอธบิ าย เร่อื ง การปลูก โหระพาใหฟ้ ังนะคะ

๖ การปลกู โหระพา ภาพท่ี ๑ ต้นโหระพา โหระพา ช่อื สามัญ Sweet Basil ชอื่ วทิ ยาศาสตร์ Ocimum basilicum L. ชอ่ื วงศ์ LABIATAE

๗ ลกั ษณะท่วั ไป โหระพาเปน็ ผกั สวนครัวอายุหลายปี จดั อยู่ในกลุ่มไมพ้ ุ่มขยาดเล็ก สงู ไม่เกิน ๖๐ เซนตเิ มตร เจริญเติบโต ได้ดใี นดนิ ร่วน โหระพาออกดอก และปลกู ไดต้ ลอดทั้งปี ลำต้น ลำต้นเปน็ เหลย่ี ม สีม่วงแดง ใบ ใบรูปรี สเี ขียวเขเมหรือเขียวอมม่วงอมแดง แผนใบหนาไมม่ ขี น ดอก ดอกออกเปน็ ชอ่ คล้ายฉัตร รปู ปาก กลีบดอกมีสขี าว ภายในดอกจะมีเมล็ดขนาดเล็ก เมอ่ื นำไปแชน่ ำ้ จะพองตวั เหมอื นเมล็ดแมงลกั พนั ธุ์โหระพา ๑. พนั ธุพ์ น้ื เมอื ง ขนาดใบเล็ก และมีกลิ่นหอมแรง ๒. พันธกุ์ ารค้า ไดแ้ ก่ พันธ์ุจมั โบ้ เป็นพันธ์ทุ มี่ ใี บใหญ่ นิยมปลูกโดยทว่ั ไป พนั ธุ์โหระพา โดยการเพาะเมลด็ และปักชำ ภาพท่ี ๒ การขยายพันธ์โุ ดยการเพาะเมล็ด ภาพที่ ๓ การขยายพนั ธโ์ุ ดยการปักชำ

วัสดอุ ุปกรณ์ในการปลูกโหระพา ๘ เมล็ดพนั ธุ์ บวั รดนำ้ ปยุ๋ คอกหรือ กง่ิ พันธุ์ หรอื สายยาง ปุ๋ยหมกั แปลงปลกู กระถาง ปุย๋ สำหรับเร่ง จอบ เสยี ม หรอื ภาชนะปลูก การเจรญิ เติบโต ชอ้ นปลกู

๙ การเตรยี มดิน ๑. การเตรียมดนิ สำหรับการเพาะตน้ กล้าในถาดเพาะเมลด็ เตรียมดินร่วน ๒ ส่วน ทราย ๑ ส่วน ขี้เถ้อแกลบ ๑ ส่วน ขุยมะพร้าว ๑ ส่วน และปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อีก ๑ ส่วน ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากัน หรือใช้ดินผสมสำเร็จที่มีขายตามร้ายขายต้นไม้ทั่วไปก็ได้ ใส่ดินลงไป ใหเ้ กือบเตม็ ถาดเพาะเมล็ด ภาพท่ี ๔ การเตรียมดินในถาดเพาะเมล็ด ๒. การเตรียมดินปลกู ๒.๑ การเตรยี มดนิ สำหรบั การหว่านเมลด็ ลงในแปลงปลูก มีขั้นตอนการปฏิบตั ิดังน้ี ๒.๑.๑ ใชจ้ อบขดุ ดนิ ตากแดดท้ิงไว้ ๒ รอบ แต่ละรอบใช้เวลา ประมาณ ๕ - ๗ วนั เพ่ือฆา่ เช้ือโรค และไขข่ องแมลงศตั รูพชื ที่อย่ใู นดนิ ๒.๑.๒ กอ่ นท่จี ะยกรอ่ งเปน็ แปลงให้ใช้ปุ๋ยคอกอตั รา ๒ - ๓ ถุง / แปลง หว่านให้ทัว่ แปลง จากนนั้ ใชจ้ อบพรวนดนิ ให้ละเอยี ด ยกร่องเป็นแปลง ขนาดกวา้ ง ๑.๕ เมตรร ความยาวตามความ เหมาะสมตามสภาพพนื้ ทีป่ ลูก

๑๐ ๒.๒ การเตรียมดนิ สำหรับการปลูกในกระถางหรือภาชนะ มีขั้นตอนการปฏิบตั ิดงั นี้ ๒.๒.๑ เตรยี มดินร่วน ๒ สว่ น ทราย ๑ ส่วน ขยุ มะพรา้ วหรอื กาบมะพร้าว ๑ สว่ น และปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยคอกอีก ๑ ส่วน ผสมคลุกเคล้าให้เข้ากันหรือใช้ดินผสมสำเร็จที่มีขายตามร้านขายต้นไม้ทั่วไปก็ได้ แต่มีข้อเสยี คอื มธี าตุอาหารพืชนอ้ ย จึงควรนำมาผสมกับปุ๋ยคอก กอ่ นปลกู ในอัตราส่วน ดนิ สำเร็จ ๑ ส่วน/ ปยุ๋ คอก ๑ ส่วน ๒.๒.๒ ใช้ช้อนปลูกตักดินใส่ลงไปให้เกือบเต็มกระถาง กดดินให้พอแน่น ปรับดินในกระถาง ให้เรียบร้อย การปลูก การปลกู โหระพาสามารถทำได้ ๓ วิธี ดงั น้ี ๑. การปลูกโดยวิธีหว่านเมล็ดลงในแปลงปลูก เป็นวิธีที่นิยมปลูกมากที่สุดสำหรับการปลูกในแปลง เพาะต้นกล้าจะมีระบบรากแข็งแรง และเจริญเติบโตเร็วกว่า การปลูกโดยวิธีย้ายต้นกล้าไปปลูก มีขั้นตอน การปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี ๑.๑ หลงั จากเตรยี มดนิ เสร็จแลว้ นำเมล็ดไปคลกุ กบั ทรายละเอยี ด หรอื ดนิ ร่วน ในอตั ราสว่ น ๑ : ๑ หวา่ นเมลด็ ลงในแปลง ใหเ้ มล็ดมีการกระจายตัวประมาณ ๓ - ๕ ชม. ๑.๒ ใช้คราดหรอื สอ้ มพรวนดนิ เกล่ียหน้าดนิ บาง ๆ แลว้ คลมุ ดว้ ยฟางข้าวหรอื หญ้าแหง้ ทสี่ ะอาด ๑.๓ ใชบ้ วั รดน้ำ รดนำ้ ใหช้ มุ่ หลงั จากหว่านเมลด็ แล้วใหร้ ดน้ำทกุ วนั วนั ละ ๑ - ๒ คร้ัง เช้าและเย็น เมลด็ โหระพาจะเร่ิมงอกภายใน ๗ - ๑๐ วัน

๑๑ ๒. การปลูกโดยวธิ ีเพาะย้ายตน้ กล้า ๒.๑ การเตรียมดนิ โดยใชต้ ะกร้าหรือตะแกรง ร่อนดนิ เอาเศษวัสดุ และดินกอ้ นใหญอ่ อก ใสด่ ินลงในถาดเพาะ เมลด็ ประมาณ ๒ ใน ๓ ของความลกึ ของถาดเพาะใชไ้ ม้ปลายแหลมทำเปน็ หลุมเล็ก ๆ ลกึ ๐.๕ เซนติเมตร หยอดเมลด็ ลงไป ๑ - ๒ เมลด็ กลบเมลด็ ดว้ ยดนิ ปลกู บาง ๆ ภาพท่ี ๕ การปลูกโดยการเพาะยา้ ยตน้ กลา้ ๒.๒ รดน้ำตามทักทีโดยใช้กระบอกฉีดน้ำ หลังจากนั้นนำถาดเพาะเมล็ดเปล่าที่มีขนาดเดียวกันคว่ำ ปิดทับไว้ รดน้ำทุกวนั เช้าและเยน็ ประมาณ ๗ - ๑๐ วนั เมลด็ จะเรม่ิ งอก ๒.๓ เมื่อโหระพามีอายุได้ ๒๐ - ๒๕ วัน จึงทำการย้ายปลูก ก่อนการย้ายต้นกล้าต้องรดน้ำทิ้งไว้ก่อน อยา่ งนอ้ ย ๓๐ นาที เพอ่ื ไม่ให้ดินแห้งจนเกินไปและทำให้ถอนตน้ กลา้ จากหลุมถาดเพาะไดง้ ่าย จากน้ันนำไป ปลูกในกระถาง กระถางละ ๑ - ๒ ต้น ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของกกระถาง ถ้าปลูกในแปลงควรเว้นระยะ ให้หา่ งกัน ๒๐ - ๓๐ เซนตเิ มตร ภาพท่ี ๕ การปลูกโดยการเพาะยา้ ยต้นกลา้

๑๒ ๒.๔ ต้นกล้าท่ีถอนมาแล้วจะต้องปลกู ใหเ้ สรจ็ ภายในวนั เดยี วกนั หลังจากปลกู เรยี บรอ้ ยแลว้ ควรหา เศษฟางหรอื ยาแหง้ มาคลมุ เพอื่ ชว่ ยรักษาความชื้นและลดนำ้ ตามทนั ที ขอ้ ควรคำนึง ในการปลกู โดยวธิ ยี ้ายตน้ กล้า ควรปลูกในช่วยเวลาเยน็ (ประมาณ ๑๖.๐๐น. – ๑๗.๐๐น.) เพอ่ื ลดการเห่ยี วเฉา และทำให้ตน้ กล้าตั้งตวั ได้เรว็ ๓. การปลูกโดยวิธีปกั ชำ ๓.๑ เตรยี มดนิ ตามขัน้ ตอนการเตรียมดนิ ปลูกในกระถางหรอื ภาชนะ ๓.๒ ตัดกิ่งที่โตเต็มที่ยาวประมาณ ๕ - ๑๐ เซนติเมตร แล้วปลิดใบออกให้หมด นำไปปักชำในถางหรือ ภาชนะ ประมาณ ๓ - ๔ ก่ิง ตอ่ กระถาง แล้วรดน้ำให้ชุม่ นำไปวางในทรี่ ม่ การปักชำในแปลงปลกู ควรเว้นระยะให้ ห่างกัน ๑๕-๒๐ เซนตเิ มตร ภาพท่ี ๗ การปลกู โดยการปักชำ

๑๓ การดแู ลรกั ษา โหระพา ๑. การรดน้ำ โหระพาเปน็ พชื ท่ตี ้องการความช้ืนสูงและสมำ่ เสมอ ดังนน้ั ๑.๑ การในกระถางหรอื ภาชนะ ควรมกี ารลดนำ้ ทกุ วนั วันละ๒ คร้งั เนอื่ งจากดนิ ในกระถางมนี อ้ ย ทำให้นำ้ ระบายออกไปไดเ้ รว็ ๑.๒ การปลกู ในแปลง ช่วงอายุ ๗-๑๕ วัน ใหล้ ดน้ำทุกวนั วนั ละ ๑-๒ ครัง้ เมอื่ ตน้ กลา้ แขง็ แรงดแี ล้ว จงึ คอ่ ย ๆ ลดปริมาณน้ำลง โดยจะให้เหลอื ๓-๕ ครั้ง / สัปดาห์ ขึน้ อยกู่ บั ฤดปู ลูก และความชุ่มชืน้ ของหนา้ ดนิ จนถึงการเก็บเก่ยี ว แต่ระวังอยา่ ให้แฉะเกินไป ๒. การใส่ปุ๋ย การใช้ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต (๒๑-๐-๐) ละลายน้ำรดหลังปลูกประมาณ ๑๕ - ๒๐ วัน ๒ ช้อนชา ต่อน้ำ ๔ ลิตร จะทำให้การเจริญเติบโตของโหระพาดียิ่งขึ้น และมียอดอวบงาม และใช้ปุ๋ยสูตร ๑๕ - ๑๕ - ๑๕ ประมาณ ๑/๒ ช้อนชา ต่อกระถางทุก ๑๐ - ๑๕ วัน และทุกครั้งหลังจากการเก็บเก่ียว สำหรับ โหระพาที่ปลูกในแปลงใส่ปุ๋ยสูตร ๑๕ - ๑๕ - ๑๕ อัตราส่วน ๑ ช้อนชา/ต้น โดยใส่ปุ๋ยห่างจากโคนต้น ๓ - ๕ เชนติเมตร โหระพาเป็นพืชที่ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและแมลงมากนักการแก้ปัญหาจึงไม่ควรใช้สารเคมี เพื่อความปลอดภัยควรถอนต้นที่เป็นโรคไปทำลายทิ้งและหมั่นเด็ดดอกโหระพาออก อย่าให้แก่คาต้น เพราะจะทำให้ต้นแก่เร็ว แตกใบน้อยอายุการเก็บเกี่ยวสั้นลง ก่อนการใสปุ๋ยแต่ละครั้งต้องถอนวัชพืชออกจาก กระถางใหห้ มด

๑๔ ๓. โรคและแมลงศัตรทู ่สี ำคัญของโหระพา โหระพาเป็นผกั สวนครวั ท่ไี ม่คอ่ ยพบ ศัตรทู ำลายมากเหมือนผกั ชนิดอืน่ โรคและแมลงที่สำคญั มดี ังนี้ ๓.๑ โรคทสี่ ำคัญ ๓.๑.๑ โรคเหี่ยว เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อรา Fusarium oxysporumn ทำให้ใบมีสีดำ และเหี่ยวตาย ถ้าเป็นการปลูกในแปลงจำนวนมาก ๆ แก้ไขไดโ้ ดยฉีดพน่ ยากำจัด เชื้อรา ส่วนการปลกู ในกระถาง หรอื ภาชนะใหถ้ อนต้นทเี่ ปน็ โรคออกไปทำลายและหม่ัน ดูแลตน้ โหระพาอยเู่ สมอ ๓.๑.๒ โรคใบเน่า เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อรา Ewinia sp. เกิดอาการใบเป็นแผล บริเวณแผล มีน้ำและเมือก และแผลจะค่อยๆ ขยายใหญ่ลุกลามไปทั่วใบจนเน่าตาย แก้ไขได้โดยให้ถอนต้นที่เป็นโรคออกไป ทำลาย และหมั่นดูแลต้นโหระพาอยู่เสมอ ๓.๑.๓ โรคใบจุด เป็นโรคที่เกิดจากเชื้อรา Alternaria sp. ที่ชอบเกิด ในช่วงฤดูฝนโดยจะพบ อาการท่ใี บมีจุดสนี ้ำตาลเข้มถงึ ดำ ใบจะค่อยๆ เปลยี่ นเปน็ สีเหลือง และรว่ งตามมา และจะเกิดบริเวณใบล่างก่อน แล้วค่อยลกุ ลามจนถงึ ใบส่วนยอด ควรหม่ัน ดูแลต้นโหระพาอยู่เสมอ ถอนแยกตน้ ท่เี ปน็ โรคออก ๓.๒ แมลงทสี่ ำคัญ ๓.๒.๑ เพลี้ยไฟโหระพา พืชอาหารของเพลี้ยไฟโหระพา คือ กะเพรา และโหระพา ทั้งตัวอ่อน และตัวเต็มวัยดูดกินน้ำเลี้ยง โดยการใช้ปากเขี่ยเนื้อเยื่อพืชให้ช้ำ แล้วดูดน้ำเลี้ยงจากเชลล์พืช จากยอด ใบอ่อน ตาดอก และดอก ทำใหใ้ บหรือยอดออ่ น หงิก ขอบใบหงกิ หรือมว้ นงอขึน้ ดา้ นบน ภาพท่ี ๘ เพลยี้ ไฟโหระพา

๑๕ การป้องกนั กำจัด - หมนั่ ดแู ล สำรวจต้นโหระพาอยู่เสมอ - เมือ่ พบวา่ มเี พล้ียไฟโหระพา ควรใช้น้ำสบผู่ สมกบั นำ้ ยาสูบฉดี พน่ ให้ทว่ั ทั้งตน้ ไมค่ วรใช้สารเคมี ๓.๒.๒ แมลงหวี่ขาว พืชอาหารของแมลงหวี่ขาวมีหลายชนิด เช่น พริก มะเขือเทศ กระเจี๊ยบ เขยี ว มะเขอื เปราะ กะเพรา โหระพา แมงลกั และพชื ตระกูลถ่ัว ตัวอ่อนและตวั เต็มวัยจะคอยดูดกินน้ำเลี้ยงจากใบ ทำใหใ้ บหงกิ งอและเหีย่ วแห้ง ตันแคระแกรน็ พบมากในชว่ งฤดรู อ้ น ภาพที่ ๙ แมลงหวีข่ าว การป้องกนั กำจดั - หม่นั ดแู ล สำรวจต้นโหระพาอยเู่ สมอ - ควรใช้นำ้ สบูผ่ สมกับนำ้ ยาสูบและน้ำสะเดา ฉีดพ่นให้ทว่ั ท้งั ตน้ ไม่ควรใช้สารเคมฉี ดี พน่

๑๖ ๓.๒.๓ หนอนแมลงวันชอนใบ หรือหนอนชอนใบ พืชอาหารของหนอนแมลงวันชอนใบ คือ พืชตระกูลกะหลำ่ ตันหอม มะเขือเทศ มะเขือเปราะ มะระ พริก บวบ กระเจ๊ียบเขียว โหระพา แมงลัก พืชตระกูล ถ่วั รวมทั้งไมด้ อกบางชนดิ เช่น ดาวเรือง เบญจมาศ กุหลาบ เยอปรี ่า ตวั หนอนจะชอนไชอยู่ระหวา่ งใบ ทำทางเดิน อาศยั อยู่ภายในระหว่างผิวใบทงั้ ๒ ด้าน กัดกนิ และขับถา่ ยอยูภ่ ายในใบที่ถูกทำลายจะเหน็ เปน็ ทางเดินของหนอน คดเคี้ยวไปมา ภาพท่ี ๑๐ แมลงวนั หนอนชอนใบ การป้องกนั กำจดั - หมนั่ ดแู ล สำรวจต้นโหระพาอย่เู สมอ - เก็บรวบรวมเศษใบพืชตามพื้นดินที่ถูกแมลงวันหนอนชอนใบทำลายแล้ว นำไปทำลาย เพอ่ื ลดการแพรร่ ะบาดได้ เนื่องจากดกั แด้ท่ีอยู่ตามเศษใบพืชจะถูกทำลายไปด้วย ควรงดใช้สารเคมี

๑๗ ๓.๒.๔ หนอนผีเสื้อห่อใบ เกิดจากตัวอ่อนของผีเสื้อในระยะที่เป็นตัวหนอนคอยกัดกินใบ จากนนั้ จะปลอ่ ยเสน้ ใยให้ใบม้วนมาพันกันเพอ่ื คลุมลำตวั แลว้ จะคอ่ ยๆ กัดกินใบด้านในบริเวณผิวใบ และจะเปล่ียน ใบใหมจ่ นถงึ ยอด ภาพที่ ๑๑ หนอนผเี สื้อหอ่ ใบ การป้องกนั กำจัด - หม่นั ดแู ล สำรวจต้นโหระพาอยูเ่ สมอ หากพบตัวหนอนมากดั กินต้นโหระพาใหใ้ ช้มอื จับทำลายโดยตรง - ใช้น้ำหมักจากต้นหนอนตายหยาก โดยการนำหัวของต้นหนอนตายหยากมาบดหรือสับเป็นชิ้นเล็ก ๆ ในปริมาณ ๑ กิโลกรัม แช่น้ำ ๒๐ ลิตร นาน ๔๔ ชั่วโมง จากนั้นกรองเอาเฉพาะน้ำ นำไปฉีดพ่น ในอัตราส่วน น้ำหมักต้นหนอนตายหยาก ๕๐ - ๑๐๐ ชซี .ี ตอ่ นำ้ ๒๐ ลติ ร ฉดี พน่ ใหท้ ว่ั ทรงพมุ่ ทกุ ๓ - ๕ วนั

๑๘ การเกบ็ เกีย่ วผลผลิต สามารถเก็บผลผลิตโหระพาได้ เมื่อมีอายุประมาณ ๓๐ วัน โดยใช้มีดคมๆ หรือกรรไกรตัดกิ่ง ตัดต้น หรือก่ิงให้ห่างจากส่วนยอดลงมา ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เชนติเมตร ไม่ควรใช้มือเด็ด เพราะอาจจะทำให้กิ่ง และ ใบซ้ำง่าย หรือบางครั้งอาจทำให้ต้นถอนได้ ควรทยอยเก็บจากกิ่งที่อยู่ด้านล่างก่อน และทยอยเก็บเป็นช่วง ๆ ควรตัดช่อดอกออกเพื่อใหต้ ้นโหระพาแตกใบออกมาเร่ือย ๆ การปล่อยให้โหระพาออกดอกจนแก่คาต้นจะให้อายุ การเก็บเก่ียวสัน้ ลง การเก็บเกีย่ วทำได้ทกุ ๆ ๑๕ วัน จนอายุได้ ๗ - ๘ เดือน ผลผลิตจะเริ่มลดลง จึงควรถอนตน้ โหระพาออกแล้วเรม่ิ ปลกู ใหม่ ภาพท่ี ๑๒ การเก็บเก่ยี วผลผลติ

๑๙ ประโยชน์ของโหระพา ประโยชน์ด้านโภชนาการ ในผักโหระพานั้น มีวิตามินและสารอาหารที่สำคัญ ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินบีหนึ่ง วิตามินบีสอง และ วิตามินซี แคลเซียม ฟอสฟอรัส ธาตุเหล็ก คาร์โบไฮเดรต พร้อมด้วยโปรตีน และไขมัน โหระพานั้น เป็นผักที่ค่อนข้างกลิ่นแรง แต่โหระพาก็เป็นเครื่องปรุง ที่สำคัญในเมนูของอาหารไทยมานานแล้ว รวมทั้ง ยังมีสรรพคุณทางยามากกว่าที่เราเคยรู้จักกัน ดังนั้นโหระพาจึงมักจะเป็นผักชูรส และเป็นส่วนประกอบ ในเมนอู าหารตา่ ง ๆ เชน่ แกงเผด็ แกงเขยี วหวาน ก๋วยเตย๋ี วเรอื หรือรบั ประทานเปน็ ผักสดกไ็ ด้ ไนอะซิน ๐.๘ มิลลกิ รัม คารโ์ บไฮเดรต ๕.๔ กรมั โปรตีน ๓.๓ กรมั เส้นใย ๓.๙ กรมั ไขมนั ๑ กรัม แคลเซยี ม ๑๖๕ มลิ ลกิ รมั โหระพา ๑๐๐ กรัม (๑ขีด) จะให้พลงั งาน ๔๔ กิโลแคลอร่ี ฟอสฟอรสั ๔๖ มิลลกิ รัม วติ ามินซี ๒๒ มิลลกิ รัม ธาตุเหล็ก ๒.๘ มิลลกิ รมั วิตามนิ บี ๑ ๙.๑๒ มิลลกิ รัม เบต้าแคโรทนี ๔๕๒.๑๖ ไมโครกรมั วิตามนิ บี ๒ ๙.๑๖ มลิ ลิกรัม

๒๐ ประโยชน์ทางยา ลำต้น ใช้ลำต้นสด ประมาณ ๖ - ๑๐ กรัม นำมาต้มน้ำกินเป็นยาแก้ปวด แก้หวัดปวดกระเพาะอาหาร ท้องเสีย เสียดแน่นท้อง ทำให้เจริญอาหาร ขับเหงื่อ ขับเสมหะ ชับลม บรรเทาอาการปวดศีรษะ ปวดข้อ หรือบด ให้ละเอียด ค้ันเอาน้ำทา พอกแผลฟกชำ้ หนองเร้ือรงั แกพ้ ิษถูกงกู ัด แมลงสตั ว์กัดตอ่ ย เปน็ กลากเกลอ้ื น เมล็ด เมลด็ แห้งต้มหรือแช่นำ้ กนิ เปน็ ยาระบาย หรือใช้แกโ้ รคตาแดงมีข้ตี ามาก ราก รากสุดหรือรากแห้ง เผาไฟให้เป็นเถ้า บดให้ละเอียดใชพ้ อก บริเวณที่เป็นแผลเรื้อรัง แผลมีหนอง ภาพที่ ๑๓ ลำต้น เมล็ด รากโหระพา

เป็นอย่างไรบา้ งคะ น้องผกั บงุ้ ๒๑ พอจะเขา้ ใจและนำไปรายงาน เยย่ี มมากเลยครับพีส่ ้มโอ หนา้ ชั้นได้ไหมคะ ผกั บงุ้ ได้เห็นของจรงิ และ ไดฟ้ งั พอ่ี ธบิ าย ผักบ้งุ มีความ มน่ั ใจขึน้ เยอะเลยครับ ไดส้ ิคะนอ้ งผักบ้งุ น้องเจมส์ ถา้ หากผักบ้งุ พดู รายงานหน้า พี่ยินดีมากเลยค่ะ ช้ันเรียบร้อยแลว้ เจมสแ์ ละ ผักบงุ้ จะมาปลกู โหระพากบั พๆ่ี ได้ไหมครบั

๒๒ ใบมอบหมายกิจกรรมที่ ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ เร่อื ง การปลูกโหระพา คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นรว่ มกันศึกษาและวเิ คราะห์เนอื้ หาความรเู้ กยี่ วกบั การปลูกโหระพา แล้วเขยี นบันทึกลงในชอ่ งว่าง พรอ้ มระบายสีภาพโหระพาให้สวยงาม การปลกู โหระพา การขยายพันธุ์พืช อปุ กรณ์ในการปลกู ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... การเตรียมดนิ การเกบ็ เกีย่ วผลผลิต ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ..................................................................... ประโยชน์โหระพา ..................................................................... ..................................................................... การเตรียมดนิ ..................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................................. ..................................................................... ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. ............................................................................................................................................. .............................................................................................................................................

๒๓ ใบมอบหมายกจิ กรรมที่ ๒ กลุ่มสาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ข้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ เร่ือง การปลกู โหระพา คำช้ีแจง ให้นักเรยี นแบง่ กลุ่ม กลมุ่ ละ ๔ คน วางแผนการปลูกโหระพา การเตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ์การเตรียมดนิ การปลกู การดูแลรกั ษา และการเกบ็ เก่ยี วผลผลิต แล้วเขียนขั้นตอนการปลกู โหระพาเปน็ แผนภาพความคิด ชอื่ กลมุ่ ......................................................................................... สมาชกิ กลุม่ ๑. ชื่อ............................................................................................ หวั หนา้ กลมุ่ ๒. ชือ่ ............................................................................................ รองหวั หน้ากลมุ่ ๓. ชือ่ ............................................................................................ สมาชกิ ๔. ชือ่ ............................................................................................ สมาชกิ แผนภาพความคิดแบบขัน้ บนั ได ข้ันตอนการปลกู โหระพา ๑.๓ ๑. การเพาะกลา้ ย้ายปลูก ๑.๒ ๒. การปักชำ ๑.๑ ๒.๒ ๒.๑

๒๔ ใบมอบหมายกิจกรรมที่ ๓ กล่มุ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชีพ ข้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ เรื่อง การปลกู โหระพา คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั ิกจิ กรรมต่อไปนี้ ๑. ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ (กลุม่ เดมิ ) กลมุ่ ละ ๔ คน ๒. ให้แต่ละกลุ่มรว่ มกนั วางแผน ปลกู โหระพาในกระถางทก่ี ำหนดให้ ๓. เตรียมวัสดอุ ุปกรณใ์ นการปลกู ให้ครบถว้ น ๔. ปฏิบัตกิ ารปลูก ดูแลรักษา และเก็บเกยี่ วผลผลติ ใหถ้ กู ต้องตามขน้ั ตอน ๕. เขยี นบนั ทกึ และรว่ มกันสรุปผลการปฏิบัติกิจกรรม แล้วนำเสนอผลงาน ชอื่ กลมุ่ .................................................................................. สมาชิกกลมุ่ ๑. ชื่อ..................................................................................................... หวั หนา้ กลุ่ม ๒. ชื่อ..................................................................................................... รองหวั หน้ากลุ่ม ๓. ช่อื ..................................................................................................... สมาชกิ ๔. ช่อื ..................................................................................................... สมาชกิ

๒๕ แบบบันทกึ ใบมอบหมายกิจกกรมท่ี ๓ กิจกกรมการปลกู โหระพา กลมุ่ สาระการเรียนรูก้ ารงานอาชีพ ขนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ คำชี้แจง ให้นกั เรยี นเตรียมการปฏิบัติกจิ กรรมและบนั ทึกผลลงในตาราง ตารางบันทกึ การปฏิบัตกิ จิ กรรมการปลกู โหระพา ลำดับท่ี วันท่ีปฏบิ ัติ รายการที่ปฏิบตั ิ ผทู้ ่ีรับผดิ ชอบ หมายเหตุ ......................... .................... ๑ .......................... เตรยี มวสั ดุอุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการปลกู .......................... ไดแ้ ก่........................................................................ ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... ๒ .......................... วิธกี ารขยายพันธ์ุ คอื ................................................ ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... ๓ .......................... วิธีการเตรียมดนิ ....................................................... ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... ๔ .......................... วธิ กี ารปลูก............................................................... ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... .................... .......................... ................................................................................. ......................... ....................

๒๖ ตารางบนั ทกึ การปฏิบัตกิ จิ กรรมการปลูกโหระพา ลำดับท่ี วนั ท่ปี ฏิบัติ รายการปฏิบตั ิ ผูท้ ีร่ บั ผิดชอบ หมายเหตุ ๕ ......................... .................... ........................ วธิ ีการดแู ลรกั ษา.................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ การเกบ็ เกี่ยวผลผลิต............................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ๖ ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ปัญหาและอุปสรรคท่ีพบในระหว่างการปฏบิ ัติ ......................... .................... ........................ กิจกรรม................................................................. ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ๗ ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... ....................

๒๗ ตารางบนั ทึกการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมการปลูกโหระพา ลำดับท่ี วนั ที่ปฏบิ ตั ิ รายการปฏิบตั ิ ผ้ทู ่รี บั ผิดชอบ หมายเหตุ ๘ ......................... .................... ........................ การแก้ปญั หาและอุปสรรคในระหว่างปฏิบัติ ......................... .................... ......................... .................... ........................ กิจกรรม................................................................. ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ ............................................................................... ........................ วิธปี ฏิบตั ิที่ช่วยให้ประหยดั พลังงานและ ......................... .................... ........................ ทรัพยากรธรรมชาตใิ นการปลกู คร้ังน้ี คอื ............... ......................... .................... ๙ ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ สรปุ ผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรม..................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ๑๐ ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... .................... ........................ ............................................................................... ......................... ....................

๒๘ แบบฝึกหดั กล่มุ สาระการเรยี นรกู้ ารงานอาชีพ ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ เร่ือง การปลูกโหระพา ชอื่ ............................................................................. เลขที่...................... ชนั้ ................... คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนเขียนเคร่อื งหมาย √ ในชอ่ งว่างหนา้ ข้อทถ่ี ูกตอ้ งและเครอ่ื ง x ลงในช่องวา่ งหน้าข้อท่ผี ิด ............ ๑. ก่อนการยา้ ยต้นกล้าตอ้ งรดน้ำท้งิ ไวอ้ ยา่ งนอ้ ย ๓๐ นาที ............ ๒. การปักชำโหระพา ควรตดั ก่ิงท่โี ตเต็มท่ยี าวประมาณ ๕ - ๑๐ เชนตเิ มตร ............ ๓. โหระพาเป็นผักในกลมุ่ ไม้พ่มุ ขนาดกลาง สูง ๑๒๐ - ๑๕o เชนติเมตร ............ ๔. โหระพาเปน็ ผกั ที่เหมาะในการทำเปน็ เครอ่ื งปรงุ อาหารต่าง ๆ ............ ๕. การเด็ดดอกโหระพาท้ิงบอ่ ย ๆ จะทำให้อายกุ ารเกบ็ เกี่ยวส้ันลง ............ ๖. เมือ่ ต้นกลา้ โหระพามอี ายุ ๓๐ - ๓๕ วัน ให้เร่ิมทำการย้ายปลูก ............ ๗. โรคเห่ียวทำใหโ้ หระพามใี บสีดำ และเห่ียวตาย ............ ๘. โหระพาเปน็ ผักสวนครวั ที่ปลูกได้ทั้งเมล็ดและการปักชำ ............ ๙. การเก็บเกยี่ วโหระพาควรตัดต้นหรือกิ่งให้หา่ งจากสว่ นยอดลงมา ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เชนติเมตร .......... ๑๐. โหระพา มวี ติ ามนิ และสารอาหารที่สำคัญ เช่น วติ ามินเอ วติ ามนิ บี ๒ วิตามนิ ซี

๒๙ แบบทดสอบหลังเรยี น คำช้แี จง ให้นกั เรยี นทำเครื่องหมาย X ทับขอ้ ท่ถี ูกต้องท่ีสดุ ๑. ป้ยุ ในข้อใดเรยี กวา่ ปุ๋ยแอมโมเนียมซลั เฟต ก. ป๋ยุ สูตร ๔๖ - ๐ -๐ ข. ปุย้ สตู ร ๒๑ -๐ -๐ ค. ปุ้ยสูตร ๑๕ - ๑๕ - ๑๕ ง. ปุ๋ยสตู ร ๑๖ - ๑๖ - ๑๖ ๒. การนำเมลด็ โหระพาไปคลุกกับทรายละเอียดก่อนหวา่ นลงในแปลงปลูกจะเกิดผลอย่างไร ก. ชว่ ยใหด้ นิ ระบายนำ้ ไดด้ ขี นึ้ ข. ช่วยรักษาความชมุ่ ช้ืนให้กับดิน ค. ทำใหเ้ มลด็ กระจายตัวสม่ำเสมอ ง. ป้องกันไมใ่ หเ้ มล็ดวัชพชื งอกมาก่อน ๓. ข้อใดเปน็ สว่ นผสมของดนิ ทเ่ี หมาะในปลูกโหระพาในกระถาง ก. ดนิ ร่วน ๒ ส่วน/ทราย ๑ สว่ น/ขุยมะพร้าว ๑ สว่ น/ปุย๋ คอก ๑ สว่ น ข. ดนิ ร่วน ๑ สว่ น/ทราย ๒ ส่วน/ขุยมะพร้าว ๑ ส่วน/ปุ๋ยคอก ๑ สว่ น ค. ดนิ รว่ น ๑ สว่ น/ทราย ๑ ส่วน/ขยุ มะพรา้ ว ๒ ส่วน/ปุ๋ยคอก ๑ สว่ น ง. ดินร่วน ๑ ส่วน/ทราย ๑ สว่ น/ขุยมะพร้าว ๑ สว่ น/ปุ๋ยคอก ๒ สว่ น ๔. การรดนำ้ โหระพาท่ีปลูกในกระถาง กับการปลูกในแปลง มคี วามแตกต่างกันหรอื เหมือนกนั อย่างไร ก. เหมอื นกนั เพราะต้องมีการรดนำ้ ทุกวัน วนั ละ ๒ คร้ัง ข. เหมอื นกัน เพราะตอ้ งมกี ารรดน้ำ ๓ - ๕ ครงั้ ต่อสัปดาห์ ค. ต่างกัน เพราะการปลูกในแปลงตอ้ งมกี ารรดน้ำทกุ วนั วันละ ๒ คร้ัง ง. ต่างกัน เพราะการปลูกในกระถางตอ้ งมกี ารรดนำ้ ทกุ วัน วนั ละ ๒ ครั้ง ๕. ถ้าต้องการจะตกั ดินใส่กระถาง นกั เรียนควรจะเลือกอุปกรณ์ในข้อใดจงึ จะเหมาะสมทส่ี ุด ก. จอบ ข. เสยี ม ค. ชอ้ นปลกู ง. ส้อมพรวนดนิ

๓๐ ๖. แมลงในขอ้ ใดเป็นสาเหตทุ ำใหใ้ บโหระพาหงกิ งอและเห่ียวแหง้ ตน้ แคระแกรน ก. ตกั๊ แตน ข. เพลีย้ ไฟ ค. หนอนคืบ ง. แมลงหว่ขี าว ๗. อาการทใี่ บโหระพาเป็นแผลมนี ำ้ และเมือกคอ่ ยๆ ขยายใหญ่ลุกลามไปทัว่ เกิดจากสาเหตุใด ก. โรคใบจุด ข. โรคใบเหีย่ ว ค. โรคใบเน่า ง. โรครานำ้ คา้ ง ๘. เมล็ดแหง้ ของโหระพามปี ระโยชน์อยา่ งไร ก. เป็นยาระบายช่วยในการขบั ถ่าย ข. ช่วยขบั ลมในกระเพาะอาหาร ค. บรรเทาอาการปวดศีรษะ ง. บรรเทาอาการปวดข้อ ๙. การปลอ่ ยใหโ้ หระพามีดอกจนแก่คาต้นจะสง่ ผลอย่างไร ก. ทำให้ต้นแก่ชา้ แตกใบมาก ข. ทำให้ต้นแกเ่ รว็ แตกใบน้อย ค. ทำใหต้ ้นเจริญเติบโตดี มีอายุยนื ง. ทำให้ตน้ เจรญิ เตบิ โตดี แตกใบมาก ๑๐. ใครปฏบิ ตั ิได้ถกู ตอ้ งในการเก็บเกยี่ วผลผลติ ต้นโหระพา ก. ปอนดเ์ ก็บโหระพาทุก ๆ ๑ - ๓ วนั ข. ปุ้ยทยอยเก็บโหระพาจากก่ิงที่อยู่ด้านบนกอ่ น ค. เปย๊ี กใช้มือเด็ดยอดโหระพาใส่ถุงไปขายที่ตลาด ง. ปอ้ มถอนต้นโหระพาท่มี ีอายุ ๘ เดอื นออกแล้วเริม่ ปลกู ใหม่

๓๑ เฉลยแบบทดสอบ แบบทดสอบกอ่ นเรียน แบบทดสอบหลังเรียน ๑. ค ๑. ข ๒. ก ๒. ค ๓. ง ๓. ก ๔. ค ๔. ง ๕. ข ๕. ค ๖. ก ๖. ง ๗. ข ๗. ค ๘. ง ๘. ก ๙. ง ๙. ข ๑๐.ง ๑๐.ง

๓๒ ตัวอยา่ งคำตอบ ใบมอบหมายกจิ กรรมท่ี ๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้การงานอาชีพ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ เรอ่ื ง การปลูกโหระพา คำชแ้ี จง ใหน้ ักเรียนร่วมกนั ศึกษาและวเิ คราะห์เนื้อหาความรเู้ ก่ียวกับการปลกู โหระพา แล้วเขยี นบันทกึ ลงในชอ่ งวา่ ง พรอ้ มระบายสีภาพโหระพาให้สวยงาม การปลูกโหระพา การขยายพนั ธพ์ุ ชื อปุ กรณใ์ นการปลูก ๑. เพาะเมล็ด ดินปลูก กระถาง จอบ เมล็ดพนั ธุ์ ๒. ปักชำ กิง่ พนั ธุ์ ปุ๋ย บัวรดน้ำ เสยี ม ป๋ยุ เร่งการเจรญิ เตบิ โต การเตรยี มดนิ การเตรียมดินในแปลง ปลูก การเก็บเกี่ยวผลผลิต ขุดดินตากแดดรอบละ ๕-๗ วัน ใช้มีดคม ๆ หรือกรรไกร ตัดก่ิง ใส่ปุ๋ยคอกอัตรา ๒-๓ ถุง/แปลง ให้ห่างจากส่วนยอดลงมา การเตรียมดินร่วน ๒ ส่วน ทราย ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนติเมตร ๑ ส่วน ขุยมะพร้าว ๑ ส่วน ไมค่ วรใชม้ ือเดด็ เก็บเก่ยี วไดท้ ุก ๆ ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก ๑ ส่วน ๑๕ วนั ใช้ช้อนปลูกตักดินใส่ลงไปเกือบ เต็มกระถาง กดดินให้พอแน่น ปรับดินในกระถางให้เรียบ การเตรียมดิน ประโยชนโ์ หระพา ๑. การปลูกโดยวธิ หี วา่ นเมลด็ ลงในแปลงปลูก หว่านเมลด็ กระจายทว่ั แปลง มีสารอาหารทส่ี ำคญั เช่น วิตามินเอ เกล่ยี หน้าดนิ บาง ๆ คลุมด้วยฟาง รดนำ้ ให้ชุ่ม วิตามินบี วิตามินซี ฟอสฟอรัส เป็น่ ๒. การปลูกโดยวธิ กี ารยา้ ยตน้ กลา้ หวา่ นเมล็ดให้กระจายทั่วกระบะเพาะคลุม ส่วนประกอบในเมนูอาหารต่าง ๆ ด้วยฟางรดนำ้ ทนั ที เมื่ออายไุ ด้ ๒๐-๒๕ วนั จงึ ทำการยา้ ยปลูก และมีประโยชน์ทางยา ๓. การปลูกโดยการปักชำ ตดั ก่ิงทโ่ี ตเต็มที่ยาวประมาณ ๕-๑๐ ซม. ปลิดใบออก ใหห้ มดปกั ชำในกระถาง ประมาณ ๓-๔ กง่ิ /กระถาง แล้วรดน้ำให้ชมุ่

๓๓ ตวั อยา่ งคำตอบ ใบมอบหมายกจิ กรรมท่ี ๒ กลุม่ สาระการเรียนรกู้ ารงานอาชพี ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ เรอื่ ง การปลูกโหระพา คำชแ้ี จง ให้นักเรยี นแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ ๔ คน วางแผนการปลกู โหระพา การเตรียมวัสดุอุปกรณ์ การเตรยี มดิน การปลกู การดูแลรักษา และการเกบ็ เก่ยี วผลผลติ แล้วเขียนขนั้ ตอนการปลูกโหระพาเป็นแผนภาพความคดิ ชื่อกล่มุ ........................................................................................... สมาชิกกลมุ่ ๑. ชอ่ื ............................................................................................... หวั หนา้ กลมุ่ ๒. ชือ่ ............................................................................................... รองหัวหน้ากลุม่ ๓. ชื่อ............................................................................................... สมาชิก ๔. ช่ือ............................................................................................... สมาชิก แผนภาพความคดิ แบบข้นั บันได ขน้ั ตอนการปลูกโหระพา ๑.๔ หาเศษฟางหรือหญ้าแหง้ มาคลุม เพอ่ื ชว่ ยรกั ษาความช้นื และรดน้ำตามทันที ๑.๓ เมอ่ื อายุได้ ๒๐ - ๒๕ วัน รดน้ำท้ิงไว้ ๓๐ นาที จึงย้ายต้นกล้าไปปลูก ๑.๒ คลุมดว้ ยเศษฟางหรอื หญา้ แหง้ บาง ๆ แล้วอรดนำ้ ใหช้ ุ่ม ๑.๑ หว่านเมล็ดใหก้ ระจายทัว่ กระบะเพาะ กลอบเมล็ดดว้ ยดินปลูกบาง ๆ อ ๑. การเพาะกล้าย้ายปลูก ๒.๒ ตัดก่งิ ที่โตเตม็ ทย่ี าวประมาณ ๕ - ๑๑ เซนตเิ มตร แล้วปลิดใบออกใหห้ มดนำไป ปักชำในกระถางหรือภาชนะ ประมาณ ๓ - ๔ ก่งิ ตอ่ กระถาง แล้วรดนำ้ ใหช้ ุ่ม ๒.๑ เตรียมดนิ ตามขัน้ ตอนการเตรียมตนิ ปลกู ในกระถางหรือภาชนะ อ ๒. การปักขำ

๓๔ เฉลยแบบฝึกหดั กลุม่ สาระการเรยี นร้กู ารงานอาชีพ ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ เรือ่ ง การปลกู โหระพา ชอ่ื ............................................................................................... เลขท.ี่ ....................... ช้นั .......................... คำชี้แจง ให้นักเรยี นเขียนเคร่อื งหมาย √ ลงในชอ่ งว่างหน้าข้อทถ่ี กู ต้องและเครอื่ งหมาย X ลงในชอ่ งวา่ งหน้าข้อทผ่ี ดิ √ ๑. ก่อนการย้ายต้นกล้าต้องรดนำ้ ทง้ิ ไว้อยา่ งน้อย ๓๐ นาที √ ๒. การปกั ชำโหระพา ควรตัดกิ่งท่โี ตเต็มท่ียาวประมาณ ๕ - ๑๐ เชนตเิ มตร X ๓. โหระพาเปน็ ผกั ในกลุม่ ไมพ้ มุ่ ขนาดกลาง สงู ๑๒๐ - ๑๕๐ เชนติเมตร √ ๔. โหระพาเปน็ ผกั ท่ีเหมาะในการทำเป็นเครื่องปรงุ อาหารตา่ ง ๆ X ๕. การเด็ดดอกโหระพาท้ิงบ่อย ๆ จะทำใหอ้ ายุการเกบ็ เกยี่ วสน้ั ลง X ๖. เมื่อตน้ กล้าโหระพามอี ายุ ๓๐ - ๓๕ วัน ให้เร่ิมทำการย้ายปลกู √ ๗. โรคเหย่ี วทำใหโ้ หระพามีใบสดี ำ และเหย่ี วตาย √ ๘. โหระพาเป็นผกั สวนครัวทีป่ ลูกได้ทัง้ เมล็ดและการปกั ชำ √ ๙. การเกบ็ เก่ียวโหระพาควรตัดต้นหรือก่ิงให้ห่างจากสว่ นยอดลงมา ประมาณ ๑๐ - ๑๕ เซนตเิ มตร √ ๑๐. โหระพา มวี ิตามินและสารอาหารท่ีสำคญั เช่น วติ ามนิ เอ วิตามินบี ๒ วิตามนิ ซี

๓๕ บรรณานุกรม คมสนั หตุ ะแพทย์. คู่มอื เกษตรพอเพยี ง. กรงุ เทพฯ : บริษทั ออฟเทพลัส จำกัด, ๒๕๕๗ ครรชติ แสงกระจา่ งวงศ์. คูม่ อื การผลติ ผักปลอดสารพิษ. กรงุ เทพฯ: บริษทั ธนธัชการพมิ พ์ จำกัด, ๒๕๕๕. จริ วัฒน์ ภู่เสรมิ ภูม.ิ ผักกนิ ใบ. กรงุ เทพฯ : บริษทั ธนธชั การพมิ พ์ จำกดั , ๒๕๕๓. ชำนาญ เขียวอำไพ. คมู่ ือการปลกู ผกั . กรุงเทพฯ : บรษิ ทั ธนธชั การพมิ พ์ จำกดั , ๒๕๕๗ ชดิ พงษ์ กววี รวฒุ .ิ ปลูกผักไร้สารพิษ. กรงุ เทพฯ : สำนกั พมิ พ์ เอ็มไอเอส, ๒๕๕๖. พจน์ อินทรนนท.์ ปลูกผักกนิ เอง. นนทบุรี : สำนกั พิมพค์ อรฟ์ ังก์ชนั่ , ๒๕๕๘ พฤกษ์ นิมิตพรอนันต.์ กนิ ผกั ๑๐๗ ชนดิ ชะลอวัย ปลอดโรค อายุยืน. กรงุ เทพฯ : บริษทั พลินบุ๊คเน็ต จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๒. มณฑา ลิมปิยประพนั ธ.์ หลักพืชกรรม. กรุงเทพฯ : บรษิ ัท ซีเอ็ดยูเคช่ัน จำกัด(มหาชน), ๒๕๕๖ สำนักพมิ พ์บา้ นและสวน. Pocket garden สวนสวยกนิ ได้. กรงเทพฯ : อมรนิ ทร์พร้นิ ต้งิ แอนด์พบั ลชิ ชิ่ง จำกดั (มหาชน), ๒๕๕๘.