Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สื่อการสอนเรื่อง โรคถุงลมโป่งพอง

สื่อการสอนเรื่อง โรคถุงลมโป่งพอง

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-07-24 15:41:05

Description: สื่อการส่งเสริมสุขภาพ

Search

Read the Text Version

บทเรยี นคอมพวิ เตอรช์ ว่ ยสอน เรอื่ ง “ ถงุ ลมโป่ งพอง ” (Emphysema) เขา้ สูร่ ะบบ

ความหมายถุงลมโป่งพอง ที่มา:http://www.firstphysioclinic.com/tag/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B • ถุงลมโป่งพอง (Emphysema) คอื เป็นโรคท่ีอยู่ในกลุ่มของโรคปอดอุด 8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%9 กั้นเร้อื รัง (Chronic Obstructive Pulmonary Disease: COPD) 6%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9B%E เกิดจากการอักเสบและแตกของเน้อื ปอดท่ีบริเวณถุงลมปอด ทาให้เน้อื 0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%87/. ปอดมีถุงลมเล็ก ๆ มารกมายคล้ายพวงองุ่น และรวมกับถุงลมท่ีอยู่ ติดกันจนกลายเป็นถุงลมขนาดใหญ่ ทาให้มีพ้นื ผวิ ในการแลกเปล่ียน ออกซิเจนในปอดลดลงหรอื มีอากาศค้างในปอดมากกว่าปกติ ซึ่งหาก เกิดความผดิ ปกตมิ ากข้ึนก็จะทาให้ผู้ป่วยถุงลมโป่งพองมีอาการ ผิดปกติ คือมีอาการหายใจต้นื

ความหมายถุงลมโป่งพอง ร กลไกการเกดิ โรคถุงลมโป่งพอง อาการของผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง ที่มา:http://www.firstphysioclinic.com/tag/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0% B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%87/.

อาการของถุงลมโป่งพอง • อาการหลักของถุงลมโป่งพอง คอื มีอาการหายใจต้นื และไอ และผู้ป่วยบางรายท่ีเป็นถุงลมโป่งพองมักไม่ รู้ตัวว่าเป็นมานานแล้ว เพราะอาการจะเกิดข้ึนอย่างค่อยเป็นค่อยไป และทาให้ผู้ป่วยไม่สังเกตเห็นอาการ ใด ๆ • นอกจากนั้น ผู้ป่วยมักหลีกเลี่ยงการทากิจกรรมท่ีทาให้หายใจต้นื ซึ่งอาการน้ีไม่ได้สร้างปัญหามากหาก ไม่ส่งผลกระทบหรือรบกวนการใช้ชีวิตประจาวัน แต่หรากมีอาการท่ีรุนแรงข้ึน จะทาให้ผู้ป่วยมีอาการ หายใจต้นื แม้ไม่ได้ทากิจกรรมใด ๆ • อาการอ่ืน ๆ ของโรคถุงลมโป่งพอง ได้แก่ หัวใจเต้นเร็ว เกิดภาวะซึมเศร้า น้าหนักลด เหน่ือย นอกจากนั้น ในบางรายอาจพบว่ามีริมฝีปากหรือเล็บเป็นสีคล้าออกม่วงเทาหรือฟ้าเข้มเน่ืองจากขาด ออกซิเจน หรือหากมีอาการหายใจต้ืนเป็นเวลานานหลายเดือนและมีอาการท่ีแย่ลงหรือรบกวนการใช้ ชีวิตประจาวัน ผู้ป่วยควรรีบไปพบแพทย์ทันที

สาเหตุของถุงลมโป่งพอง 1. สาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดถุงลมโป่งพอง คอื การสูบบุหร่ี นอกจากนั้น สาเหตุหลักของถุงลมโป่งพอง คือ การสัมผัสหรือได้รับกับส่งิ กระตุ้นจากทางอากาศอย่างต่อเน่อื งยาวนาน ได้แก่ 2. การสูบบุหรี่ ซ่ึงเป็นสาเหตุสาคัญท่ีทาให้เกิดถุงลมโป่งพอง 3. มลพิษในอากาศ การหายใจเอามลพิษในอากาศ เช่น ควันจากการเผาไหม้ของเช้อื เพลิง ไอเสียรถยนต์ จะเพ่ิมความเสี่ยงให้เกิดถุงลมโป่งพอง ควันพิษหรือสารรเคมีจากโรงงาน ไม่ว่าจะเป็นฝุ่นละอองหรือ ควันพษิ ท่ีมีสว่ นประกอบของสารเคมีหรอื ฝุ่นละอองจากไม้ ฝ้าย หรอื การทาเหมืองแร่ หากหายใจเข้าไป แล้วก็มีโอกาสเส่ียงท่ีทาให้เกิดถุงลมโป่งพองได้มากข้ึน ซึ่งจะเพ่มิ โอกาสมากข้ึนไปอีกหากเป็นผู้ท่ีสูบบุหร่ี 4. ถุงลมโป่งพองจากการขาดอัลฟ่า-1 (Alpha-1-Antitrypsin Deficiency Emphysema) เป็นโรคทาง พันธุกรรมท่ีเกิดจากการขาดโปรตีนชนิดหน่ึง เม่ือร่างกายพร่องเอนไซม์ Alpha-1-Antitrypsinจะ ส่งผลให้ถุงลมท่ีปอดถูกทาลาย เป็นสาเหตุท่ีทาให้เกิดถุงลมโป่งพอง แต่พบได้น้อยมาก

การวินิจฉัยถุงลมโป่งพอง 1. แพทย์จะเร่มิ จากการถามประวัตทิ างการแพทย์และความเป็นมาต่าง ๆ โดยเฉพาะผู้ท่ีสูบบุหรี่หรือผู้ทางานอยู่ ในสภาพแวดล้อมท่ีต้องเจอกับมลภาวะหรอื ควันพิษ และแพทย์จะทาการตรวจเพ่มิ เติม ได้แก่ 2. การเอกซเรย์หรอื การตรวจ CT Scan 3. การตรวจเลือดเพ่อื ดูปริมาณออกซิเจน และคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด 4. ตรวจด้วยเคร่อื งวัดออกซิเจนในเลือด (Pulse Oximetryร) 5. ตรวจสอบการทางานหรือสมรรถภาพของปอด โดยการให้เป่าเคร่ืองสไปโรมิเตอร์ (Spirometer) เพ่ือวัด ปริมาตรอากาศที่เข้าและออกจากปอด 6. การตรวจคล่ืนไฟฟ้าหัวใจ (ECG) เป็นการตรวจการทางานของหัวใจและตรวจหาโรคหัวใจ เพ่ือให้แน่ใจว่า อาการท่ีเกิดข้ึนไม่ได้เกิดจากโรคหัวใจ

การรักษาถุงลมโป่งพอง การรักษาด้วยยา 1. ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators) มีกลไกการออกฤทธ์ลิ ดการหดเกร็งกล้ามเน้อื ทางเดินหายใจ ซ่ึงจะช่วยให้ผู้ป่วย หายใจได้สะดวกย่งิ ข้ึน โดยยาจะมีอยู่ 2 ชนิด คือ Beta Agonists และ Anticholinergics 2. ยาสเตียรอยด์ เป็นยาทีใ่ ช้ลดการอักเสบในปอด ซ่ึงยาจะมีทั้งรูปแบบของยารับประทาน ยาให้ทางหลอดเลือด หรือยาพ่น 3. ยาฟอสโฟไดเอสเทอเรส-4 อินฮิบิเตอร์ (Phosphodiesterase-4 รInhibitor) เป็นยารับประทานที่ช่วยต้านการอักเสบ ที่สามารถลดโอกาสกาเริบของโรคปอดอุดกั้นเร้อื รังที่รุนแรง 4. ยาปฏิชีวนะ ใช้เพ่ือต่อต้านการติดเช้ืออันเป็นส่วนสาคัญท่ีทาให้อาการถุงลมโป่งพองแย่ลง หรือนามาใช้เพ่ือรักษาการ กาเริบของโรคในกรณีท่ีมีภาวะติดเช้อื แบคทีเรีย

การรักษาถุงลมโป่งพอง การบาบัด 1. การฟ้ืนฟูสมรรถภาพปอด หรือการออกกาลังกายท่ีความหนักระดับปานกลาง เช่น การเดิน จะช่วยให้ กล้ามเน้อื ท่ีใช้ในการหายใจมีความแข็งแรงย่งิ ข้ึนและยังช่วยบรรเทาอาการให้ลดลง ซ่ึงจะทาให้สามารถหายใจได้ สะดวกย่งิ ข้ึน รวมไปถึงการเล่นโยคะ ไทชิ และการฝึกหายใจลึก ๆ ก็สามารถช่วยบรรเทาอาการได้ดี 2. ดูแลเร่ืองโภชนาการ ผู้ป่วยถุงลมโป่งพองท่ีมีอาการมากหรือเป็นมานาน จะมีน้าหนักตัวลดลง ทาให้แรงหรือ กาลังท่ีใช้ในการหายใจลดลง จาเป็นต้องได้รับการดูแลเร่อื งโภชรนาการเพ่อื เพ่มิ น้าหนักให้กลับเข้าสู่เกณฑ์ปกติ 3. การบาบัดด้วยออกซิเจน เป็นวิธีบาบัดที่ช่วยให้ผู้ป่วยท่ีมีระดับออกซิเจนในเลือดต่าขณะออกกาลังกายให้ สามารถออกกาลังกายได้นานย่งิ ข้ึน 4. การบาบัดด้วยการทดแทนอัลฟา-1 (Alpha-1 Replacement Therapy) เป็นวิธีที่จะใช้สาหรับผู้ป่วยท่ีมีการ ขาดอัลฟ่า-1 โดยการให้อัลฟ่า-1 ทดแทน ซึ่งจะฉีดเข้าทางหลอดเลือด

การรักษาถุงลมโป่งพอง • การฉีดวัคซีน เป็นส่งิ สาคัญมากสาหรับผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเร้อื รังที่ควรจะได้รับวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่หรือปอด อักเสบทุกปี และการได้รับวัคซีนจะช่วยลดความเสี่ยงของการเกิดการติดเช้อื ในปอดท่ีรุนแรงได้ • การผ่าตัด เพ่อื นาช้นิ ส่วนของปอดท่ีได้รับความเสียหายออก หรอื ทาการปลูกถ่ายปอด แต่จะพบได้น้อย เพราะเป็น วิธีที่จะใช้กับผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรงมากเท่านั้น • การปรับพฤติกรรมในการใช้ชีวิต ร 1. เลิกสูบบุหร่ีหรือหลีกเล่ียงควันบุหรี่ 2. ออกกาลังกายสม่าเสมอ 3. หลีกเล่ียงส่งิ ที่ทาให้ปอดเกิดการระคายเคือง เช่น ฝุ่น ควันพิษ น้าหอม หรือล้างเคร่อื งปรับอากาศให้สะอาดอยู่ เสมอ 4. หลีกเล่ียง และป้องกันโรคท่เี กี่ยวกับทางเดนิ หายใจ ได้แก่ การฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่และปอดบวม หรอื การ สัมผัสกับผู้ป่วยที่เป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่

การป้องกันถุงลมโป่งพอง การป้องกันถุงลมโป่งพอง 1. ถุงลมโป่งพองมีสาเหตุหลักมาจากการสูบบุหรี่ ดังนั้นการป้องกันท่ีดีท่ีสุดคือการเลิกสูบบุหร่ี เพราะ การสูบบุหรี่จะทาให้อาการของโรครุนแรงข้ึน อีกทั้งควรหลีกเลี่ยงหรือสวมหน้ากากป้องกันตัวเองจาก ควันและสารพิษท่ีเป็นอันตราย 2. การตรวจพบโรคได้อย่างทันท่วงทีเป็นส่ิงสาคัญ เพราะในรรายท่ีปอดและหัวใจได้รับความเสียหายอาจ เป็นอันตรายถึงขั้นเสียชีวิตได้

เอกสารอ้างอิง พบแพทย์. โรคถุงลมโป่งพอง. สบื ค้นวันท่ี 23 เมษายน 2565.จาก https://www.pobpad.com/%E0%B8% 96%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B9%82%E0%B8%9B%E0%B9 %88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%87. Firstphysio Clinic คลินิกกายภาพบาบัด. อาการโรคถุงลมโป่งพอง. สบื ค้นวันท่ี 23 เมษายน 2565.จาก http://www.firstphysioclinic.com/tag/%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3% E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%96%E0%B8%B8%E0%B8%87%E0%B8%A5%E0%B8%A1%E0%B 9%82%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%AD%E0%B8%87/.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook