Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กลุ่มโรค NCD (สื่อการสอน)

กลุ่มโรค NCD (สื่อการสอน)

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-05-14 12:30:16

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

สื่อการสอนกลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases)

1.โรคเบาหวาน การจาแนกกล่มุ NCDs 2.โรคหลอดเลอื ดสมองและหวั ใจ NCDs 3.โรคอว้ นลงพงุ (Non-Communicable diseases) 4.โรคความดนั โลหติ สงู 5.โรคถงุ ลมโปง่ พอง 6.โรคมะเรง็

• NCDs (Non-Communicable diseases) คือ กลุ่มโรคไม่ตดิ ตอ่ เร้ือรัง ซ่ึงไมไ่ ดม้ ีสาเหตจุ าก การตดิ เชื้อ เชือ้ โรค หรอื พาหะนาโรค แต่เกิดจากการเส่อื มสภาพของร่างกาย และสว่ นหนึ่งมา จากพฤติกรรมการใช้ชีวติ ที่ไมร่ ะวงั ของเรานั่นเอง • กลุ่มโรค NCDs (Non-Communicable diseases) จาแนกไดเ้ ปน็ 6 โรคทม่ี อี ตั ราผู้ป่วยและ ผเู้ สยี ชีวิตสงู สดุ ดงั ต่อไปนี้ 1. โรคเบาหวาน 2. โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ 3. โรคอว้ นลงพงุ 4. โรคความดันโลหติ สูง 5. โรคถุงลมโปง่ พอง 6. โรคมะเรง็



• ความหมายโรคเบาหวาน • โรคเบาหวาน คือ โรคที่เซลล์ร่างกายมีความผิดปกติในขบวนการเปล่ียนน้าตาลใน เลือดใหเ้ ป็นพลงั งาน โดยขบวนการนีเ้ ก่ยี วขอ้ งกับอนิ ซูลินซึ่งเป็นฮอรโ์ มนที่สร้างจากตับ อ่อนเพือ่ ใช้ควบคมุ ระดับนา้ ตาลในเลือด เม่ือนา้ ตาลไม่ได้ถูกใช้จึงทาให้ระดับนา้ ตาลใน เลอื ดสูงข้นึ กว่าระดับปกติ

• โรคเบาหวาน (Diabetes) ร่างกายเกดิ ภาวะการขาด ฮอร์โมนอินซูลนิ เน่อื งจากผลติ ได้ไม่เพียงพอหรอื ประสิทธภิ าพของฮอร์โมนอนิ ซูลนิ ลดน้อยลง ก็จะทาให้ ร่างกายไม่สามารถนานาตาลกลูโคสที่มีอยู่ไปใช้ได้ • คนสุขภาพดี (Healthy) ฮอร์โมนอินซูลนิ ผลติ เพียงพอ และสามารถนานาตาลท่ีผลติ ได้ไปใช้เพียงพอ 1. Type I Diabetes โรคเบาหวานชนดิ พ่ึงอนิ ซูลนิ เกิด จากเบต้าเซลล์ของตับอ่อนถูกทาลายทาให้ไม่สามารถ สร้างอินซูลนิ ได้ 2. Type I Diabetes เบาหวานชนดิ ไม่พ่ึงอนิ ซูลนิ ร่างกายยังคงสามารถผลติ อนิ ซูลนิ ได้ แต่เกดิ การดอื ต่อ อินซูลิน หรอื อาจมีความผดิ ปกตใิ นการหลั่งอนิ ซูลนิ ร่วมด้วย ทม่ี า:http://www.biotech.mju.ac.th/Upload/Document/973_BI300_%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B8%E0%B8%81%E0%B8%95%E0%B9%8C.pdf

• ชนิดโรคเบาหวานแบ่งเปน็ 4 ชนดิ ตามสาเหตขุ องการเกดิ โรค 1. โรคเบาหวานชนดิ ท่ี 1 (type 1 diabetes mellitus, T1DM) เกดิ จากเซลล์ตบั อ่อนถกู ทาลายจากภูมคิ มุ้ กันของ รา่ งกาย ทาใหข้ าดอินซลู ิน มักพบในเดก็ 2. โรคเบาหวานชนิดที่ 2 (type 2 diabetes mellitus, T1DM) เปน็ ชนดิ ที่พบบอ่ ยท่สี ุด ร้อยละ 95 ของผูป้ ่วย เบาหวานทงั้ หมด เกิดจากภาวะดอ้ื ตอ่ อินซูลนิ มกั พบในผูใ้ หญ่ทม่ี นี า้ หนักเกนิ หรืออ้วนรว่ มด้วย 3. โรคเบาหวานขณะตัง้ ครรภ์ (gestational diabetes mellitus, GDM) เป็นโรคเบาหวานทีเ่ กิดขึ้นขณะต้งั ครรภ์ มักเกดิ เมอื่ ไตรมาส 2-3 ของการตงั้ ครรภ์ 4. โรคเบาหวานที่มสี าเหตุจาเพาะ (specific types of diabetes due to other causes) มีไดห้ ลายสาเหตุ เช่น โรคทางพนั ธกุ รรม โรคของตับอ่อน โรคทางต่อมไรท้ ่อ ยาบางชนิด เป็นตน้

• การวินิจฉยั เบาหวาน ทาไดโ้ ดยวิธใี ดวธิ หี น่งึ ใน 4 วธิ ี ดงั ต่อไปนี้ 1. มอี าการโรคเบาหวานชัดเจน ไดแ้ ก่ หวิ น้าบ่อย ปสั สาวะบอ่ ยและปริมาณมาก นา้ หนักตัวลดลงโดยไมม่ ีสาเหตุ ร่วมกบั ตรวจระดับน้าตาลในเลือดเวลาใดก็ได้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งอดอาหาร ถ้ามีค่า ≥200 มก./ดล. 2. ระดับน้าตาลในเลอื ดหลงั อดอาหาร (อย่างนอ้ ย 8 ชั่วโมง) ≥ 126 มก./ดล. 3. การตรวจความทนตอ่ กลูโคส โดยให้รบั ประทานกลโู คส 75 กรัม แลว้ ตรวจระดับน้าตาลในเลือดที่ 2 ชั่วโมง ถา้ มี คา่ ≥ 200 มก./ดล. 4. การตรวจระดับนา้ ตาลสะสม (A1C) ≥ 6.5% โดยวธิ ีการตรวจและหอ้ งปฏิบตั ิการต้องได้รับการรบั รองตาม มาตรฐานทีก่ าหนด ซ่ึงยงั มีนอ้ ยในประเทศไทย ดงั นัน้ จงึ ไมแ่ นะนาใหใ้ ชว้ ิธีนี้

• อาการโรคเบาหวาน 1. โรคเบาหวาน : ชีวติ ติดหวาน ✓ ฉีบ่ อ่ ยกวา่ ปกติ โดยเฉพาะกลางคนื ✓ หิวนา้ ตลอดเวลา ✓ นา้ หนกั ลดไม่ทราบสาเหตุ ✓ เปน็ แผลทีไรหายยาก ✓ ผิวแหง้ คันผวิ หนัง ✓ เหนอื่ ยงา่ ย อ่อนเพลยี ✓ มปี ้นื ดาตามคอ ขอ้ พับ ขาหนีบ ✓ ตาแหง้ ตาพรา่ มวั

• การรกั ษาโรคเบาหวาน • ประเภทท่ี 1 จาเปน็ ต้องได้รับฮอรโ์ มนอนิ ซูลินเข้าไปทดแทนในรา่ งกายดว้ ยการฉีดยาเปน็ หลกั ควบคไู่ ปกับการคมุ อาหาร และออกกาลงั กายท่เี หมาะสม • ประเภทที่ 2 หากเปน็ ระยะแรกๆ รกั ษาได้ด้วยการรบั ประทานอาหารทเ่ี หมาะสม การออกกาลงั กาย และควบคุม นา้ หนกั หากอาการไม่ดีขนึ้ แพทย์อาจให้ยาควบคุมไปด้วย หรอื ฉดี อินซลู ินเขา้ ไปทดแทนเช่นเดยี วกบั โรคเบาหวาน ชนิดที่ 1

• อา้ งองิ • ผศ.พญ. พิมพใ์ จ อนั ทานนท์. โรคเบาหวาน สมาคมโรคเบาหวานแห่งประเทศไทย. สบื ค้นวนั ท่ี 23 เมษายน 2565. จาก https://www.dmthai.org/index.php/knowledge/for-normal-person/health- information-and-articles/health-information-and-articles-old-3/846-2019-04-20-01-49- 18. • อาการโรคเบาหวาน. สานักงานกองทุนสนบั สนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). สบื คน้ วนั ที่ 23 เมษายน 2565. จาก https://www.thaihealth.or.th/sook/info-body-detail.php?id=254.



• ความหมายโรคหลอดเลือดสมองและหวั ใจ • โรคหลอดเลือดสมอง (Cardiovascular Diseases) เป็นภาวะที่เกิดข้ึนเมื่อไขมันหรือลิ่มเลอื ดเกิด การอุดตนั แล้วเข้าไปค่ังอยู่ในเส้นเลือดท่ีจะไปหล่อเลี้ยงสมอง ทาให้เซลล์สมองขาดออกซิเจนและ ถกู ทาลายไป ซึง่ หากไม่ได้รับการรักษาจากแพทย์ทันท่วงที ก็อาจนาไปสู่ภาวะอมั พาตได้ หรือหาก รุนแรงกว่าน้ันคือเกดิ ภาวะเสน้ เลือดสมองแตก ก็อาจถึงขั้นเสียชีวิตโดยกะทันหันได้ • โรคหลอดเลือดหัวใจ (Cerebrovascular Diseases) เกิดจากความเสี่ยงของเส้นเลือด ผลจาก การมีไขมันและการสะสมของหินปูนไปเกาะท่ีเส้นเลือดแดง จนเกิดการอุดตันหรือเส้นเลือด ปริแตกเกิดขึ้นจึงส่งผลให้กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดไปเลี้ยง บางรายอาจเกิดการเสียชีวิตแบบ เฉยี บพลันได้

ทม่ี า: https://www.khaosod.co.th/lifestyle/news_4201535

• ปัจจยั เสี่ยงต่อการเกิดโรค • ปัจจัยเสี่ยงทป่ี ้องกนั ไมไ่ ด้ 1. อายุ เม่อื อายมุ ากขน้ึ หลอดเลือดกจ็ ะเสื่อมตามไปดว้ ย 2. เพศ พบวา่ เพศชายมคี วามเสี่ยงตอ่ การเกิดโรคมากกวา่ เพศหญงิ 3. ภาวการณ์แขง็ ตวั ของเลอื ดเรว็ กว่าปกติ ส่งผลให้เกิดการจบั ตัวกันของเม็ดเลอื ดและมลี มิ่ เลอื ดเกดิ ขึ้นไดง้ า่ ย • ปจั จยั ที่ปอ้ งกันได้ 1. ความดนั โลหิตสงู 2. เบาหวาน 3. ไขมันในเลือดสูง ภาวะไขมนั สะสมอย่ตู ามผนงั หลอดเลอื ด ทาให้กีดขวางการลาเลียงเลอื ด 4. โรคหัวใจ เช่น โรคลิ้นหัวใจผิดปกติ หัวใจเต้นผิดจังหวะ เป็นสาเหตุของการเกิดลิ่มเลือด ถ้าล่ิมเลือดไปท่ีหลอดเลือดสมอง ก็จะทาให้ สมองขาดเลอื ดได้ 5. การสูบบุหรี่ สารนิโคตินและคาร์บอนมอนอกไซด์ทาให้ปริมาณออกซิเจนลดลง และเป็นตัวทาลายผนังหลอดเลือดทาให้หลอดเลือด แข็งตวั พบวา่ การสบู บุหรีเ่ พียงอยา่ งเดียวเพ่มิ ความเส่ียงตอ่ โรคหลอดเลือดสมองถึง 3.5 % 6. การขาดการออกกาลังกาย

• อาการเตือนของโรคหลอดเลือดสมอง 1. ชาหรืออ่อนแรงที่ใบหนา้ หรือบรเิ วณแขนขาคร่ึงซีกของรา่ งกาย 2. พดู ไมช่ ัด ปากเบี้ยว มุมปากตก น้าลายไหล กลนื ลาบาก 3. ปวดศรี ษะ เวยี นศรี ษะทนั ทที ันใด 4. ตามวั มองเหน็ ภาพซ้อนหรอื เห็นครง่ึ ซีก หรอื ตาบอดขา้ งเดียว ทันทที ันใด 5. เดนิ เซ ทรงตัวลาบาก • อาการเตอื นของโรคหลอดเลือดหัวใจ 1. การจุกแน่นหน้าอก จะมอี าการจุกบริเวณยอดอกตรงกลาง มักเป็นในขณะออกก้าลังกาย หลังจากหยุดออกกาลังกายอาการเหล่านี้จะ หายไป 2. อาการเหนอื่ ยงา่ ยกวา่ ปกติ โดยเฉพาะเวลาออกแรงจากภาวการณ์ค่อยๆ ตีบของหลอดเลือดเป็นเวลานานๆ และอาจพบว่ามีหัวใจวาย คอื บวมท่หี นา้ คอ และขาร่วมด้วยก็ได้ 3. ภาวะหัวใจเต้นผิดปกติ อาจพบว่าจังหวะการเต้นของชีพจรมีสะดุดหรือไม่สม่าเสมอ โดยท่านอาจตรวจเองโดยการจับชีพจรท่ีบริเวณ ข้อมือ ถ้าท้ิงไว้โดยไม่รักษาอาการจะเป็นบ่อยขึ้นและรุนแรงขึ้นเร่ือยๆ เช่น มีอาการหน้ามืดเป็นลมหมดสติ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ตบี บางรายมโี อกาสตายเฉยี บพลนั ได้

• อาหารกบั โรคหลอดเลอื ดสมองและหวั ใจ การป้องกนั การกลับเปน็ ซ้า 1. อาหารที่มีรสหวาน ได้แก่ ขนมหวาน ผลไมเ้ ช่อื ม น้าเชือ่ มบรรจุกระปอ๋ ง อาหารหมกั ดอง ผลไมท้ ี่รสหวานจดั 2. เครือ่ งดื่มท่มี ีรสหวาน น้าหวาน นมปรุงแต่งรสตา่ งๆ เชน่ โอวนั ติน ไมโล โยเกิรต์ ยาคลู ท์ และ ชา กาแฟ หลีกเลี่ยงน้าอัดลม เคร่ืองดื่มชู กาลงั หรอื เคร่อื งดม่ื ทีม่ ีแอลกอฮอลท์ กุ ชนดิ 3. หลีกเลย่ี งการกนิ อาหารท่มี ไี ขมนั อิ่มตวั ไดแ้ ก่ กะทิ ไขมันสตั ว์ หนงั สตั ว์ และเนื้อสตั ว์ติดมนั รวมทั้งอาหารแปรรูป 4. การรบั ประทานอาหารจกุ จิกและไมต่ รงเวลา 5. ควรงดอาหารทเ่ี ติมซอสหรอื นา้ ปลา กะปิ ในอาหารท่ีรับประทาน หลีกเลีย่ งการใช้ผงชูรสในการปรงุ อาหาร 6. หลีกเลย่ี งอาหารทม่ี รี สเค็มจดั หรือมปี ริมาณโซเดยี มสูง เช่น ถว่ั อบเนย ข้าวโพดค่ัว อาหารแปรรูปตา่ งๆ 7. เลอื กใช้นา้ มันพืชปรงุ อาหาร เช่น นา้ มนั รา้ ขา้ ว น้ามันถ่วั เหลือง ยกเว้น นา้ มนั ปาลม์ และน้ามนั มะพรา้ ว แทนน้ามันหมใู น การทอดหรือผัด หรอื ใชว้ ธิ นี ่งึ ย่าง อบ ตุ๋น 8. เลือดกินอาหารที่มีเส้นใยเพิ่มขึ้น เช่น ผัก (เลือกรับประทานได้ในชนิดที่ไม่ทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มสูงขึ้น) ผลไม้ เช่น ส้ม ฝรั่ง มะละกอ ข้าวซ้อมมือและขา้ วกล้อง 9. เลือกด่ืมนมท่พี ร่องมนั เนย นมไม่มีไขมนั 10. รบั ประทานปลาใหบ้ ่อย โดยเฉพาะปลาทะเล เชน่ ปลาทู

• การป้องกันเปน็ การรักษาโรคหลอดเลือดสมอง 1. ตรวจเช็คสุขภาพประจาปีเพอ่ื ค้นหาปจั จัยเสย่ี ง 2. ถา้ พบปัจจยั เส่ยี ง ต้องรีบรักษาและพบแพทย์และรับประทานยาอย่างสม่าเสมอตามแผนการรักษาของแพทย์ ห้ามหยุดยาเอง และควร รบี พบแพทยท์ นั ทถี า้ มีอาการผิดปกติ 3. ควบคมุ ระดับความดนั โลหิต ไขมนั และนา้ ตาลในเลอื ดใหอ้ ยใู่ นเกณฑ์ปกติ 4. ควบคุมอาหารใหส้ มดลุ หลกี เลีย่ งอาหารรสเคม็ หวาน มัน 5. ออกกาลังกายสมา่ เสมอ อย่างน้อย 30 นาทีตอ่ วัน 3 ครัง้ ต่อสัปดาห์ และควบคมุ น้าหนกั ให้เหมาะสม 6. งดสบู บุหรี่ หลีกเล่ยี งเคร่อื งด่ืมแอลกออฮ ล์ถ้ามีอาการเตือนทแี่ สดงว่าเลอื ดไปเลย้ี งสมองไมพ่ อช่วั คราว ควรรบี มาพบแพทย์

• อ้างองิ • อาการโรคหลอดเลอื ดสมองและหัวใจ. สานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.). สืบค้นวันที่ 23 เมษายน 2565.จาก https://www.thaihealth.or.th/sook/info-body-detail.php?id=254. • งานโภชนาการ โรงพยาบาลแกง้ ครอ้ . โรคหลอดเลือดสมองและหัวใจ. สบื ค้นวนั ท่ี 23 เมษายน 2565.จาก http://www.kaengkhro.go.th/wordpress/wp-content/uploads/2019/02/%E0%B9%81%E0 %B8%9C%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B1%E0%B8%9A-%E0%B9%82% E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B9%80 %E0%B8%A5%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%A D%E0%B8%8712345.pdf.



• ความหมายอ้วนลงพงุ • อ้วนลงพุง (Metabolic Syndrome) คือ เป็นกลุ่มอาการท่ีเกิดจากความผิดปกติของ กระบวนการเผาผลาญอาหารในร่างกาย ส่งผลให้ผู้ป่วยมีไขมันสะสมท่ีหน้าท้องและมีรอบเอว ขนาดใหญ่ ทั้งยังมีระดับความดันโลหิต ไขมัน และน้าตาลในเลือดสูง มักเส่ียงต่อการเกิด ภาวะแทรกซ้อน เชน่ โรคเบาหวาน และโรคหวั ใจได้มากขน้ึ

• อาการของอ้วนลงพงุ • ส่วนใหญแ่ ลว้ ผ้ปู ่วยอ้วนลงพงุ จะไมแ่ สดงอาการใด ๆ มีรอบเอวหรือพุงขนาดใหญ่จนเห็นได้ชัด แต่ จากการสะสมของไขมนั ในชอ่ งทอ้ งจานวนมากจะส่งผลให้การเผาผลาญน้าตาลในร่างกายผิดปกติ จนน้าตาลในเลือดสูงขึ้นและเส่ียงต่อการเกิดโรคเบาหวาน อีกทั้งยังทาให้ระดับไขมันในเลือดและ ความดันโลหิตสูงข้ึนด้วย เมื่อเกิดภาวะนี้เป็นระยะเวลานาน ผนังหลอดเลือดแดงจะหนาข้ึนจนอาจ ทาให้เลือดไปเล้ียงกลา้ มเน้ือหัวใจได้น้อยลง ซ่ึงเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อนหรือเป็นอันตราย ถงึ ชวี ติ ได้

• สาเหตขุ องอว้ นลงพงุ • ภาวะอ้วนลงพุงนั้นอาจเกิดจากการมีน้าหนักตัวเกิน โรคอ้วน การเคล่ือนไหวร่างกายน้อย ขาด การออกกาลังกาย และการมีระดับน้าตาลในเลือดสูงจากภาวะด้ือต่ออินซูลิน ซึ่งเป็นปัจจัยหลักที่ ทาให้เป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 นอกจากนี้ บุคคลบางกลมุ่ อาจเสีย่ งต่อการเกิดภาวะอ้วนลงพุง ได้ เช่น ผู้สูงอายุ ชาวเอเชีย หรือผู้ที่มีเช้ือสายแอฟริกาแคริบเบียน ผู้ท่ีมีสมาชิกในครอบครัวมี ภาวะอ้วนลงพุงหรือเป็นโรคเบาหวานประเภทที่ 2 ผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด ผู้ป่วยโรคไขมัน พอกตับ ผู้ท่มี ีภาวะถงุ น้ารังไข่หลายใบ (PCOS) และผทู้ ีม่ ีภาวะเบาหวานขณะตง้ั ครรภ์ เป็นตน้

• การวินิจฉัยอว้ นลงพงุ • แพทย์จะวินิจฉัยจากการตรวจร่างกายและการตรวจเลือด ซ่ึงผู้ป่วยอ้วนลงพุงจะต้องมีความ ผิดปกติอยา่ งนอ้ ย 3 ข้อจาก 5 ขอ้ ดังต่อไปนี้ 1. เส้นรอบเอว ตั้งแต่ 80 เซนติเมตรข้ึนไปสาหรับเพศหญิง และ 90 เซนติเมตรข้ึนไปสาหรับเพศ ชาย 2. ระดบั คอเลสเตอรอลชนิดที่ดี (HDL) ต่ากว่า 50 มิลลิกรัม/เดซิลติ รสาหรับเพศหญิง และต่ากว่า 40 มลิ ลิกรัม/เดซิลติ รสาหรับเพศชาย 3. ระดบั ไขมันไตรกลีเซอไรด์ ตัง้ แต่ 150 มลิ ลิกรัม/เดซิลติ รขึ้นไป 4. ระดบั ความดันโลหิต ตั้งแต่ 130/85 มลิ ลิเมตรปรอทขนึ้ ไป 5. ระดับนา้ ตาลในเลือด ต้ังแต่ 100 มิลลิกรมั /เดซลิ ิตรข้ึนไป

• การรกั ษาอว้ นลงพุง 1. รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ เช่น ผัก ผลไม้ ธัญพืช ถั่ว อาหารที่ปราศจากไขมันชนิดที่ไม่ดี นมไขมันต่า เน้ือ ปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน เนื้อสัตว์ปีก และไข่ รวมถึงจากัดปริมาณการบริโภคอาหารที่มีรสเค็มจัดหรือหวานจัด และอาหารทม่ี ีไขมนั ทรานสห์ รือไขมนั อมิ่ ตวั 2. ควบคุมน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ควรมีดัชนีมวลร่างกายอยู่ท่ีระหว่าง 18.5-24.9 ซ่ึงแสดงถึงรูปร่างท่ีไม่อ้วน หรือผอมจนเกนิ ไป 3. จัดการกับความเครียด เพ่ือผ่อนคลายความเครียดท่ีเป็นตัวการทาให้ความดันโลหิตสูงและเส่ียงต่อการเกิด โรคหวั ใจและหลอดเลอื ด อาจปฏิบัติตัวไดห้ ลายวิธี เช่น เล่นกฬาี ึฝกโยคะ น่ังสมาธิ ทางานอดิเรกหรือกจิ กรรมที่ช่ืน ชอบ เป็นต้น 4. ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ เพราะนอกจากจะทาใหร้ ่างกายแข็งแรงแล้ว ยังอาจช่วยลดความเส่ียงของโรคหวั ใจและ โรคเบาหวานประเภทที่ 2 ได้ เพราะช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลชนิดที่ไม่ดี รักษาความดันโลหิตให้อยู่ในระดับที่ เหมาะสม และช่วยลดน้าหนกั ตัวได้ 5. เลกิ สบู บหุ รี่ เพราะการสบู บุหรเี่ ปน็ หนง่ึ ในตัวการท่ีทาให้เกิดโรคหวั ใจและหลอดเลือดหรือภาวะหวั ใจขาดเลอื ด

• การป้องกันอ้วนลงพุง • อว้ นลงพงุ สามารถปอ้ งกันไดด้ ว้ ยการปฏิบตั ติ ามแนวทาง ดังต่อไปน้ี 1. ควบคุมอาหาร รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ โดยหลีกเลี่ยงอาหารท่ีมีไขมันและน้าตาลสูง เพ่ือควบคุมน้าหนัก และลดการสะสมของไขมันท่ีหน้าท้อง ทั้งยังช่วยลดความดันโลหิต ลดระดับไขมัน และน้าตาลในเลือดให้อยู่ใน เกณฑ์ที่เหมาะสมดว้ ย 2. ปรับเปล่ียนพฤติกรรมในชีวิตประจาวัน เช่น ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมออย่างน้อยสัปดาห์ละ 150-300 นาที ทากจิ กรรมหรอื งานอดเิ รกเพอ่ื ผอ่ นคลายความเครยี ด และเลกิ สูบบหุ ร่ี

• อา้ งองิ • อาการโรคอว้ นลงพงุ . สานักงานกองทุนสนบั สนุนการสรา้ งเสรมิ สุขภาพ (สสส.). สืบคน้ วันท่ี 23 เมษายน 2565. จาก https://www.thaihealth.or.th/sook/info-body-detail.php?id=254. • พบแพทย์. อ้วนลงพุง. สืบคน้ วนั ท่ี 23 เมษายน 2565.จาก https://www.pobpad.com/%E0% B8%AD%E0%B9%89%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%A5%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0 %B8%B8%E0%B8%87.



• ความหมายโรคความดนั โลหติ สงู • โรคความดันสูง หรือ โรคความดันโลหิตสูง (Hypertension/High Blood Pressure) เป็นภาวะความดันเลือดภายในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา หากไม่ได้รับการรักษาท่ีถูกตอ้ งจะส่งผลให้เกิดปัญหาสุขภาพร้ายแรงตามมา จนอาจ ถึงข้นั เสยี ชวี ติ ได้

• อาการของโรคความดันสงู • โรคความดันสูงส่วนใหญ่ไม่ค่อยแสดงอาการผิดปกติ ยกเว้นในผ้ปู ่วยที่เป็นโรคความ ดันสูงระยะรุนแรงก็อาจมีอาการแสดง เช่น ปวดศีรษะรุนแรง หายใจสั้น เลือดกาเดา ไหล ซึ่งอาการเหล่านยี้ ังถือว่าเป็นอาการท่ีไม่เฉพาะเจาะจง และบอกไม่ได้ชัดเจน หรือ ในบางรายทราบเม่ือตรวจพบภาวะแทรกซ้อนจากโรคความดันสูงขึ้นแล้ว ทาให้ต้อง หม่ันมีการตรวจสุขภาพ และวัดค่าความดันโลหิตอย่างสม่าเสมอ จึงทาให้โรคน้ีถูก เรียกว่าเป็นฆฆ าตกรเงยี บ (Silent Killer) ทีท่ าให้ผูป้ ่วยเสยี ชีวติ ได้อย่างไม่ทนั ระวังตัว

• สาเหตขุ องโรคความดนั สงู • โรคความดันสูงแบ่งเปน็ 2 ประเภท คอื 1. ชนิดที่ยังไม่ทราบสาเหตุท่ีแน่ชัด (Primary Hypertension หรือ Essential Hypertension) ซึ่งไมส่ ามารถระบุถงึ ต้นเหตกุ ารณ์เกิดได้ 2. ชนิดที่ทราบสาเหตุ (Secondary Hypertension) ซ่ึงอาจเกิดได้จากหลายสภาวะ เชน่ ภาวะหยุดหายใจขณะหลับ โรคไต ปัญหาต่อมไทรอยด์ เนอื้ งอกที่ตอ่ มหมวกไต หลอดเลือดผดิ ปกตแิ ต่กาเนิด การใช้ยาบางชนิด การใชส้ ารเสพติด หรอื แอลกออฮ ล์

• การวนิ ิจฉยั โรคความดันสงู • แพทย์จะวินิจฉัยโรคความดันสูงโดยดูจากการวัดค่าความดันโลหิตของผู้ป่วยเป็นหลัก และมีการตรวจวัดหลาย ครั้ง เพ่อื ความแม่นยาของผลการตรวจ ซ่ึงค่าความดนั โลหติ ทีว่ ดั ได้จะแบ่งออกเปน็ 2 ค่า โดยตัวแรก (หรือตัวบน) เรียกว่า ค่าความดันซิสโตลิก (Systolic) เป็นความดันโลหิตในหลอดเลือดแดงขณะท่ีหัวใจบีบตัว และตัวท่ีสอง (หรือตัวล่าง) เรียกว่า ค่าความดันไดแอสโทลิก (Diastolic) เป็นค่าความดันโลหิตในหลอดเลือดแดงขณะหัวใจ คลายตัว • โดยในปี ค.ศ. 2017 (พ.ศ. 2560) สมาคมหัวใจของประเทศสหรัฐอเมริกา (American Heart Association: AHA) ได้ให้คานิยามของโรคความดันสูงว่าเป็นภาวะที่ตรวจพบความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่า 130/80 มิลลิเมตรปรอทข้ึนไป แต่หากวัดค่าความดันโลหิตได้ต้ังแต่ 120-129/น้อยกว่า 80 มิลลิเมตรปรอท แพทย์จะ วินจิ ฉยั ว่าผปู้ ว่ ยอย่ใู นภาวะกอ่ นความดนั สงู ซง่ึ เสี่ยงตอ่ การเป็นโรคความดันสงู ในอนาคต

• การรักษาโรคความดนั สงู • แพทย์จะแนะนาให้ผู้ป่วยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในด้านการรับประทานอาหารเบื้องต้น โดยการลดอาหารประเภท โซเดียมสูง เนน้ รบั ประทานผักและผลไมท้ ี่มีกากใยสูง ธญั พชื ปลาท่ีอดุ มไปดว้ ยกรดไขมันท่ดี ีตอ่ รา่ งกาย หลกี เลย่ี ง เนื้อสัตว์ประเภทเน้ือแดง ไม่ด่ืมแอลกอฮอล์ ควบคู่ไปกับการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอและการใช้ยาร่วมด้วย เพ่ือช่วยปรับค่าความดันโลหิตให้ลดลงอยู่ในระดับปกติ ท้ังน้ีการรักษายังต้องคานึงถึงชนิดของโรคด้วย เพราะ หากเปน็ ชนดิ ท่ีทราบสาเหตุ ผู้ป่วยมโี อกาสในการรักษาหายได้มากกวา่ ชนิดที่ไมท่ ราบสาเหตุ

• การปอ้ งกนั โรคความดันสูง • การควบคุมความดันโลหติ ในระยะยาวสามารถทาได้โดยการปรับพฤติกรรมการดาเนินชีวิต ทั้งใน เรื่องของการรับประทานอาหาร ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ไม่สูบบุหร่ี และควบคุมน้าหนักให้ อยู่ในเกณฑ์ปกติเป็นพ้ืนฐาน รวมไปถึงการหมั่นตรวจสุขภาพเป็นประจาเพื่อตรวจดูว่าความดัน โลหิตใหอ้ ยู่ในระดับปกติ

• อา้ งองิ • พบแพทย์. โรคความดันโลหิตสูง. สืบค้นวันที่ 23 เมษายน 2565.จาก https://www.pobpad.com/% E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8%B1%E0%B8%99 %E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%AA%E0%B8%B 9%E0%B8%87.



• ความหมายโรคถงุ ลมโป่งพอง • ถุงลมโป่งพอง (Emphysema) คือ เป็นโรคท่ีอยู่ในกลุ่มของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease: COPD) เกิดจากการอักเสบและแตกของเนื้อปอดที่บริเวณ ถุงลมปอด ทาให้เน้ือปอดมีถุงลมเล็ก ๆ มากมายคล้ายพวงองุ่น และรวมกับถุงลมที่อยู่ติดกันจน กลายเป็นถุงลมขนาดใหญ่ ทาให้มีพื้นผิวในการแลกเปลี่ยนออกซิเจนในปอดลดลงหรือมีอากาศ ค้างในปอดมากกว่าปกติ ซึ่งหากเกิดความผิดปกติมากขึ้นก็จะทาให้ผู้ป่วยถุงลมโป่งพองมีอาการ ผิดปกติ คือมอี าการหายใจต้ืน

• อาการของถงุ ลมโปง่ พอง • อาการหลักของถุงลมโป่งพอง คือ มีอาการหายใจตื้น และไอ และผู้ป่วยบางรายท่ีเป็นถุงลมโป่งพองมักไม่รู้ตัวว่า เป็นมานานแลว้ เพราะอาการจะเกิดขึน้ อยา่ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป และทาใหผ้ ปู้ ่วยไม่สังเกตเห็นอาการใด ๆ • นอกจากน้ัน ผู้ป่วยมักหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมที่ทาให้หายใจต้ืน ซ่ึงอาการนี้ไม่ได้สร้างปัญหามากหากไม่ส่งผล กระทบหรือรบกวนการใช้ชีวิตประจาวัน แต่หากมีอาการที่รุนแรงข้ึน จะทาให้ผู้ป่วยมีอาการหายใจต้ืนแม้ไม่ได้ทา กิจกรรมใด ๆ • อาการอ่ืน ๆ ของโรคถุงลมโป่งพอง ได้แก่ หัวใจเต้นเร็ว เกิดภาวะซึมเศร้า น้าหนักลด เหน่ือย นอกจากนน้ั ในบาง รายอาจพบวา่ มรี มิ ีปฝ ากหรือเลบ็ เปน็ สีคล้าออกม่วงเทาหรือฟ้าเข้มเน่ืองจากขาดออกซิเจน หรือหากมีอาการหายใจ ต้ืนเปน็ เวลานานหลายเดือนและมีอาการท่ีแย่ลงหรอื รบกวนการใชช้ ีวติ ประจาวัน ผ้ปู ว่ ยควรรีบไปพบแพทยท์ ันที

• สาเหตุของถงุ ลมโป่งพอง • สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกดิ ถุงลมโป่งพอง คือการสูบบุหร่ี นอกจากนน้ั สาเหตุหลักของถุงลมโป่งพอง คือการสัมผัส หรือได้รบั กบั สิง่ กระตุ้นจากทางอากาศอย่างตอ่ เนื่องยาวนาน ได้แก่ 1. การสูบบุหร่ี ซ่ึงเปน็ สาเหตสุ าคญั ทที่ าให้เกดิ ถุงลมโปง่ พอง 2. มลพิษในอากาศ การหายใจเอามลพิษในอากาศ เช่น ควันจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิง ไอเสียรถยนต์ จะเพ่ิม ความเส่ียงให้เกิดถุงลมโป่งพอง ควันพิษหรือสารเคมีจากโรงงาน ไม่ว่าจะเป็นุฝ่นละอองหรือควันพิษท่ีมี ส่วนประกอบของสารเคมีหรือุ่ฝนละอองจากไม้ ้ฝาย หรือการทาเหมืองแร่ หากหายใจเข้าไปแล้วก็มีโอกาสเส่ียงที่ทา ใหเ้ กดิ ถงุ ลมโป่งพองไดม้ ากขึ้น ซึ่งจะเพิม่ โอกาสมากขน้ึ ไปอีกหากเป็นผทู้ ีส่ ูบบุหร่ี 3. ถุงลมโป่งพองจากการขาดอัลฟ่า-1 (Alpha-1-Antitrypsin Deficiency Emphysema) เป็นโรคทาง พันธุกรรมที่เกิดจากการขาดโปรตีนชนิดหน่ึง เม่ือร่างกายพร่องเอนไซม์ Alpha-1-Antitrypsin จะส่งผลให้ถุง ลมทปี่ อดถกู ทาลาย เปน็ สาเหตทุ ที่ าใหเ้ กดิ ถุงลมโปง่ พอง แต่พบไดน้ ้อยมาก

• การวินิจฉยั ถุงลมโป่งพอง • แพทย์จะเร่ิมจากการถามประวัติทางการแพทย์และความเป็นมาต่าง ๆ โดยเฉพาะผู้ท่ีสูบบุหรี่หรือผู้ทางานอยู่ใน สภาพแวดล้อมทตี่ ้องเจอกบั มลภาวะหรือควนั พษิ และแพทย์จะทาการตรวจเพิ่มเตมิ ไดแ้ ก่ 1. การเอกซเรยห์ รือการตรวจ CT Scan 2. การตรวจเลอื ดเพือ่ ดปู รมิ าณออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด 3. ตรวจดว้ ยเคร่ืองวัดออกซเิ จนในเลอื ด (Pulse Oximetry) 4. ตรวจสอบการทางานหรือสมรรถภาพของปอด โดยการให้เป่าเครื่องสไปโรมิเตอร์ (Spirometer) เพื่อวัด ปรมิ าตรอากาศที่เขา้ และออกจากปอด 5. การตรวจคลืน่ ไฟฟา้ หัวใจ (ECG) เป็นการตรวจการทางานของหัวใจและตรวจหาโรคหวั ใจ เพอ่ื ใหแ้ นใ่ จว่าอาการท่ี เกดิ ขึ้นไมไ่ ดเ้ กดิ จากโรคหัวใจ

• การรักษาถงุ ลมโปง่ พอง • การรกั ษาด้วยยา • ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators) มกี ลไกการออกฤทธ์ิลดการหดเกร็งกล้ามเน้ือทางเดินหายใจ ซ่ึงจะช่วยให้ ผูป้ ว่ ยหายใจไดส้ ะดวกย่งิ ขนึ้ โดยยาจะมอี ยู่ 2 ชนดิ คือ Beta Agonists และ Anticholinergics • ยาสเตยี รอยด์ เป็นยาที่ใชล้ ดการอกั เสบในปอด ซึ่งยาจะมีท้ังรูปแบบของยารับประทาน ยาให้ทางหลอดเลือด หรือ ยาพน่ • ยาฟอสโฟไดเอสเทอเรส-4 อินฮิบิเตอร์ (Phosphodiesterase-4 Inhibitor) เป็นยารับประทานท่ีช่วยต้านการ อักเสบ ทสี่ ามารถลดโอกาสกาเรบิ ของโรคปอดอดุ กน้ั เร้อื รังท่ีรุนแรง • ยาปฏิชีวนะ ใช้เพ่ือต่อต้านการติดเช้ืออันเป็นส่วนสาคัญท่ีทาให้อาการถุงลมโป่งพองแย่ลง หรือนามาใช้เพ่ือ รกั ษาการกาเรบิ ของโรคในกรณที ่ีมีภาวะตดิ เช้อื แบคทีเรีย

• การรักษาถงุ ลมโปง่ พอง • การบาบดั • การฟ้ืนฟูสมรรถภาพปอด หรือการออกกาลงั กายที่ความหนักระดับปานกลาง เช่น การเดิน จะช่วยใหก้ ล้ามเนอ้ื ท่ี ใช้ในการหายใจมีความแข็งแรงยิ่งข้ึนและยังช่วยบรรเทาอาการให้ลดลง ซ่ึงจะทาใหส้ ามารถหายใจได้สะดวกยิ่งขึ้น รวมไปถึงการเล่นโยคะ ไทชิ และการกฝึ หายใจลกึ ๆ ก็สามารถช่วยบรรเทาอาการได้ดี • ดแู ลเรื่องโภชนาการ ผู้ป่วยถุงลมโป่งพองท่ีมีอาการมากหรือเป็นมานาน จะมีน้าหนักตัวลดลง ทาให้แรงหรือกาลัง ทใ่ี ช้ในการหายใจลดลง จาเปน็ ต้องได้รบั การดแู ลเร่อื งโภชนาการเพื่อเพ่ิมนา้ หนกั ให้กลบั เขา้ สู่เกณฑป์ กติ • การบาบัดด้วยออกซิเจน เป็นวิธีบาบัดที่ช่วยให้ผู้ป่วยท่ีมีระดับออกซิเจนในเลือดต่าขณะออกกาลังกายให้สามารถ ออกกาลังกายไดน้ านย่งิ ข้ึน • การบาบัดด้วยการทดแทนอัลฟา-1 (Alpha-1 Replacement Therapy) เป็นวิธีท่ีจะใช้สาหรับผู้ป่วยท่ีมีการ ขาดอัลฟ่า-1 โดยการให้อัลฟา่ -1 ทดแทน ซ่ึงจะฉดี เข้าทางหลอดเลือด

• การรกั ษาถุงลมโปง่ พอง • การฉีดวัคซีน เป็นส่ิงสาคัญมากสาหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดก้ันเร้ือรังที่ควรจะได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่หรือ ปอดอกั เสบทกุ ปี และการไดร้ ับวคั ซนี จะชว่ ยลดความเสีย่ งของการเกดิ การติดเช้อื ในปอดท่ีรนุ แรงได้ • การผ่าตัด เพ่ือนาช้ินส่วนของปอดที่ได้รับความเสียหายออก หรือทาการปลูกถ่ายปอด แต่จะพบได้น้อย เพราะ เป็นวธิ ที ีจ่ ะใช้กับผปู้ ว่ ยท่มี อี าการรุนแรงมากเทา่ นัน้ • การปรับพฤติกรรมในการใชช้ ีวติ 1. เลิกสูบบุหรห่ี รอื หลกี เล่ียงควันบุหร่ี 2. ออกกาลงั กายสมา่ เสมอ 3. หลีกเลี่ยงส่ิงที่ทาให้ปอดเกิดการระคายเคือง เช่น ฝ่ ุน ควันพิษ น้าหอม หรือล้างเครื่องปรับอากาศให้สะอาดอยู่ เสมอ 4. หลีกเล่ียง และป้องกันโรคท่ีเก่ียวกับทางเดินหายใจ ได้แก่ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และปอดบวม หรือ การสมั ผสั กบั ผปู้ ว่ ยท่เี ป็นโรคเก่ยี วกับทางเดินหายใจ เชน่ ไข้หวัดหรือไข้หวดั ใหญ่

• การปอ้ งกนั ถงุ ลมโป่งพอง 1. ถุงลมโป่งพองมีสาเหตุหลักมาจากการสูบบุหรี่ ดังน้ันการป้องกันที่ดีที่สุดคือการเลิกสูบบุหรี่ เพราะการสบู บุหรจี่ ะทาใหอ้ าการของโรครนุ แรงขน้ึ อกี ทั้งควรหลีกเลี่ยงหรือสวมหน้ากากป้องกัน ตวั เองจากควันและสารพษิ ที่เปน็ อนั ตราย 2. การตรวจพบโรคไดอ้ ยา่ งทนั ท่วงทีเป็นสงิ่ สาคัญ เพราะในรายที่ปอดและหัวใจได้รับความเสียหาย อาจเปน็ อันตรายถึงขั้นเสยี ชีวิตได้

• อา้ งองิ • พบแพทย์. โรคถุงลมโปง่ พอง. สบื คน้ วันท่ี 23 เมษายน 2565.จาก https://www.pobpad.com/%E0%B8% 96%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B9 %88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%87.



• ความหมายโรคมะเร็ง • มะเร็ง คือ โรคท่ีเกิดจากความผิดปกติของเซลล์ในอวัยวะต่างๆ ของร่างกายท่ีมีการ เจริญเติบโตผิดปกติ เป็นก้อนเน้ือที่ลุกลามไปยังอวัยวะใกล้เคียง หรือกระจายไปยัง อวัยวะส่วนต่างๆ ของร่างกาย เช่น ทางเดินน้าเหลือง ทางระบบเลือด โรคมะเร็งมี หลายแบบขน้ึ อยกู่ บั จดุ กาเนิดโรค และชนดิ ของเซลลม์ ะเร็ง

• มะเรง็ แบ่งออกเป็นกลมุ่ ใหญๆ่ ท่ัวไปดังนี้ 1. Carcinoma มะเรง็ ทม่ี จี ดุ กาเนดิ มาจากผวิ หนงั หรือ เยื่อบุอวัยวะตา่ งๆ อวยั วะ 2. Sarcoma มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมากจากกระดูก กระดูกอ่อน ไขมัน กล้ามเน้ือ หรือ เส้นเลือด 3. Leukemia มะเร็งที่มีจุดกาเนิดมาจากเซลล์ต้นกาเนิดเม็ดเลือดในไขกระดูก ทาให้มี ความผดิ ปกติของเม็ดเลือด 4. Lymphoma and Myeloma มะเร็งทมี่ ีจุดกาเนดิ มาจากเซลล์ของระบบภูมิคมุ้ กัน 5. Central Nervous System Cancer สมองและไขสันหลงั

• ปัจจัยเสย่ี งมะเรง็ 1. อายุ : อายทุ มี่ ากข้ึนเพิม่ ความเสยี่ งในการเกิดโรคมะเร็งมากข้นึ 2. บุหร่ี : ทาให้เกิดความเสี่ยงจากมะเร็งมากขึ้น เช่น มะเร็งปอด มะเร็งกล่องเสียง มะเร็งช่องปากและลาคอ มะเร็งหลอดอาหาร มะเร็ง กระเพาะปสั สาวะ มะเร็งไต มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเรง็ ตับอ่อน และมะเร็งปากมดลูก 3. แสงแดด (UV) : ทาให้เกดิ มะเรง็ ผวิ หนังได้ 4. รังสีต่างๆ : เช่น รังสีในธรรมชาติ รังสีเอ็กซเรย์ นิวเคลียร์ แก๊ส ซึ่งหากได้รับปริมาณสูง เกินค่าที่กาหนดทาให้เกิดโรคมะเร็งได้ เช่น มะเร็งไทรอยด์ มะเร็งเตา้ นม มะเร็งปอด และ มะเร็งกระเพาะอาหาร 5. สารเคมตี า่ งๆ 6. เชอื้ ไวรสั หรอื เช้อื แบคทเี รียบางชนดิ : เชน่ HPV HIV ไวรสั ตบั อักเสบบี ซี เป็นตน้ 7. ฮอร์โมนเอสโตรเจน : การได้รบั อฮ รโ์ มนเอสโตรเจนอาจทาให้เกิดมะเรง็ เต้านมได้ 8. พันธุกรรม : มปี ระวัตคิ รอบครวั ที่ปว่ ยเป็นโรคมะเร็ง 9. แอลกอฮอล์ : อาจทาให้เกดิ มะเร็งช่องปากและลาคอ มะเร็งทางเดินอาหาร กลอ่ งเสยี ง ตับ และ มะเร็งเต้านม 10. พฤติกรรมการดาเนนิ ชีวติ : เชน่ รบั ประทานอาหารทีม่ ีไขมันสูง อาจทาให้เกดิ มะเร็งลาไส้ มะเรง็ มดลกู และ มะเรง็ ตอ่ มลูกหมาก รวมถึง ความอว้ น หรอื การทไ่ี มอ่ อกกาลงั กายนอ้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook