Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ปัจจัยเสื่อมของการเกิดโรคอัลไซเมอร์

ปัจจัยเสื่อมของการเกิดโรคอัลไซเมอร์

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2021-11-17 02:02:56

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ่วยสอน ปจั จัยเสื่อมของการเกดิ โรคอัลไซเมอร์ เขา้ สู่บทเรียน นวตั กรรม Application ชดุ องคค์ วามรู้ E-book เพ่ือคดั กรองผสู้ งู อายโุ รคอลั ไซเมอร์ และผปู้ ่ วยติดเตียงโดยใช้เซน็ เซอรว์ ดั อณุ หภมู ิและความชื้นคดั กรองผปู้ ่ วยแผลกดทบั

ปัจจยั เส่ือมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ 1. อายุที่เพ่ิมขึ้นเป็ นปัจจยั เสี่ยงท่ี สาคัญที่สุด โดยพบว่าหลงั อายุ 65 ปี ผู้ป่ วยจะมีความเส่ียงต่อ การเกิดโรคเพ่ิมเป็ น 2 เท่าในทุก ๆ 5 ปี ท่ีอายุมากขึ้น อย่างไรก็ ตามมีผ้ปู ่ วยที่มีอายุตา่ กว่า 65 ปี ด้วยเช่นกนั

ปัจจยั เส่ือมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ 2. พนั ธุกรรม เช่น มีญาติ สายตรงในครอบครวั ที่ ป่ วยด้วยโรคนี้ หลาย คน, มียีนบางอย่างเช่น ApoE4 เป็นต้น ภาพแสดงยีนเกิดโรคอลั ไซเมอร์ APOE4 นัน้ จะเพ่ิมความเส่ียงให้ มีโอกาสเป็นโรคอลั ไซเมอรไ์ ด้อีก 7%เพราะยีนนี้มีหน้าที่ลาเลียง คอเลสเตอรอลในร่างกาย

ปัจจยั เสื่อมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ 3. โ ร ค ด า ว น์ ซิ น โ ด ร ม ( Down’s syndrome) ผู้ป่ วยถือเป็ นกลุ่ม เสี่ยงต่อการเกิดโรค เนื่ องจาก พบว่าผ้ปู ่ วยโรคนี้มีความผิดปกติ ข อ ง ก า ร ส ะ ส ม ข อ ง โ ป ร ตี น บ า ง ชนิ ดที่ทาให้เกิดโรคอัลไซเมอร์ เช่นกนั

ปัจจยั เส่ือมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ 4. การได้รบั อบุ ตั ิเหตทุ ่ีศีรษะ มีรายงานการศึกษาทางระบาด วิทยาหลายรายงานพบว่า ผปู้ ่ วยโรคอลั ไซเมอรแ์ ละภาวะ สมองเส่ือมจากสาเหตอุ ่ืนๆ มีประวตั ิเคยได้รบั อบุ ตั ิเหตทุ ่ี ศีรษะมากกว่าคนท่ีไมม่ ีสมองเสื่อม อย่างไรกต็ ามในบาง การศึกษาไมพ่ บว่าการได้รบั อบุ ตั ิเหตทุ ่ีศีรษะมาก่อนเป็น ปัจจยั เส่ียงของการเกิดภาวะสมองเส่ือม

ปัจจยั เสื่อมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ 5. พบว่าโรคอัลไซเมอร์มีส่วนท่ี เกิ ดจากโรคของหลอดเลือด ร ว ม ถึ ง พ บ ร่ ว ม กับ โ ร ค ห ล อ ด เลือดในสมองได้บ่อย ดังนั้น ปัจจยั เส่ียงต่อการเกิดโรคหลอด เลือดสมองจึงอาจเป็ นปัจจัย เ ส่ี ย ง ข อ ง โ ร ค อัล ไ ซ เ ม อ ร์ด้ ว ย ดงั นี้

ปัจจยั เสื่อมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ ➢ น้าหนักเกินมาตรฐาน

ปัจจยั เสื่อมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ ➢ การขาดการออกกาลงั กาย

ปัจจยั เส่ือมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ ➢ การสบู บหุ รี่

ปัจจยั เสื่อมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ ➢ ความดนั โลหิตสงู

ปัจจยั เส่ือมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ ➢ ไขมนั ในเลือดสงู

ปัจจยั เส่ือมของการเกิดโรคอลั ไซเมอร์ ➢ โรคเบาหวาน

อ้างอิง โรงพยาบาลจฬุ าภรณ์. (2560). โรคอลั ไซเมอร์ Alzheimer, สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2564. จากเวบ็ https://www.chulabhornhospital.com/page.php?name=589. วีรศกั ด์ิ เมืองไพศาล, ภาวะสมองเส่ือม, คลินิกผสู้ งู อายุ ภาควิชาเวชศาสตรป์ ้องกนั และ สงั คม คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล. สถาบนั ประสาทวิทยา กรมการแพทย,์ แนวทางเวชปฏิบตั ิ ภาวะสมองเส่ือม Clinical Practice Guidelines : Demetia. 2557. กศุ ลากรณ์ ชยั อดุ มสม, ภทั รี พหลภาคย,์ ภาพนั ธ์ วฒั นวิกยก์ ิจ, พงศธร พหลภาคย,์ จิตเวชศาสตร์ Psychiatry: บทที่ 23 โรคของประสาทพทุ ธิปัญญา (Neurocognitive Disorders). 2559.

จบการนาเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook