Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน 2021 07

แนวทางการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน 2021 07

Published by paorumpai.dpm, 2021-08-04 05:10:54

Description: แนวทางการจัดตั้งศูนย์แยกกักตัวในชุมชน 2021 07

Search

Read the Text Version

แนวทางการจัดต้งั ศูนย์แยกกักตัวในชุมชน (Community Isolation) กรณกี ารระบาดโรคตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ ฉบบั ที่ 1 22 กรกฎาคม 2564 1

คาํ แนะนาํ ฉบบั นี้เปน็ เพยี งแนวทางในการ จดั ตงั้ ศูนยแ์ ยกกักตัวในชมุ ชนเบ้อื งตน้ ท้งั นี้ใหผ้ ู้บริหารจัดการศนู ย์แยกกกั ตัวในชมุ ชน พิจารณาตามความ เหมาะสมและความเปน็ ไปไดข้ องบริบทพืน้ ทรี่ ่วมดว้ ย 2

แนวทางการจดั เตรียมศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชุมชน แนวทางฉบบั น้ี จดั ทําขนึ้ เพื่อเปน็ ขอ้ แนะนําสาํ หรบั การจดั สถานท่ีในการดูแลรักษาผ้ปู ่วย COVID-19 ทม่ี ี จํานวน มากและเพ่ิมขึน้ อยา่ งรวดเร็วเกินขีดความสามารถของโรงพยาบาลและโรงพยาบาลสนามในการรับดแู ลรกั ษาผู้ปว่ ย ไว้ได้ เรียกวา่ “ศูนย์แยกกักตวั ในชุมชน” คาํ จาํ กดั ความ “ศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชมุ ชน” หมายถึง สถานทีใ่ หก้ ารดแู ลรกั ษาพยาบาลซ่ึงเกินศกั ยภาพการจัดระบบบรกิ าร ใน การรองรบั ผ้ปู ว่ ย โดยมเี ปา้ หมายในการจัดการผูต้ ิดเชือ้ ในชุมชนจาํ นวนมาก โดยอาศยั การจัดระบบการดแู ลรักษา ในชุมชนเพอ่ื การวนิ ิจฉัยไดเ้ ร็ว ลดการเสียชีวติ และลดการแพร่ระบาดในชมุ ชน ทัง้ น้กี ารจดั ต้งั จะตั้งนอก สถานพยาบาล ขึ้นกบั การดาํ เนินการของหนว่ ยงานทร่ี ับผดิ ชอบในพนื้ ที่ เช่น วดั โรงเรียน โรงยมิ หอประชมุ ขนาด ใหญ่ หรอื แคมป์คนงานกอ่ สรา้ ง เป็นต้น การคดั เลือกสถานทข่ี ้นึ อยู่กบั วัตถุประสงค์ของการจดั ต้งั ความต้องการของชมุ ชน และทรพั ยากรดา้ น สาธารณสุข ท่ีมอี ยู่ เพื่อใหก้ ารดูแลรกั ษาผปู้ ว่ ย COVID-19 ในสภาวการณ์ทีม่ ีการระบาดได้รบั การดแู ลรกั ษาอยา่ ง ปลอดภัย ผู้รบั ผิดชอบหลักในการดาํ เนนิ การจัดต้งั คือ อาจเป็นหน่วยงานภาครัฐท่ไี ด้รบั มอบหมาย เชน่ สํานักงานเขต ทง้ั 50 เขตของกรงุ เทพมหานคร ผวู้ า่ ราชการจงั หวัด หรือผู้ทไี่ ด้รับมอบหมาย ร่วมกับสาํ นกั งานสาธารณสขุ จงั หวัด สาํ นกั งานป้องกนั และบรรเทาสาธารณภยั (ปภ.) จังหวัด หนว่ ยงานภาคประชาสงั คม มูลนธิ ิ ภาคเอกชน คณะสงฆ์ หรือหนว่ ยงานอืน่ ๆ ทป่ี ระสงคเ์ ปน็ ผจู้ ัดการศูนย์แยกกักตัวในชุมชน การบรหิ ารจดั การศูนย์แยกกักตัวในชมุ ชน การจัดตง้ั ศูนย์แยกกกั ตัวในชุมชนเป็นการบูรณาการความร่วมมือของหนว่ ยงานในพ้ืนท่ตี ั้งเป็นหลัก โดยใน สถานการณว์ กิ ฤตเช่นน้ี ไมจ่ าํ เป็นตอ้ งเปน็ การดาํ เนินงานโดยภาครฐั เทา่ น้นั ดงั นั้นในพ้ืนทหี่ นงึ่ อาจมีศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชุมชนท่ีมีผบู้ รหิ ารจดั การเปน็ สํานกั งานเขตพืน้ ที่ (สนง. เขต) หรือ องค์การบริหารสว่ นทอ้ งถน่ิ (อปท.) ในพน้ื ที่ ต่างจงั หวดั รวมทง้ั อาจริเริ่มจากความตอ้ งการของมลู นธิ ิ ประชาชน ภาคประชาสงั คม ท่รี ว่ มมอื กับองค์กรภาครัฐ ได้เชน่ กนั โดยหนว่ ยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งในการสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งานในแตล่ ะด้านของ ศนู ย์แยกกกั ตัวในชมุ ชนได้ แสดงไวด้ ังตารางท่ี 1 อยา่ งไรกต็ ามการดาํ เนินงานเรือ่ ง ศนู ยแ์ ยกกักตวั ในชุมชน จาํ เป็นตอ้ งมสี ถานพยาบาล คสู่ ญั ญาที่จะชว่ ยประเมนิ ผู้ปว่ ยผ่านระบบการแพทยท์ างไกล หรอื Telemedicine และรับสง่ ตอ่ ผ้ปู ว่ ยกรณีที่มี อาการรนุ แรงมากขน้ึ ซึง่ ประสานงานลว่ งหน้าไว้กบั สถานพยาบาลคู่สัญญาหรอื สาํ นกั การแพทยฉ์ กุ เฉิน 3

ตารางที่ 1 หนว่ ยงานท่ีมหี นา้ ท่ีรับผิดชอบในการดาํ เนินงานศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชุมชน กรงุ เทพมหานคร ตา่ งจงั หวดั ภาคประชาสงั คม การบริหารจดั การภาพรวม สนง เขต/ สํานักการแพทย์/ อปท./ รพ.สต./ รพช./ ภาคประชาสงั คม/ กรม กรมการแพทย์/ กรมอนามยั สสจ./ ศูนย์อนามยั เขต อนามัย การดูแล รบั -ส่งผปู้ ่วย สนง เขต/ สาํ นกั การแพทย/์ อปท./ รพช./ รพ.สต. ภาคประชาสงั คม/ สํานกั กรมการแพทย์/ สพฉ./ ภาค การแพทย์/ กรมการ ประชาสงั คม แพทย์/ สพฉ. การรักษาความปลอดภยั สนง เขต/ ตํารวจ/ ตาํ รวจ อปท./ ฝา่ ยปกครอง/ ภาคประชาสงั คม/ ตํารวจ/ อาสา/ ภาคประชาสังคม อพปร. ตํารวจอาสา/ อพปร. การจดั หาอาหารสําหรบั สนง เขต/ สํานกั การแพทย์/ อปท./ รพช./ รพ.สต./ ภาคประชาสงั คม/ สนง เจ้าหนา้ ที่/ผูป้ ว่ ย เขต/ อปท./ ภาคประชาสังคม ภาคประชาสังคม การจัดการมลู ฝอยติดเชือ้ / สนง เขต/ จา้ งบรษิ ัทเอกชน/ อปท./ จ้างบรษิ ทั เอกชน/ ภาคประชาสงั คม/ สนง กรมอนามยั ศูนยอ์ นามยั เขต สงิ่ ปฏกิ ลู / การจดั การนา้ํ เขต/ อปท./ จา้ ง เสยี และสุขาภบิ าล บริษัทเอกชน/ กรมอนามยั การจัดการมลู ฝอยท่ัวไป สนง เขต อปท. สนง เขต/ อปท. (ตา่ งจังหวดั ) การประชาสมั พันธ์ /ยอมรับ สนง เขต/ ผู้นําชุมชน/ ผูน้ าํ อปท./ รพช./ ผู้นาํ ภาคประชาสังคม/ ผนู้ าํ ชุมชน/ ผู้นําศาสนา จากชุมชน ศาสนา/ ภาคประชาสงั คม ชมุ ชน/ ผู้นาํ ศาสนา ศนู ยค์ วามร่วมมือภาครฐั และประชาสังคมเพอ่ื ผปู้ ่วยโควดิ 19 ศูนยค์ วามรว่ มมือภาครฐั และประชาสงั คมเพ่ือผปู้ ่วยโควดิ 19 ดาํ เนนิ การโดย กรมอนามัย โดยมหี นา้ ท่ีประสานงาน ภาคส่วนทเ่ี กี่ยวข้อง ทัง้ หนว่ ยงานภาครัฐ เช่น กรมการแพทย์ สํานกั งานปลดั กระทรวงสาธารณสุข (สป.สธ.) สํานัก การแพทย์และสํานกั อนามยั (สงั กัดกรงุ เทพมหานคร) สํานักงานหลักประกนั สขุ ภาพ แหง่ ชาติ (สปสช.) ทีเ่ ปน็ 4

หน่วยงานหลกั ในการบริหารจัดการผูป้ ว่ ย และหนว่ ยงานสนบั สนุนภาครัฐ อาทิ กรมควบคมุ โรค กรมสนบั สนนุ บรกิ ารสขุ ภาพ กรมสขุ ภาพจิต และ กรมการแพทย์แผนไทยฯ ในการสนับสนุนและประสานข้อมูลกับหนว่ ยงานท่ี ทําหน้าที่ในการจัดต้ังศนู ยแ์ ยกกักตวั ในชมุ ชน เช่น สํานกั เขตทัง้ 50 เขตของกรุงเทพมหานคร และภาคประชา สังคม ในพน้ื ที่กรุงเทพและปรมิ ณฑล และ องคก์ ารบรหิ ารส่วนท้องถ่ิน หรอื หนว่ ยงานทไ่ี ดร้ ับมอบหมายใน ต่างจังหวดั ผู้ทีเ่ กยี่ วขอ้ งกบั ศนู ย์ความรว่ มมอื ภาครฐั และประชาสงั คมเพอ่ื ผปู้ ่วยโควิด 19 แสดงไวใ้ นภาพที่ 1 สาํ หรับการดาํ เนนิ งานศนู ย์แยกกักตัวในชมุ ชนในต่างจงั หวัดอาจมีบรบิ ทที่แตกตา่ งกนั ดงั นน้ั ศนู ย์ความรว่ มมอื ภาครฐั และประชาสังคมในแตล่ ะจงั หวัดอาจประกอบดว้ ย คณะกรรมการระดบั จงั หวัดทีผ่ ูว้ า่ ราชการจงั หวัดแต่งตั้ง (เช่น คณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อ) องค์การบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สํานกั งานสาธารณสขุ จังหวัด นายอําเภอ ผนู้ ํา ชุมชน ภาคประชาสงั คม หรือจิตอาสา เป็นต้น ภาพที่ 1 หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วข้องกับศูนย์ความรว่ มมอื ภาครัฐและประชาสังคม การดําเนินงานของศนู ยค์ วามร่วมมือภาครฐั และประชาสังคมเพ่อื ผปู้ ่วยโควดิ 19 การดาํ เนนิ งานแบง่ ออกเป็น 3 ระยะ คือ กอ่ นเปิดศูนยแ์ ยกกักตวั ในชมุ ชน, ระหวา่ งการเปดิ ดาํ เนนิ การศูนยแ์ ยกกัก ตัวในชมุ ชน และ ประเมินผลการดาํ เนินการศนู ย์แยกกกั ตวั ในชุมชน ภาพสรุปของการดาํ เนินงานฯ แสดงไวใ้ นภาพที่ 2 5

กอ่ นเปิดศนู ย์แยกกกั ตวั ในชุมชน 1. ตดิ ตามข้อมูลจาํ นวนผตู้ ดิ เชอ้ื ในพื้นทผ่ี า่ นผนู้ ําชุมชน ภาคประชาสังคม ร่วมกบั หน่วยงานสาธารณสขุ ใน พน้ื ที่ โดยเฉพาะในเขตชุมชนแออดั เพ่ือวางแผนจดั ตง้ั ศูนยแ์ ยกกักตัวในชมุ ชนในพน้ื ที่ 2. เตรียมระบบสง่ ตอ่ กบั โรงพยาบาลค่สู ัญญาและระบบการแพทยท์ างไกล 3. ประเมนิ ความเหมาะสมของสถานที่ ประกอบด้วย ระบบระบายอากาศ ระบบสาธารณูปโภค ระบบ ระบายนํ้าเสีย ระบบการจดั การกบั สง่ิ ปฏกิ ลู ขยะมลู ฝอยติดเชื้อ และระบบสุขาภิบาล 4. สนับสนนุ อุปกรณท์ ีจ่ ําเป็นในการทําความสะอาด เช่น คลอรนี ชุดตรวจสอบนาํ้ ถงุ ขยะแดง 5. สือ่ สารความเข้าใจกับประชาชนในพ้ืนทีท่ จี่ ะจัดตั้ง 6. เตรยี มระบบบริหารจัดการเร่ืองอาหาร การทาํ ความสะอาด การขนส่ง ระหว่างการเปดิ ดําเนินการศนู ยแ์ ยกกกั ตัวในชมุ ชน 1. มรี ะบบลงทะเบียนรับผู้ปว่ ยเขา้ มาในศูนย์แยกกกั ตัวในชุมชน 2. ดําเนินการด้านการรักษาโดยระบบการแพทย์ทางไกล ตามแนวทางของกรมการแพทย์ 3. มีการดาํ เนินการเร่อื ง อาหาร ระบบระบายอากาศ ระบบสาธารณปู โภค ระบบระบายนํ้าเสีย ระบบการ จดั การกบั สิง่ ปฏิกูลและระบบสขุ าภิบาล ตามแนวทางการดาํ เนนิ งานศนู ยแ์ ยกกกั ตวั ในชุมชน 4. เฝา้ ระวงั เรือ่ งการรักษาความปลอดภยั บริเวณศนู ยแ์ ยกกกั ตัวในชุมชน 5. มีการส่งเสริมสขุ ภาพทุกกลุ่มวัยร่วมดว้ ย ทัง้ สุขภาพทางกายและสขุ ภาพทางจติ ประเมินผลการดําเนนิ การศนู ยแ์ ยกกักตัวในชมุ ชน 1. สามารถจัดการผตู้ ิดเชือ้ ไม่ใหเ้ ขา้ ไปปะปนในชมุ ชน หรือกลับกัน 2. เฝา้ ระวงั การปนเปื้อนของเช้ือเขา้ มาในชมุ ชน โดยเฉพาะเร่อื งการกําจดั น้าํ เสยี และการจดั การส่ิงปฏิกูล ขยะมูลฝอยตดิ เชอื้ 3. มีระบบการสง่ ต่อผปู้ ว่ ยทที่ ันท่วงที 4. มกี ารให้คาํ แนะนาํ และดแู ลเร่ืองการสง่ เสริมสขุ ภาพและสร้างความรอบรใู้ นการป้องกันตนเองและดูแล สขุ ภาพ บทบาทของกรมอนามัย 1. เป็นผ้ปู ระสานงานของ ศนู ยค์ วามร่วมมอื ภาครฐั และประชาสังคม 2. เตรยี มความพรอ้ มของทอ้ งถนิ่ / ชมุ ชน และหนว่ ยงานทเี่ กยี่ วข้องก่อนจดั ตง้ั ศูนย์แยกกกั ตวั ในชมุ ชน 3. ใหค้ วามร้เู ร่อื งการจดั การอนามัยสิ่งแวดลอ้ ม ส่ิงปฏกิ ูล มูลฝอยตดิ เชื้อ 6







• วิทยสุ ื่อสารแบบตง้ั เครอื ข่ายสถานี • วทิ ยุส่อื สารแบบMobile, Walky-talky • ระบบการแพทย์ทางไกล • ระบบสัญญาณอนิ เตอรเ์ น็ตและเครือขา่ ย • โทรโขง่ • ระบบเสยี งตามสาย 4. เครอ่ื งมือแพทย์ • เคร่ืองวัดความดนั โลหติ (ผูป้ ว่ ย /เจา้ หน้าท)่ี • ท่ีวัดอุณหภูมิ • เคร่อื งวดั ความอิ่มตวั ของออกซิเจนในกระแสเลือด (Pulse Oximeter) • อปุ กรณ์ช่วยฟ้นื คืนชีพ • เครื่องผลิตออกซิเจน (Oxygen concentrator) รว่ มกับถังออกซเิ จน และอปุ กรณ์ทีจ่ ําเป็นในการให้ ออกซเิ จนผู้ป่วย (ถา้ มี) • รถพยาบาลกรณีส่งต่อผปู้ ่วยฉกุ เฉินหรือเบอรโ์ ทรทรี่ บั ประสานงานกบั สถานพยาบาลค่สู ญั ญาแลว้ 5. อปุ กรณ์ปอ้ งกันส่วนบคุ คล • ชุดปอ้ งกันตวั PPE ตามความเสีย่ ง ไดแ้ ก่ level C, D (ถงุ มอื , หนา้ กาก N95, หน้ากากอนามัยทาง การแพทย์), หมวกคลุมผม, เส้อื กาวน,์ เฟซชลิ ด,์ และถุงหุ้มขา (leg cover)) • ชดุ กาวน์สําหรับการทาํ งานใหเ้ ปลย่ี นเขา้ ปฏบิ ัติงานในพนื้ ทเ่ี สยี่ ง • แอลกอฮอล์สําหรบั ล้างมอื 6. อุปกรณค์ วามปลอดภัย • ระบบกล้องวงจรปิด (CCTV) (ควรมี) • เทปกน้ั พ้นื ท่ี • กุญแจเพือ่ ปิดกนั้ พื้นท่ี (ตามความจําเปน็ และเหมาะสม) 7. อปุ กรณ์ดาํ รงชีพ • อาหาร-นา้ํ ดืม่ โดยมคี รบท้งั 3 ม้อื • อุปกรณง์ านครวั อาทิ จาน ชาม ช้อน ในกรณีทม่ี ีจดุ ทําครัวบริเวณใกล้เคียง • อุปกรณ์ และของใชป้ ระจาํ วนั พืน้ ฐานสาํ หรับผู้ปว่ ย (ที่ผ้ปู ่วยเตรยี มไวไ้ มเ่ พยี งพอ) อาทิ ผา้ อนามัย ชดุ ชัน้ ใน ผงซกั ฟอก สบู่ เปน็ ตน้ • อุปกรณส์ นั ทนาการ เพอื่ บรรเทาความเครียดให้กับผู้ปว่ ย ไดแ้ ก่ อุปกรณ์การกฬี า บอร์ดเกม หนังสือ อา่ นเลน่ โทรทศั น์ Netflix Disney Hotstar เปน็ ตน้ 10

8. ยาและเวชภณั ฑ์ (ปริมาณและประเภทตามความจําเป็นและเหมาะสม) • ยาสามัญประจําบา้ น • ฟ้าทะลายโจร • ยาลดความดันโลหติ ยาลดระดับไขมนั ในเลือด ยาลดระดับน้ําตาลในเลือด • ยารกั ษาโรคตดิ เช้อื ทางเดินหายใจ • ยาต้านการจบั ตัวของเกรด็ เลือด • Emergency bag • Antipsychotic drug • ยาประจําตัวผู้ป่วยแตล่ ะราย โดยให้ผปู้ ว่ ยและญาตเิ ตรียมยาเดิมมา บุคลากรในศูนย์แยกกักตัวในชุมชน เจ้าหน้าที่ด้านบริหารงานทว่ั ไปหรอื เจ้าหน้าที่สนับสนนุ ด้านต่าง ๆ • มีจิตอาสา มสี ขุ ภาพรา่ งกายแขง็ แรง และสุขภาพจิตดี • ควรได้รบั วคั ซีน Sinovac 2 เข็ม หรือ AstraZeneca 1 เขม็ แล้ว 2 สปั ดาห์ • บคุ ลากรทคี่ วรระมดั ระวงั และหลกี เลยี่ งการปฏบิ ตั งิ านในศูนยแ์ ยกกกั ตัวในชมุ ชน • เป็นโรคระบบทางเดินหายใจเฉยี บพลันหรือเรื้อรงั หรือเป็นโรคของระบบหัวใจและหลอดเลือด • ตง้ั ครรภ์ หรอื เปน็ โรคทีต่ อ้ งไดร้ ับการดูแลสมา่ํ เสมอ ได้แก่ โรคมะเรง็ เบาหวาน โรคไตวาย หรือ เขา้ รบั การรกั ษาในโรงพยาบาลในรอบปีทผ่ี ่านมา หรอื โรคทสี่ ง่ ผลใหม้ ภี ูมคิ ุม้ กันบกพรอ่ ง ไดแ้ ก่ โรคเอดส์ หรือไดร้ บั ยากดภมู คิ ุ้มกนั การลงทะเบยี นรบั ผูป้ ่วย COVID-19 เพอ่ื รบั การเฝ้าสงั เกตอาการในศูนย์แยกกกั ตัวในชุมชน มีขั้นตอนการดําเนินงานดังนี้ 1. ประเมินผูป้ ว่ ยเบ้อื งตน้ จากประวัติ และการตรวจรา่ งกาย โดยเฉพาะ การวัดระดบั ออกซิเจนในเลอื ด เพ่อื ใหท้ ราบผู้ป่วยทเี่ ปน็ กลมุ่ เสย่ี ง โดยเฉพาะในผปู้ ่วยที่มโี รคประจาํ ตัว ได้แก่ เบาหวาน โรคหัวใจ โรค ปอดเรื้อรงั โรคไตวายเรอ้ื รงั ผทู้ ม่ี นี ้ําหนกั BMI > 35 กก./ม2. หรอื นํ้าหนกั เกิน 100 กก เป็นตน้ 2. ผตู้ ิดเช้ือ และผปู้ ่วยยืนยนั COVID-19 ทุกรายควรได้รบั การประเมินตนอง และจากทีมบคุ ลากรทาง การแพทยท์ ุกวนั (ไม่นอ้ ยกวา่ วนั ละ 1 ครั้ง) เพื่อตดิ ตามอาการจนกว่าจะจําหน่ายผปู้ ว่ ย และไดร้ บั การ รกั ษาเบ้ืองตน้ หากพบอาการเปลี่ยนแปลงในทางที่ทรดุ ลง ให้ประสานโรงพยาบาลปลายทางตามแผนการ ส่งตอ่ ผ้ปู ่วยเพือ่ รบั การรักษาต่อไป 11

ขั้นตอนการดําเนินการจัดตง้ั ศูนย์แยกกกั ตัวในชุมชน 1. หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ แจง้ ความประสงคม์ ายงั “ศนู ย์ประสานงาน ศนู ย์แยกกกั ตัวในชุมชน กรม อนามัย”, สํานักการแพทย์, กรมการแพทย,์ สาํ นักงานสาธารณสุขจังหวดั หรือหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง เพอื่ รบั แนวทางแนะนาํ ในการจัดตัง้ ศนู ย์แยกกักตัวในชุมชน 2. เจ้าหน้าที่ ศนู ย์ประสานงานศูนยแ์ ยกกักตัวในชุมชน กรมอนามัย หรือหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ประเมนิ ความ พร้อมของสถานท่ตี ง้ั ระบบระบายอากาศ การจัดการอนามัยส่ิงแวดล้อม สงิ่ ปฏกิ ลู มลู ฝอยติดเชือ้ และ สุขาภบิ าล ระบบการประสานงานรายงานผปู้ ว่ ยรายวัน และการรบั สง่ ตอ่ กับสถานพยาบาลคสู่ ัญญา ระบบ รกั ษาความปลอดภัย และระบบการส่งอาหาร 3. จัดผู้ป่วยเขา้ ตามผังเตยี งท่กี ําหนดรายละเอยี ดการดาํ เนินการอาจจดั แบ่งโซนใหช้ ัดเจน เช่น ตามความ เสีย่ งของผู้ป่วย หรอื ตามวันท่รี ับไว้ และแบ่งโซน ชาย/หญิงใหช้ ดั เจน เพ่อื ความสะดวกในการบริหาร จัดการ 4. ระยะระหวา่ งเตียงผปู้ ว่ ยควรห่างกันไม่นอ้ ยกวา่ 1.5 เมตรทั้งนอี้ าจพจิ ารณาปรับเปลย่ี นไดต้ ามความ จําเป็นและเหมาะสมของแตล่ ะสถานที่ 5. จัดเตรียมอปุ กรณ์ทจี่ าํ เปน็ ในส่วนทพี่ ักผู้ป่วย อาทิ ปรอทวัดไข้ เครื่องวัดออกซเิ จนในเลอื ด (pulse oximeter) เคร่ืองวัดความดันโลหิต อปุ กรณส์ าํ หรับสอื่ สารกับแพทย์ เป็นต้น เพือ่ ใหผ้ ปู้ ่วยวดั และรายงาน ให้เจ้าหน้าทท่ี ราบผ่านระบบการแพทย์ทางไกลทกุ วนั 6. เจา้ หน้าที่จดั สง่ อาหาร 3 มือ้ โดยจดั วางไวท้ ี่พืน้ ทท่ี ีก่ ําหนดเพ่อื ใหผ้ ู้ป่วยมารับไปแจกจา่ ยภายในสว่ นทพ่ี ัก 7. เตรียมอปุ กรณส์ ันทนาการเพอ่ื บรรเทาความเครียดใหก้ บั ผู้ป่วย อาทิ อปุ กรณ์การกีฬา บอร์ดเกม หนงั สอื อา่ นเล่น โทรทัศน,์ Netflix, Disney Hotstar เป็นตน้ 8. การจดั การภาวะเครยี ดของผู้ปว่ ยสามารถดาํ เนนิ การไดโ้ ดยมชี อ่ งทางใหค้ ําปรกึ ษาโดยนกั จติ วทิ ยา หรอื ทีม MCATT 9. กรณีเกดิ ผู้ปว่ ยมอี าการผิดปรกติหรอื เกดิ เหตฉุ ุกเฉินให้ตดิ ต่อโรงพยาบาลหลกั เพ่ือนาํ ส่งผู้ป่วย 10. การจําหน่ายผู้ปว่ ยเม่ือครบกาํ หนดการรกั ษาในศนู ยแ์ ยกกกั ตัวในชมุ ชน โดยการประสานงานกับ สถานพยาบาลคู่สญั ญาและมเี อกสารรับรองการรกั ษาใหผ้ ู้ปว่ ยตดิ ตัว (ตวั อยา่ ง) การบริหารจดั การทรัพยากรสาํ หรับศนู ย์แยกกกั ตัวในชมุ ชน บคุ ลากร ประกอบด้วย 1. ผู้จัดการศนู ยแ์ ยกกกั ตัวในชมุ ชน 2. เสมียน 12

3. แม่บ้าน วสั ดกุ ารแพทยท์ ่สี ําคัญ 1. Medical Grade Coverall Type 5B, 6B EN 14126 2. Isolation gown 3. Surgical gown 4. Goggle 5. Shoes cover 6. Medical glove 7. ถุงมอื ไนไตรต์ 8. Face shield 9. Surgical mask 10. N95 11. หมวกคลุมผม 12. เครอื่ งผลติ ออกซเิ จน (Oxygen concentrator) ร่วมกับถงั ออกซเิ จน และอปุ กรณท์ ี่จาํ เป็นในการให้ ออกซเิ จนผูป้ ่วย (ถา้ มี) อาคารสถานท่ีและสงิ่ แวดล้อม การจดั การพื้นที่ 1) มศี ูนย์ควบคมุ และสัง่ การ 2) โดยรอบควรเปน็ พนื้ ท่โี ล่ง ไม่มสี ง่ิ กดี ขวางกระแสลม เพ่อื การระบายอากาศทด่ี ี และมเี สน้ ทางสญั จรเข้าถงึ ได้ สะดวก 13

3) ควรหา่ งจากอาคารหรือสง่ิ ปลกู สรา้ งอยา่ งน้อย 10 เมตร เพอื่ ป้องกันการแพร่กระจายเชอ้ื โรคไปสูพ่ นื้ ทชี่ มุ ชน หรืออาคารข้างเคียง 4) ไม่ควรอยู่ในทชี่ มุ ชน เชน่ ตลาดสด ท่พี กั อาศัย โรงเรียน เปน็ ต้น 5) มีสิ่งอาํ นวยความสะดวกดา้ นสาธารณูปโภค เชน่ ไฟฟ้า ประปา ระบบสอื่ สาร เป็นตน้ 6) ควรจัดให้มีการแบ่งพืน้ ทอี่ ย่างนอ้ ยเปน็ 3 พืน้ ท่ี ดังน้ี พ้ืนทก่ี ักกันผปู้ ่วยติดเชื้ออาการไมร่ นุ แรง พื้นที่ปฏิบตั ิงาน และพักผอ่ น พื้นทส่ี าํ หรับงานระบบและส่งิ อาํ นวยความสะดวก โดยจัดให้ มเี สน้ ทางสญั จรหลกั ของบุคลากร ทางการแพทย์แยกออกจากเส้นทางสญั จรของผปู้ ว่ ยอย่างชดั เจนและเปน็ แบบทางเดียว (One way traffic) พร้อม ท้ังระบบบริหารจัดการ/ควบคมุ การเข้า ออกระหว่างพ้นื ที่อย่างเครง่ ครัด 7) วสั ดุกอ่ สรา้ งพ้นื และผนังทาํ ความสะอาดได้งา่ ยและไม่เป็นแหลง่ สะสมเช้ือโรค การจดั การระบบสาธารณปู โภคและส่งิ แวดล้อม ข้นั ตอนขณะดําเนนิ งานด้านอนามัยสิง่ แวดลอ้ มในศูนย์ CI 1) ตรวจสอบระบบการจัดการด้านบุคลากร/เจ้าหน้าที่ วัสดุอุปกรณ์ ความสะอาด ความเพียงพอ โดยการ ประเมินขณะดําเนินงานด้วยแบบฟอร์มรายข้อ (Check list) ดังเอกสารแนบท้ายเล่ม และแบบประเมินการ ดําเนินการ และสุ่มเฝ้าระวังด้านอนามัยสิ่งแวดล้อมเชิงคุณภาพ เช่น การตรวจวิเคราะห์คลอรีนคงเหลือก่อนปล่อย สแู่ หล่งนาํ้ เป็นต้น 2) ร่วมจัดการและประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรณีฉุกเฉินหน้างาน หรือส่งต่อ ขอ้ มูลเพอ่ื การจัดการในระยะตอ่ ไป รวมถงึ ประสานการสนับสนนุ วสั ดุอุปกรณ์ และงบประมาณ 3) รายผลการดาํ เนนิ งานรายวนั ผา่ นกลมุ่ ไลน์ และจดั ทําสรุปผลการดําเนินงานรายวนั เป็น one page 4) สรุปผลการดาํ เนินงาน ปัญหา อปุ สรรค และข้อเสนอแนะต่อการดําเนนิ งาน 5) ดําเนินการวางระบบและวางแผนการจัดการด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม เช่น เส้นทางเข้า-ออก จํานวนถัง ขยะ ป้ายสญั ลักษณ์ อุปกรณเ์ พอ่ื อาํ นวยการทําความสะอาด พนกั งาน เจา้ หน้าที่ เปน็ ตน้ 6) การจัดสรรงบประมาณในการดําเนินการ เช่น การจัดหาอุปกรณ์และชุดป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ภาชนะรองรับมูลฝอย เป็นต้น 7) การส่งเสริมการปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดในศูนย์แยกกักตัวในชุมชน ให้เกิดการ ดาํ เนินงานตามมาตรการอยา่ งเคร่งครัด ด้านการจัดการมูลฝอยติดเชือ้ มูลฝอยในห้องผู้ป่วยทั้งหมดของศูนย์แยกกักตัวในชุมชน จัดเป็นมูลฝอยติดเชื้อ ให้มีการจัดการตาม กฎกระทรวงวา่ ด้วยการกาํ จดั มูลฝอยตดิ เชอ้ื พ.ศ. 2545 14

การเตรยี มการ 1) บุคลากร : มีเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในการควบคุมและดูแลระบบการจัดมูลฝอยติดเชื้อ เตรียม ความพร้อมสําหรับผู้ปฏิบัติงานเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อ โดยให้ความรู้หรือคําแนะนําแก่ผู้ปฏิบัติงานตามแนว ทางการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ (คู่มือการฝึกอบรมผู้ปฏิบัติงานมูล ฝอยติดเชื้อ หลักสูตรการป้องกันและระงับการแพร่เชื้อหรืออันตรายที่อาจเกิดจากมูลฝอยติดเชื้อ) จัดให้มีอุปกรณ์ ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลที่เหมาะสมและเพียงพอ ได้แก่ ถุงมือยาง ร้องเท้าบูท ผ้ายางกันเปื้อน หน้ากากอนามัย N95 แว่นครอบตา กระบงั หนา้ เลนสใ์ ส (Face Shield) ชุดป้องกันร่างกาย (Protective Coverall) 2) วสั ดอุ ปุ กรณ์ และสถานท่ี 2.1) ภาชนะบรรจมุ ูลฝอยตดิ เช้อื (ถุงแดงและกลอ่ งที่มีฝาปิดมดิ ชดิ ) มี 2 จุด คือ 1) บริเวณของผู้ป่วย : จัดให้มีภาชนะรองรับมูลฝอยติดเชื้อที่เพียงพอ เพื่อรองรับมูลฝอยติดเชื้อจากผู้ป่วยที่มีฝาปิด มิดชิด โดยใช้ถังแบบเท้าเหยียบ และภาชนะรองรับมูลฝอยติดเชื้อแบบกล่องสาหรับรองรับมูลฝอยติดเชื้อประเภท วัสดมุ ีคมทเี่ พียงพอ 2) ที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อ : จัดให้มีที่พักรวมมูลฝอยที่ปิดมิดชิด มีขนาดเพียงพอสามารถเก็บกักมูลฝอยติดเชื้อได้ ไม่ตํ่ากว่า 2 วัน และตั้งอยู่ในสถานที่ที่ไม่สามารถแพร่กระจายเชื้อสู่บริเวณพื้นที่ข้างเคียงและ ตั้งอยู่ในพื้นที่สะดวก ต่อการขนไปกําจัด และใช้ภาชนะบรรจุมูลฝอยติดเชื้อที่มีฝาปิดมิดชิด ขนาด 240 ลิตรหรือขนาดที่เหมาะสมต่อ การเก็บกักและเคลื่อนย้าย จํานวนถังขึ้นอยู่กับปริมาณมูลฝอยติดเชื้อที่เกิดขึ้น (อ้างอิงตาม อัตราการเกิดมูลฝอย ตดิ เช้ือท่ีเกิดขน้ึ จากผ้ปู ่วยโควดิ 19 ในโรงพยาบาลสนามประมาณ 1.82 กิโลกรัมตอ่ เตียงตอ่ วัน) 2.2) รถเขน็ ทใ่ี ช้เคล่ือนยา้ ยมลู ฝอยติดเชอ้ื 2.3) นํ้ายาทาํ ความสะอาด และนํา้ ยาฆ่าเชอ้ื โรค 2.4) อุปกรณ์ทําความสะอาด สารทําความสะอาด และสารฆ่าเชื้อ สําหรับทําความ สะอาดเครื่องมือ รถเข็นที่ใช้เคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเชื้อ และอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้เพียงพอ เช่น ผงซักฟอก นํ้ายาที่มีส่วนประกอบของคลอรีนหรือสารโซเดียมไฮโปคลอไรท์ที่ความเข้มข้น 1,000 และ 5,000 ppm (สว่ นต่อลา้ นสว่ น) หรือแอลกอฮอล์ 70% เปน็ ตน้ 2.5) คีมคีบและอุปกรณ์ทําความสะอาด (กรณีที่มูลฝอยติดเชื้อตกหล่นระหว่างการ เคลื่อนย้าย) 2.6) อุปกรณส์ ําหรับทาํ ความสะอาดร่างกาย เช่น สบู่ เจลแอลกอฮอล์ เปน็ ต้น 3) การเก็บรวบรวมมลู ฝอยติดเช้อื 3.1) กําหนดเวลานัดหมายในการเก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชือ้ 3.2) กําหนดเสน้ ทางการเคลื่อนย้ายมลู ฝอยตดิ เชื้อท่ีแนน่ อน 15

3.3) ประสานกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สํานักงานเขต หรือบริษัทเอกชนที่รับทํา การเกบ็ ขนมูลฝอยตดิ เชื้อไปกาํ จดั เพอื่ กําหนดเวลาและจุดนัดหมายในการเข้าเก็บขนมลู ฝอยติดเชอื้ ไปกําจดั ขั้นตอนการดาํ เนินงาน ขั้นตอน วสั ดุอปุ กรณ์ 1. จัดให้มีภาชนะบรรจุและภาชนะรองรับมูลฝอยติดเชื้อในห้องผู้ป่วย ภาชนะบรรจุและภาชนะรองรับมูล โดยแยกเป็น 2 ประเภท คือ มูลฝอยติดเชื้อมีคม และมูลฝอยติดเชื้อไม่ ฝอยติดเชื้อชนิดถุงสําหรับมูลฝอยที่ไม่ มคี ม มีคมและชนิดกล่องสาหรับบรรจุมูล ฝอยติดเช้ือชนิดมีคม 2. แจ้งให้ผู้ป่วยทราบถึงวิธีการจัดการมูลฝอยติดเชื้อ รวมทั้งนัดหมาย - เวลาในการนามลู ฝอยตดิ เชอ้ื มารวบรวมไว้จุดรวบรวมของศนู ย์ 3. ผู้ปฏิบัติงานฯ สวมชุดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลท่ี ถงุ มือยาง รอ้ งเทา้ บูท ผ้ายางกันเปอื้ น เหมาะสมขณะทปี่ ฏิบัติงาน หน้ากากอนามัย N95 แวน่ ครอบตา กระบงั หนา้ํ เลนส์ใส (Face Shield) ชุดป้องกนั ร่างกาย (Protective Coverall) 4. ผู้ปฏิบัติงานฯ จัดเตรียมรถเข็นที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายมูลฝอยติดเช้ือ รถเขน็ ทใี่ ช้เคลอ่ื นย้ายมูลฝอยติดเชื้อ พร้อมอุปกรณ์และนํ้ายาทําความสะอาดฆ่าเชื้อโรค กรณีที่มีมูลฝอยติด นํา้ ยาทําความสะอาดฆา่ เช้ือโรค ไดแ้ ก่ เช้อื ตกหลน่ ระหวา่ งการเคลื่อนยา้ ย sodium hypochlorite 5,000 ppm คีมเหลก็ กระดาษชําระ ถงุ บรรจมุ ูล ฝอยติดเช้อื ถงุ มือยางหนา 5. ผู้ปฏิบัติงานฯ เก็บรวบรวมมูลฝอยติดเชื้อจากห้องผู้ป่วยตามเวลา - นัดหมาย โดยใช้รถเข็นในการเก็บรวบรวมและเคลื่อนย้ายมูลฝอยติด เชื้อจากห้องผู้ป่วยไปยังที่พักรวมมูลฝอยติดเชื้อตามเส้นทางที่กําหนด ไว้ (ขณะปฏิบัติงานห้ามแกะหรือแวะพัก เมื่อมีมูลฝอยตกหล่นห้าม หยิบด้วยมือเปล่า ใช้คีมเหล็กคีบมูลฝอยติดเชื้อเก็บใส่ถุงมูลฝอยติด เชื้ออีกใบ หากมีสารนํ้าให้ซับด้วยกระดาษแล้วทิ้งกระดาษลงถุงมูล ฝอยติดเชื้อ หลังจากนั้นราดด้วยสารละลายโซเดียม ไฮโปคลอไรด์ เขม้ ขน้ 5,000 ppm ทิง้ ไว้นาน 30 นาที ก่อนเช็ดถตู ามปกติ) 16

ข้นั ตอน วสั ดอุ ุปกรณ์ 6. ผู้ปฏิบัติงานฯ นํามูลฝอยติดเชื้อไปเก็บกักยังที่พักรวมมูลฝอยติด - เช้ือ เพอ่ื รอส่งไปกาํ จัด 7. ผู้ปฏิบัติงานฯ ทําความสะอาดรถเข็นที่ใช้ในการเคลื่อนย้ายมูลฝอย นํา้ ยาทาํ ความสะอาดหรือผงซักฟอก ตดิ เชื้อ 8. เมื่อผู้ปฏิบัติงานฯ เสร็จภารกิจแล้วให้ถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตราย น้าํ ยาทาํ ความสะอาดฆ่าเชื้อโรค ได้แก่ ส่วนบุคคล ได้แก่ ถุงมือยางหนา แว่นป้องกันตา ผ้ายางกันเปื้อน โซเดียม ไฮโปคลอไรด์ 5,000 ppm หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย และรองพื้นยางหุ้มแข้ง ตามลําดับ และล้างมือทุกครั้งที่ถอดอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ส่วน อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลชนิดใช้ครั้งเดียวให้ทิ้งลงในถังมูล ฝอยติดเชื้อ ส่วนรองเท้าเท้าพื้นยางหุ้มแข้ง แว่นตาป้องกันตา ผ้ายาง กันเปื้อนที่สามาถนํากลับมาใช้ซํ้าได้ให้แช่ลงใน โซเดียม ไฮโปคลอไรด์ 5,000 ppm นาน 30 นาที จากนนั้ ลา้ งแลว้ นาไปผงึ่ แดดใหแ้ ห้ง 9. ผู้ปฏิบัติงานฯ ชําระล้างร่างกายให้สะอาด เปลี่ยนเสื้อผ้า ก่อนออก สบู่ เจลแอลกอฮอล์ จากพน้ื ทป่ี ฏบิ ัตงิ านหรือก่อนกลับบ้าน 10. ในการส่งมูลฝอยติดเชื้อต้องมีการบันทึกข้อมูลลงระบบกํากับการ - ขนส่งมูลฝอยติดเชื้อ เพื่อป้องกันปัญหาที่เกิดขึ้นและสร้างความเชื่อมั่น ว่ามูลฝอยติดเชื้อได้รับการกําจัดอย่างถูกต้อง ทั้งนี้ให้นํามูลฝอยติดเช้ือ ทเี่ กิดขน้ึ ไปกาํ จัดยังสถานทก่ี าจัดมูลฝอยตดิ เชอื้ โดยเร็วทีส่ ดุ *ppm คือ part per million หรือ หน่งึ ในล้านส่วน ดา้ นการจดั การสว้ ม ห้องอาบนํ้า และสิ่งปฏกิ ูล หอ้ งส้วมและหอ้ งอาบนาํ้ ต้องถูกสุขลักษณะและปลอดภัย มีระบบเก็บกักสิ่งปฏิกูลที่ถูกหลักสุขาภิบาล ระบบท่อและระบบเก็บกัก อุจจาระหรือบ่อเกรอะ (Septic tank) อยู่ในสภาพใช้การได้ดี ไม่แตก ไม่รั่วซึม โดยมีแนวทางในการกําหนดจํานวน หอ้ งสว้ มและหอ้ งอาบนา้ํ ดังนี้ 1) มีห้องส้วมแยก ชาย หญิง 2) มหี ้องน้าํ ห้องส้วม จํานวนเพียงพอ โดยมพี ื้นท่ีไม่น้อยกว่า 0.90 ตารางเมตร ต่อ 1 ห้อง • หอ้ งอาบน้าํ อยา่ งน้อย 1 หอ้ ง ตอ่ จาํ นวนผปู้ ว่ ย 10 คน 17

• หอ้ งสว้ ม อยา่ งนอ้ ย 1 หอ้ ง ตอ่ จํานวนผูป้ ่วย 10 คน การทําความสะอาดห้องส้วม ห้องอาบนํ้า ทําความสะอาดพื้นห้องส้วมด้วยนํ้ายาทําความสะอาด และฆ่า เชื้อโดยราดนํา้ ยาฟอกขาวที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาที และเนน้ เช็ดทาํ ความสะอาดบริเวณจดุ เสีย่ ง ได้แก่ ท่ี รองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ที่กดชักโครก ราวจบั ลกู บดิ หรือกลอนประตู ท่ีแขวนกระดาษชาระ อ่างลา้ งมือ ก๊อกน้ํา ที่วางสบู่ ผนัง ซอกประตู ด้วยผ้าชุบนํ้ายาฟอกขาว 0.1% (เช่น นํ้ายาฟอกขาวความเข้มข้น 6% ผสมนํ้า 1:50) หรือแอลกอฮอล์ 70% หรอื ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% การจัดการสง่ิ ปฏิกูล ระบบเก็บกักสิ่งปฏิกูลของส้วมต้องเป็นระบบปิด และสามารถเก็บกักอุจจาระให้อยู่ได้นานมากกว่า 22 วัน และมีขนาดถังเก็บกักสิ่งปฏิกูลควรมีขนาดอย่างน้อย 2 ลูกบาศก์เมตรต่อห้องส้วม 1 ห้องหรือเพียงพอต่อปริมาณ ส่ิงปฏิกลู ที่เกดิ ข้ึน 1) กรณีส้วมเต็มให้สูบสิ่งปฏิกูลไปการจัดที่ระบบกําจัดสิ่งปฏิกูลหรือนําไปบําบัดร่วมกับระบบ บําบัดนํ้าเสียแบบตะกอนเร่งซึ่งมีความสามารถรองรับการบําบัดสิ่งปฏิกูลได้ โดยนํ้าเสียที่ผ่านการบําบัดก่อนปล่อย ท้งิ ต้องทาํ การฆา่ เชื้อดว้ ยคลอรีน 2) กรณีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นไม่มีระบบกําจัดสิ่งปฏิกูล ฝังกลบในหลุมขยะ โดยเติมปูนขาวเพ่ือ ฆ่าเชื้อ โดยให้มีค่าความเป็นกรด-ด่าง มากกว่า 12 (> pH12) โดยใช้ปูนขาว 1 กิโลกรัม ผสมในสิ่งปฏิกูล 1 ลูกบาศกเ์ มตร การเตรยี มการ 1) บุคลากร : เจ้าหน้าทีผ่ ้ปู ฏิบัติงานทาํ ความสะอาดหอ้ งส้วม 2) อุปกรณ์ : ถุงมือยาง ร้องเท้าบูท ผ้ายางกันเปื้อน หน้ากากอนามัย N95 แว่นครอบตา กระบัง หน้าเลนส์ใส (Face Shield) ชุดป้องกันร่างกาย (Protective Coverall) นํ้ายาทําความสะอาด และนํ้ายาฆ่าเชื้อ โรค ไม้กวาด และที่ตักขยะ แปรงขัดส้วม และ แปรงขัดทําความสะอาด ไม้ถูพื้นแบบเปียก และไม้ถูพื้นแบบแห้ง ผา้ เชด็ ทําความสะอาด ขั้นตอนการดําเนินงาน ขนั้ ตอน วัสดุอุปกรณ์ 1. เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานทําความสะอาดสวมอุปกรณ์ป้องกันตัวเองทุกคร้ัง ถุงมอื ยาง ร้องเทา้ บูท เมื่อต้องทําความสะอาดและฆ่าเชื้อเพื่อป้องกันเชื้อโรคหรือสารเคมีที่ใช้ทํา ผา้ ยางกนั เปือ้ น หน้ากาก ความสะอาด อนามยั N95 แว่นครอบตา 18

ขัน้ ตอน วสั ดุอุปกรณ์ กระบงั หน้าเลนส์ใส (Face Shield) ชดุ ป้องกันรา่ งกาย (Protective Coverall) 2. การเตรียมน้าํ ยาทําความสะอาด น้ํายาทาํ ความสะอาด การเตรียมนํ้ายาทําความสะอาดเพื่อฆ่าเชื้อขึ้นกับชนิดและความเข้มข้น นาํ้ ยาฆ่าเช้ือโรค ของสารที่เลือกใช้ โดยแนะนา ให้เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อที่มีส่วนผสมของ โซเดียมไฮโปคลอไรท์ (ซึ่งรู้จักกันในชื่อ “นํ้ายาฟอกขาว”) เนื่องจากหาได้ง่าย โดยนาํ มาผสมกบั นา้ํ เพ่อื ใหไ้ ด้ความเข้มขน้ 0.1% หรอื 1000 ppm 3. การทําความสะอาดสว้ ม ไม้กวาด ที่ตักขยะ แปรงขัด - กวาดพ้นื ใหส้ ะอาด ส้วม แปรงขัดทําความ - เก็บขยะโดยผูกปากถุงให้แน่นแล้วนําไปกําจัดแบบมูลฝอยติดเชื้อให้ สะอาด ไม้ถูพื้นแบบเปียก ถกู ต้องทุกวนั โดยลา้ งและทําความสะอาดถงั ขยะ ไม้ถูพื้นแบบแห้ง ผ้าเช็ดทํา - ทําความสะอาดด้วยนํ้ายาทําความสะอาดและเช็ดให้แห้งบริเวณผนัง ความสะอาด ฉากกั้น ประตูดา้ นในและดา้ นนอก ทจี่ ับประตูและกลอนประตู - ทาํ ความสะอาดและเช็ดกระจกส่องหน้าใหใ้ ส - ขัดล้างอ่างล้างมือ ก๊อกนํ้า ขอบอ่างใต้อ่างด้วยนํ้ายาทําความสะอาดแล้ว ลา้ งออกด้วยน้ําสะอาดและเช็ดใหแ้ หง้ - ขดั ล้างทาํ ความสะอาดทีก่ ดนา้ํ ทร่ี องน่งั และโถสว้ มท้ังด้านในดา้ นนอก - ทาํ ความสะอาดพนื้ หอ้ งสว้ ม - หมั่นตรวจและทําความสะอาดห้องส้วมให้สะอาดเรียบร้อยอยู่เสมอ และ ตรวจดูว่าโถส้วม โถปัสสาวะ พื้นห้องส้วม อ่างล้างมือ และเคาน์เตอร์ต้อง สะอาดและแห้งอยู่เสมอ ช่วงเวลาและความถี่ควรพิจารณาจากการใช้งาน ควรทําความสะอาดอย่างน้อยวนั ละ 2 ครั้ง - สํารวจหากมีอุปกรณ์หรือสุขภัณฑ์ใดชํารุด ต้องแจ้งซ่อมทันที เมื่อทํา ความสะอาดเสรจ็ แล้วให้เกบ็ อุปกรณท์ ําความสะอาดต่าง ๆ ให้เรียบรอ้ ย 4. จดุ ทตี่ ้องเน้นทาํ ความสะอาดเป็นพเิ ศษ การทําความสะอาดห้องนํ้า หอ้ งส้วม ด้วยนํ้ายาทําความสะอาดทั่วไป พื้น ห้องส้วมให้ฆ่าเชื้อโดยราดนํ้ายาฟอกขาวที่เตรียมไว้ ทิ้งไว้อย่างน้อย 10 นาที เช็ดเน้นบริเวณที่รองนั่งโถส้วม ฝาปิดโถส้วม ที่กดชักโครก ราวจับ ลูกบิดหรือ 19

ข้นั ตอน วสั ดอุ ปุ กรณ์ กลอนประตู ที่แขวนกระดาษชาระ อ่างล้างมือ ก๊อกนํ้า ที่วางสบู่ ผนัง ซอก ประตู ด้วยผ้าชุบนํ้ายาฟอกขาวที่เตรียมไว้ หรือแอลกอฮอล์ 70% หรือ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ 0.5% ด้านการจดั การนํ้าเสียและวัสดอุ ุปกรณท์ ่เี กี่ยวข้อง อ้างอิงตามการจัดการนํ้าทิ้งจากระบบบําบัดนํ้าเสียของโรงพยาบาลสนาม ปริมาณนํ้าใช้ที่เกิดขึ้นอยู่ที่ 160 ลิตร/คน/วัน (ร้อยละ 80 ของปริมาณนํ้าใช้/คน/วัน) จะต้องมีระบบรวบรวมนํ้าเสียจากจุดต่าง ๆ อย่างครอบคลุม ในพื้นทภ่ี ายในศนู ยแ์ ยกกกั ตัวในชมุ ชน กรณี มี ระบบบําบดั นํา้ เสีย 1) ระบบบําบัดนํ้าเสียแยกเป็นสัดส่วนโดยเฉพาะ ไม่อยู่ติดกับโรงอาหาร หรือส่วนที่ต้องควบคุม รักษาความสะอาด บริเวณระบบฯ มีความสะอาดเรียบร้อยไม่มีนํ้าขังนอง ไม่มีกลิ่นเหม็น มีการระบายอากาศดี มี แสงสว่างและอุณหภูมิเหมาะสม เจ้าหน้าที่สามารถปฏิบัติงานในการดูแลรักษาตรวจสอบเครื่องจักรอุปกรณ์ได้ สะดวก และปลอดภยั 2) ปฏิบัติตามมาตรฐานควบคุมการระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภทและบางขนาดออกตาม ความมาตรา 55 พระราชบัญญตั ิสง่ เสริม และรกั ษาคุณภาพสิง่ แวดลอ้ มแห่งชาติ พ.ศ. 2535 3) ระบบการฆ่าเชื้อโรคในนํ้าทิ้งที่ผ่านการบําบัดแล้ว หากให้คลอรีนต้องมีการตรวจวัดปริมาณ คลอรีนอิสระคงเหลือ (Free Residual Chlorine) ไม่น้อยกว่า 1.0 มก./ล. โดยมีระยะเวลาสัมผัสคลอรีนไม่น้อย กว่า 30 นาที กรณใี ชร้ ะบบอน่ื เชน่ ยูวี โอโซน ต้องเปิดใช้งานตลอดเวลา กรณี ไม่มี ระบบบําบดั น้ําเสีย สําหรับสถานที่ที่ไม่มีระบบบําบัดนํ้าเสีย ต้องดาเนินการรวบรวมนํ้าเสียจากแหล่งกําเนิดต่าง ๆ เช่น ที่ อาบนํ้า จุดซักล้าง ห้องส้วม เป็นต้น และบาบัดนํ้าเสีย โดยติดตั้งระบบบาบัดนํ้าเสียแบบติดกับที่ (On-site) มีการ ฆ่าเชื้อด้วยการเติมคลอรีน โดยมีระยะเวลาสัมผัสคลอรีนไม่น้อยกว่า 30 นาที มีการตรวจวัดปริมาณคลอรีนอิสระ คงเหลือ (Free Residual Chlorine) ไม่น้อยกว่า 1.0 มก./ล. ก่อนปล่อยลงสู่บ่อซึมหรือรางระบายนํ้า โดยบ่อซึม ตอ้ งอยู่ห่างจากแหลง่ นํา้ ไมน่ ้อยกว่า 30 เมตร การเตรียมการ 20

1) บคุ ลากร : เจ้าหนา้ ทปี่ ระจําระบบบาํ บดั นํา้ เสีย 2) อุปกรณ์ : เคร่ืองจ่ายคลอรีน ถงั บรรจคุ ลอรีน อปุ กรณเ์ กบ็ ตัวอย่างนา้ํ อุปกรณท์ ําความสะอาด 3) วัสดุ : ถุงมือยาง ร้องเท้าบูท ผ้ายางกันเปื้อน หน้ากากอนามัย N95 แว่นครอบตา กระบังหน้า เลนส์ใส (Face Shield) ชุดป้องกันร่างกาย (Protective Coverall) คลอรีนชนิดนํ้า อุปกรณ์เก็บตัวอย่างนํ้า ชุด ทดสอบคลอรนี อิสระคงเหลือในน้าํ ถงุ บรรจมุ ลู ฝอยติดเชอ้ื นาํ้ ยาทาํ ความสะอาด ข้นั ตอนการดําเนนิ งาน ขนั้ ตอน วัสดอุ ุปกรณ์ 1. ผู้ปฏิบัติงาน สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลปฏิบัติงาน ถุงมอื ยาง รองเท้าบูท ผ้ายางกัน และหลีกเลี่ยงการสัมผัสละอองฝอยจากระบบบําบัดนํ้าเสีย เมื่อเลิก เป้ือน หนา้ กากอนามัย N95 แว่น ปฏิบตั งิ านให้ทําความสะอาดและใชน้ าํ้ ยาฆา่ เชอื้ โรคทุกคร้ัง ครอบตา กระบังหน้าเลนสใ์ ส (Face Shield) ชดุ ป้องกันร่างกาย (Protective Coverall) อุปกรณ์ทํา ความสะอาด นา้ํ ยาทําความสะอาด 2. ตรวจสอบและควบคุมระบบบําบัดนํ้าเสีย และระบบฆ่าเชื้อโรคให้ เครื่องจ่ายคลอรีน ถังบรรจุคลอรีนท่ี ทํางานอย่างต่อเนื่องตลอด 24 ชั่วโมง หากใช้คลอรีนต้องมีการ ผสมแลว้ คลอรนี ชนดิ นํ้า ตรวจวัดปริมาณ คลอรีนคงเหลือ (Residual Chlorine) เหลือไม่ น้อยกว่า 1 มก/ลิตร โดยมีระยะเวลาสัมผัสไม่ตํ่ากว่า 30 นาที กรณี ใชร้ ะบบอน่ื เชน่ ยูวี โอโซน ต้องเปิดใช้งานตลอดเวลา 3. ผู้ปฏิบัติงาน ตรวจวัดปริมาณคลอรีนตกค้างอิสระคงเหลือในนํ้า ชุดทดสอบคลอรีนอิสระคงเหลือใน ทิ้งทกุ วัน วันละ 2 คร้งั ให้มีค่าไม่ตํา่ กวา่ 1 มิลลกิ รัมตอ่ ลติ ร นา้ํ 4. ให้มีการส่งตรวจคุณภาพนํ้าทิ้งอย่างน้อย 1 ครั้งต่อเดือน โดยให้มี อุปกรณ์เก็บตัวอย่างนํ้า ชุดเก็บ การตรวจตามพารามิเตอร์มาตรฐานนํ้าทิ้งจากโรงพยาบาลตาม ตัวอยา่ งนาํ้ กฎหมาย* *ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เรื่อง กําหนดมาตรฐานควบคุม การระบายนํ้าทิ้งจากอาคารบางประเภท และบางขนาด ลงวันท่ี 7 พฤศจกิ ายน 2548 ประกาศในราชกจิ จานุเบกษาเลม่ ท่ี 122 ตอนท่ี 125 ลงวนั ที่ 29 ธันวาคม 2548 การจัดการน้ําเสยี สาํ หรับศนู ยแ์ ยกกกั ตวั ในชมุ ชน 1) น้ําเสยี ท่ีเกิดจากทุกกจิ กรรมในศนู ย์แยกกักตัวในชมุ ชนตอ้ งเข้าส่รู ะบบบําบัดน้าํ เสยี 21

2) มีระบบบาํ บัดน้าํ เสียที่มปี ระสิทธิภาพ สามารถทาํ งานไดส้ มบูรณ์และมคี วามสามารถในการรองรับนาํ้ เสยี ได้ รอ้ ย ละ 80 ของปริมาณน้ําใช้ 3) ระบบทอ่ รวบรวมนา้ํ เสียต้องไม่ใหม้ กี ารรว่ั ซึม 4) นา้ํ ทงิ้ ทผี่ ่านการบําบัดแล้ว ตอ้ งผา่ นการฆ่าเช้ือโรคก่อนปล่อยท้ิงสภู่ ายนอก 4.1) กรณีใช้คลอรนี ในระบบฆา่ เชอื้ โรค - บรเิ วณวางถังคลอรนี ต้องไม่โดนแสงแดด อากาศถ่ายเทได้สะดวก - การเตรยี มคลอรนี ควรใชใ้ หห้ มดภายใน 1 วนั - บอ่ สมั ผัสคลอรีนสาํ หรบั ฆ่าเชื้อโรค ตอ้ งมรี ะยะเวลากักเก็บมากกว่า 30 นาที และทําการตรวจ ปริมาณคลอรีนอิสระคงเหลือในนํ้าทงิ้ (Chlorine Residual) บริเวณจดุ ระบายน้าํ ทงิ้ ส่ภู ายนอก ให้มคี ่าไมน่ อ้ ยกวา่ 1 มลิ ลิกรมั /ลติ ร และตรวจวดั อย่างนอ้ ยวันละ 2 ครงั้ (เชา้ -เยน็ ) 4.2) กรณีใชร้ ะบบฆา่ เช้อื โรคดว้ ยวิธีการอ่ืน เช่น ยวู ี หรือ โอโซน ตอ้ งดูแลบํารงุ รกั ษาและปฏบิ ตั ติ ามคู่มอื การใชง้ านของบริษัทผผู้ ลิต 5) ห้ามนาํ นา้ํ ทิ้งหรือน้ําเสยี หมุนเวียนกลบั มาใช้ซํ้า 6) ตรวจวดั คณุ ภาพน้าํ ทิง้ อยา่ งนอ้ ย เดอื นละ 1 คร้งั ตามมาตรฐานและกฎหมายทเ่ี ก่ียวขอ้ ง 7) แนวทางปฏิบัติของผูป้ ฏบิ ตั งิ านประจาํ ระบบบาํ บัดนาํ้ เสีย 7.1) ผ้ปู ฏิบตั ิงานต้องมคี วามรู้ในเร่อื งการปฏบิ ัตงิ านและการปอ้ งกันการติดเช้อื 7.2) ในการปฏิบตั งิ านทุกครงั้ ผปู้ ฏิบตั ิงานต้องสวมใส่อุปกรณป์ ้องกันอนั ตรายสว่ นบุคคล 7.3) ในขณะท่ปี ฏบิ ัตงิ านควรหลกี เลยี่ งการสัมผัสใบหนา้ ปาก ตา จมูก หรือบาดแผล 7.4) หากสงิ่ ปฏิกูลหรอื นํา้ เสียสมั ผัสดวงตา ให้ลา้ งตาด้วยน้ําสะอาด โดยทนั ที 7.5) ไมส่ วมชุดปฏิบัติงานและอุปกรณป์ ้องกันออกจากที่ทาํ งาน 7.6) ทาํ ความสะอาดอุปกรณ์ป้องกันส่วนบคุ คล รองเท้าบทู ผา้ ยางกันเปอ้ื น ชดุ กันนาํ้ เสื้อผา้ ทป่ี นเป้ือน ทกุ วัน ด้วยสารซกั ลา้ งท่สี ามารถฆ่าเชอื้ โรคได้ เชน่ นํ้ายาฟอกผ้าขาวทีเ่ จือจางตามท่กี รมอนามัยกาํ หนดทง้ิ ไว้ นาน 10 นาที ล้างนา้ํ และตากใหแ้ ห้ง 7.7) ชดุ อุปกรณป์ ้องกนั สว่ นบคุ คลชนดิ ใช้คร้งั เดียว เชน่ ถงุ มือ หน้ากากอนามยั เม่อื ปฏบิ ตั ิงานเสรจ็ ให้ ถอดใส่ถุงแดงทันที ปดิ ถุงให้สนิท ส่งกาํ จดั แบบมูลฝอยตดิ เชื้อ 7.8) หลงั การปฏิบตั งิ านเสรจ็ แล้วใหช้ ําระล้างรา่ งกายทนั ที การจัดการน้าํ อุปโภคบริโภค 1) จัดให้มผี ู้รับผดิ ชอบดแู ลอยา่ งน้อย 1 คน มีความรูใ้ นเรอ่ื งการปฏิบัตงิ านและการปอ้ งกนั การติดเช้อื 22

2) จัดให้มีน้ําอุปโภคบรโิ ภค ใหพ้ รอ้ มใชแ้ ละเพยี งพอ อยา่ งนอ้ ย 200 ลิตร/คน/วัน และมแี ผนการสาํ รองนา้ํ ใน กรณีเหตฉุ ุกเฉิน 3) นํ้าสําหรบั บริโภค ตอ้ งใส สะอาด ไม่มสี ิ่งเจือปน ไม่มรี ส กลน่ิ สี ทผ่ี ิดปกติ 4) นา้ํ สาํ หรบั อุปโภค เชน่ นาํ้ ประปา น้าํ บาดาล ตอ้ งใส สะอาด ไม่มตี ะกอน และมกี ารฆ่าเชอื้ โรคด้วยคลอรีน 5) ทาํ ความสะอาดถงั เก็บสาํ รองน้าํ ทุกเดือน และฆา่ เชื้อโรคด้วยนาํ้ ผสมคลอรนี การจดั การระบบสนับสนนุ ด้านวิศวกรรมการแพทย์ 1) มีระบบไฟฟ้า 220 V 50 Hz พรอ้ มระบบสายดินเพือ่ ความปลอดภยั 2) มีระบบสวิตชเ์ ลือกแหล่งจา่ ยไฟฟ้า ระหวา่ งแหล่งจา่ ยไฟฟา้ หลกั และแหล่งจ่ายไฟฟ้าสาํ รอง 3) มตี ู้ควบคุมระบบไฟฟา้ สาํ หรับแยกควบคมุ วงจรไฟฟา้ 4) วงจรไฟฟา้ เฉพาะจดุ หรอื วงจรเตา้ รับไฟฟา้ ทต่ี ่อไปใชง้ านภายนอกอาคารหรือวงจรไฟฟา้ ที่ใชใ้ นสถานทเี่ ปยี กชน้ื ควรติดต้งั เคร่ืองตัดไฟรวั่ เป็นอุปกรณ์เสรมิ ความปลอดภัยเพิม่ เติมจากระบบสายดิน 5) มเี ครื่องกาํ เนดิ ไฟฟ้าสาํ รองขนาดพกิ ดั กาํ ลังที่เหมาะสม มคี วามจถุ งั น้ํามันเช้ือเพลิงประจําเครอ่ื งที่ สามารถจา่ ย นํ้ามนั เชอ้ื เพลิงใหเ้ ครื่องกําเนดิ ไฟฟ้าเม่ือจ่ายกระแสไฟฟา้ เตม็ กําลังได้ไม่ตํา่ กวา่ 4 ชั่วโมง และควรมี ระบบการ สาํ รองน้าํ มันเช้อื เพลงิ ให้เครอื่ งกําเนดิ ไฟฟา้ จ่ายกระแสไฟฟ้าเต็มกาํ ลังไดต้ อ่ เน่อื งไม่น้อยกว่า 48 ชว่ั โมง 6) มีแสงสวา่ งสําหรบั การปฏิบตั ิงานท่ีเพยี งพอ สามารถมองเหน็ สิ่งตา่ ง ๆ ไดช้ ัดเจน เหมาะสมกบั กิจกรรมแตล่ ะ พื้นท่ี 7) มเี ครอื่ งดับเพลิงแบบมอื ถอื ท่ีเหมาะสมตามประเภทของเพลิง ติดต้ังในพนื้ ท่ีอยา่ งน้อย 1 เครอื่ งต่อพ้นื ท่ี ไมเ่ กิน 1,000 ตารางเมตร หรอื ทุก ๆระยะ 45 เมตร 8) มีอุปกรณ์แจ้งเตือนเหตเุ พลิงไหม้เฉพาะจดุ และตดิ ตัง้ ในพ้นื ที่ 9) มีแผนผังแสดงเส้นทางหนไี ฟ ป้ายทางออกฉกุ เฉิน มีแผนการอพยพและระงับอคั คภี ัย 10) มรี ะบบสือ่ สารฉกุ เฉินสองทาง ระหวา่ งพ้นื ทีก่ กั กันผ้ปู ว่ ยติดเช้อื อาการไมร่ นุ แรงกับ Nurse station 11) มีระบบวทิ ยุสอื่ สารสาํ หรับใช้ภายในพน้ื ที่ และตดิ ต่อประสานงานกบั โรงพยาบาลหลัก 12) มีระบบเครือขา่ ยอนิ เตอร์เน็ต 13) มีระบบเสยี งตามสาย 14) มรี ะบบกล้องวงจรปดิ 23

แหล่งอา้ งอิง : 1. กรมการแพทย์ (2564). แนวทางการจดั ตัง้ โรงพยาบาลสนาม กรณีการระบาดของโรคตดิ เช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด. กระทรวงสาธารณสุข. ฉบบั ท่ี 1 วนั ท่ี 25 มกราคม 2564 2. กรมควบคุมโรค (2563). แนวทางการทาํ ความสะอาดฆ่าเชอ้ื ในสถานทีท่ ี่ไม่ใช่สถานพยาบาล โรคตดิ เชื้อ ไวรสั โคโรนา 2019. กระทรวงสาธารณสุข. วันที่ 17 กุมภาพนั ธ์ 2563 3. กรมสนบั สนุนบรกิ ารสขุ ภาพ (2564). แนวทางการจัดต้ังโรงพยาบาลสนามกรณีการระบาดโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 ในกลุ่มผปู้ ่วยไมแ่ สดงอาการหรือมีอาการน้อย. กระทรวง สาธารณสุข. ฉบบั ที่ 1 วันที่ 14 มกราคม 2564 4. สํานกั งานป้องกันควบคมุ โรคติดเชื้อและเช้อื ด้ือยาในโรงพยาบาล. (2563). ขอ้ แนะนําแนวทางการ ปฏิบัติการป้องกันและควบคมุ โรคติดเชอื้ กรณโี รคโคโรนาไวรสั สายพันธุใ์ หม่ 2019 (Novel Corona virus: nCoV). ฉบบั วนั ที่ 3 กมุ ภาพันธ์ 2563. สถาบันบําราศนราดรู . 24

แบบฟอรม์ รายข้อเบอื้ งต้นในการจัดตัง้ ศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชมุ ชน (Check list) ช่อื ศนู ย์แยกกกั ตัวในชมุ ชน* .................................................................................... สถานท่ตี งั้ ศนู ย์แยกกกั ตัวในชมุ ชน* เลขท.ี่ ................ตรอก/ซอย....................................หมู่ที่.................ถนน........................................ ตําบล/แขวง.................................. อาํ เภอ/เขต...................................จงั หวดั ................................. เขต/เทศบาล/อบต...........................รหัสไปรษณยี .์ ....................... เบอรโ์ ทรศพั ท.์ ........................................ ผบู้ รหิ ารจดั การ* ชอื่ .................................. นามสกลุ .............................................................. หมายเลขโทรศพั ทท์ ี่สามารถตดิ ต่อได้*................................................ อเี มล์........................................................ สถานพยาบาลคูส่ ญั ญา ...................................................... หัวขอ้ ดาํ เนินการ ยงั ไม่ได้ หมายเหตุ แลว้ ดาํ เนนิ การ 1. การบริหารจัดการ 1.1 ประเมนิ ความพรอ้ มของชุมชน 1.2 ส่ือสารความพร้อมของชุมชน 1.3 ประสานงานกบั สถานพยาบาลค่สู ัญญา 1.4 ประสานงานกับสาํ นกั งานเขต/ อปท. หรอื ศนู ย์ ประสานงานการจดั ต้งั ศูนยแ์ ยกกกั ตวั ในชุมชน 1.5 มีระบบการอบรม 2. สถานท่ี 2.1 สถานทีต่ ง้ั มอี ากาศถา่ ยเท 2.2 สถานทตี่ ั้งไม่อยูใ่ นหรอื ใกลพ้ น้ื ท่แี ออัด เช่น ชมุ ชน ตลาดสด 2.3 เตรียมระบบขนสง่ ผู้ปว่ ย 2.4 มกี ารจดั ผังเตยี ง ตามโซนความรุนแรง แยกเพศ และระยะหา่ งระหวา่ งเตียง 2.5 มรี ะบบไฟฟ้า ประปาพรอ้ ม 2.6 มีระบบสือ่ สารสาํ หรับการแพทย์ทางไกล 2.7 มรี ะบบรกั ษาความปลอดภัย (บคุ ลากร/CCTV) 2.8 ระบบการควบคุมการเขา้ ออกและป้องกนั การ ปนเปอื้ นกบั บรเิ วณโดยรอบ 2.9 มอี ปุ กรณ์ดับเพลงิ และแผนการขนย้ายผู้ปว่ ยกรณี เกิดเพลงิ ไหม้ 25

หัวข้อ ดาํ เนินการ ยังไมไ่ ด้ หมายเหตุ แลว้ ดาํ เนินการ 3. อุปกรณ์ ยา เวชภัณฑ์ 3.1 อปุ กรณส์ าํ นกั งาน 3.2 อุปกรณ์ปอ้ งกันตัวสําหรับเจา้ หน้าท่แี ละผ้ปู ว่ ย 3.3 เครื่องมอื แพทย์ เช่น เครอื่ งวดั ความดัน ท่วี ัด อณุ หภมู ิ เครือ่ งวัดออกซิเจน เป็นตน้ 3.4 ระบบการให้ออกซิเจน 3.5 อปุ กรณก์ ารชว่ ยฟนื้ คนื ชพี และยาท่จี าํ เปน็ 3.6 อปุ กรณ์อ่นื ในการดํารงชพี 4. ระบบการขนสง่ อาหาร 3 มื้อ 5. ระบบการจัดการมูลฝอยตดิ เช้ือและสขุ าภิบาล 5.1 มีบคุ ลากรทมี่ ีความเข้าใจเรอื่ งการจดั การมลู ฝอย ติดเช้อื และสุขาภบิ าล 5.2 ตดิ ตอ่ หน่วยงานรฐั / เอกชนในการกาํ จดั มลู ฝอยติด เชอื้ 5.3 มีวัสดอุ ุปกรณ์ในการจดั การมลู ฝอยตดิ เชอ้ื 5.4 มีระบบและวสั ดอุ ุปกรณ์ในการจัดการส้วม หอ้ ง อาบน้าํ 5.5 มีระบบและวัสดุอุปกรณ์ในการจดั การสงิ่ ปฏิกูล 5.6 มรี ะบบและวัสดอุ ปุ กรณใ์ นการจัดการน้ําเสยี 6. มีกิจกรรมส่งเสรมิ สขุ ภาพท้ังทางกายและใจ ระหวา่ งอยู่ในศนู ย์กักตัวในชมุ ชน 7. มีระบบการเฝ้าระวัง 7.1 มรี ะบบการเฝา้ ระวงั ผตู้ ิดเชื้อไมใ่ ห้เขา้ ไปปะปนใน ชมุ ชน หรือกลบั กนั 7.2 มีระบบการเฝา้ ระวงั การปนเปอ้ื นของเช้อื เข้ามาใน ชมุ ชน โดยเฉพาะเรอื่ งการกาํ จดั น้ําเสีย และการจัดการ ส่ิงปฏิกลู ขยะมูลฝอยติดเช้ือ *รายละเอยี ดของแตล่ ะรายการสามารถดูเพม่ิ เตมิ ไดใ้ น แนวทางการจดั ต้ังศนู ย์แยกกกั ตวั ในชุมชน (Community Isolation) กรณีการระบาดโรคตดิ เชื้อไวรสั โคโรนา 2019 หรอื โรคโควิด 19 โดย กรมอนามัย 26

ทีป่ รึกษา นายแพทยส์ ุวรรณชยั วัฒนายงิ่ เจริญชัย อธิบดีกรมอนามยั นายแพทย์อรรถพล แกว้ สัมฤทธิ์ รองอธบิ ดี กรมนามยั นายแพทยด์ นัย ธวี นั ดา รองอธิบดี กรมนามัย นายแพทย์บัญชา ค้าของ รองอธิบดี กรมนามัย นายแพทย์สราวุฒิ บุญสขุ รองอธบิ ดี กรมนามยั นายแพทย์เกษม เวชสทุ ธานนท์ ผ้อู าํ นวยการสถาบันพฒั นาสุขภาวะเขตเมอื ง นายแพทยเ์ อกชัย เพียรศรีวัชรา ผอู้ าํ นวยการสํานักสง่ เสรมิ สุขภาพ ทนั ตแพทย์ดํารง ธาํ รงเลาหะพนั ธุ์ ผอู้ าํ นวยการกองแผนงาน นายสมชาย ตู้แก้ว ผอู้ ํานวยการสาํ นักอนามยั สง่ิ แวดล้อม นางณรี นชุ อาภาจรสั นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการพิเศษ 27

คณะทาํ งาน แพทย์หญงิ ฐิตภิ รณ์ ตวงรตั นานนท์ สํานักส่งเสรมิ สุขภาพ นายแพทยน์ ิธริ ัตน์ บญุ ตานนท์ สํานกั อนามยั ผสู้ งู อายุ ศูนย์อนามยั ที่ 1 นายแพทย์ศุภฤกษ์ สอ่ื รงุ่ เรอื ง ศนู ยอ์ นามยั ที่ 7 นายแพทย์ไพบูรณ์ จัดกลุ สาํ นักทนั ตสาธารณสุข ทนั ตแพทย์พูลฤกษ์ โสภารัตน์ สาํ นกั ทนั ตสาธารณสุข ทันตแพทย์ณัฐพงษ์ กนั ทะวงค์ ศูนยอ์ นามยั ท่ี 3 ทนั ตแพทยก์ ษิดิศ ทิพวรรณ ศูนย์อนามัยท่ี 4 เภสชั กรหญงิ ประภัสสร จนิ านุรักษ์ สํานกั โภชนาการ สาํ นกั อนามยั การเจรญิ พนั ธ์ุ นางสาววรรณชนก บญุ ชู สาํ นกั สง่ เสริมสุขภาพ นายวชั รากร เรียบร้อย สาํ นกั อนามยั การเจรญิ พันธุ์ นางสาวภัทราพร เทวอักษร สาํ นกั อนามยั ผสู้ ูงอายุ นางสาวนฎาประไพ สาระ สาํ นกั อนามยั ผู้สงู อายุ นางสาวปรมิ สุดา อปุ ระรตั น์ นายทรงพล คํานึงเกียรติวงศ์ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ทอ่ี ยู่ 88/22 ม.4 ถ.ตวิ านนท์ ต.ตลาดขวญั อ.เมือง จ.นนทบรุ ี 11000 โทรศัพท์ 0-2590-4000 โทรสาร 0-2590-4094 อเี มล [email protected] 28


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook