Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โรคสมองเสื่อม (สื่อการสอนสุขศึกษา)

โรคสมองเสื่อม (สื่อการสอนสุขศึกษา)

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-05-20 02:57:51

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

บทเรยี นคอมพิวเตอรช์ ว่ ยสอน ภาวะสมองเสอ่ื ม เข้าสูบ่ ทเรียน

ภาวะสมองเสื่อม ➢ ภาวะสมองเสื่อม หรือ Dementia คือ ภาวะที่มีปัญหาด้านความจา บกพร่อง ร่วมกับมีอาการอื่น ซึ่งมีผลต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน อาการอื่นๆ เช่น นึกค าพูดไม่ออก บวกลบเลขง่ายๆไม่ได้ ความสามารถในการตัดสินใจ สื่อสาร แย่ลง ไม่สามารถทาอะไรที่ ง่ายที่เคยทาประจา เช่น ติดกระดุมเสื้อเองไม่ค่อยได้พฤติกรรม หรือ บุคลิกเปลี่ยนไปจากเดิม เป็นต้น ภาวะบางอย่างอาจมีอาการความจา ไม่ดี แต่ไม่จัดว่าเป็นภาวะสมองเสื่อม เช่น โรคซึมเศร้า การอดนอน ความเครียด จนขาดสมาธิในการจดจา

ภาวะสมองเส่อื ม

ภาวะสมองเส่อื ม

ภาวะสมองเส่อื ม

ภาวะสมองเส่ือม ➢ โรคสมองเสื่อมแบง่ เป็น 2 แบบ คอื • แบบที่รักษาให้หายได้ • แบบทร่ี ักษาใหห้ ายไมไ่ ด้ ➢ คนที่สงสัยว่าจะมีอาการสมองเสื่อม ควรพบแพทย์ทางระบบประสาท เน่อื งจากอาจเป็นสาเหตุทส่ี ามารถรักษาได้ โรคในกล่มุ นี้ เช่น เนอื้ งอก ในสมอง โรคไทรอยด์ โรคตดิ เชอื้ โรคขาดสารอาหารบางชนดิ เป็นต้น ➢ สาหรับสมองเสื่อมจากสาเหตุที่รักษาไม่หายนั้น สาเหตุที่พบบ่อยที่สุด ก็คือ โรคอับไซเมอร์ นั่นเอง นอกนั้นก็เป็นโรคทางสมองอื่นๆ ที่พบได้ รองลงไป เช่น หลอดเลือดสมองตบี หรือเปน็ ท้งั อลั ไซเมอร์ และ หลอด เลอื ดสมองตบี ร่วมกัน เปน็ ตน้

อาการทส่ี าคญั ของโรคสมองเสอ่ื ม 1. ความจาเส่ือม โดยเฉพาะความจาระยะสน้ั 2. ไมส่ ามารถทาสงิ่ ทเี่ คยทาได้ 3. มปี ญั หาในการใช้ภาษา 4. มปี ัญหาในการลาดบั ทศิ ทาง และเวลา 5. สติปญั ญาดอ้ ยลง 6. วางของผิดท่ผี ดิ ทาง 7. อารมณเ์ ปลี่ยนแปลงง่าย รวดเรว็ 8. บคุ ลกิ เปล่ียนแปลงไป 9. อาจมอี าการหลอน เช่น เหน็ ภาพหลอน

อาการที่สาคญั ของโรคสมองเส่อื ม

สาเหตขุ องสมองเสอ่ื ม 1. การเสื่อมสลายของเนื้อสมอง โดยไม่ทราบตัวการที่ชักนาทาให้เซลล์สมองตาย พบว่า มีสารสะสมในเซลล์สมองที่ เรียกว่า B-Amyloid ทาให้เซลล์สมองนั้นสลายตายไป และไม่มีเซลล์สมองใหม่ขึ้นมาทดแทน ทาให้สมองที่เหลืออยู่ไม่สามารถทางานได้ดี อย่างเดมิ โรคท่ีมีลกั ษณะความผิดปกตแิ บบนี้ คอื อลั ไซเมอร์ 2. ปัญหาหลอดเลือดสมอง เมื่อคนที่อายุมากขึ้นจะมีการเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือด ทั้งตัวมากบา้ งนอ้ ยบ้างตามแต่พันธุกรรม อาหารการกินและพฤติกรรมต่างๆของแต่ละ คน การเปลี่ยนแปลงของหลอดเลือดนี้เกิดขึ้นเนื่องจากมีไขมันมาสะสมที่ผนังหลอด เลือด ทาใหห้ ลอดเลือดขรขุ ระ ไมเ่ รยี บ และ ตีบลง ซึง่ ทาใหเ้ ลอื ดไปเล้ียงสมองได้ไม่ สมบูรณ์ เนื้อสมองบางส่วนจะค่อยๆ ตายไป ทาให้ความสามารถในการทางานของ สมองลดลง 3. การติดเชื้อในสมอง ถ้ามีการติดเชื้อในสมองจะเกิดการอักเสบ จะทาให้เซลล์สมอง บางสว่ นตายไป เชน่ โรคซฟิ ลิ สิ HIV วณั โรค และ ไวรสั บางชนดิ โรควัวบ้า

สาเหตขุ องสมองเสอื่ ม 4. เกิดจากการขาดสารอาหารบางชนิด เช่น วิตามิน B1,B12, Folic Acid เชน่ ผูป้ ่วยทดี่ ่ืมสุรามาก 5. การแปรปรวนของระบบเมตาบอลิกของร่างกาย เช่น การทางานของ ต่อมไร้ท่อบางชนิดผิดปกติไป โดยเฉพาะต่อมไทรอยด์ ทางานมากหรือ นอ้ ยไป ก็ทาใหเ้ กิดปญั หาเก่ยี วกับการทางานของสมองทงั้ สิ้น 6. การกระทบกระเทอื นทส่ี มอง 7. เนอ้ื งอกในสมอง 8. สมองเสือ่ มเกดิ จากโพรงนา้ ในสมองขยายใหญ่ขึ้นจากน้าเลี้ยงสมองคั่ง จนเบียดเนื้อสมอง ทาให้ทางานผิดปกติ ผู้ป่วยจะมีการซอยเท้า ก้าว สัน้ ๆ ปสั สาวะราด เขา้ ห้องน้าไม่ทนั ร่วมดว้ ย

(สมองปกติ) สาเหตขุ องสมองเสอ่ื ม (สมองโรคอลั ไซเมอร์)

การวินจิ ฉยั โรคสมองเสื่อม ➢ เมือ่ มอี าการนา่ สงสัยควรปรึกษาแพทย์ เพื่อซักประวัติเพิ่มเติมและตรวจ ร่างกายรบั การทดสอบภาวะความจา หากผลตรวจน่าสงสัยวา่ เป็นโรคสมอง เส่อื ม แพทย์จะทาการตรวจพิเศษเพิ่มเติม เช่น ตรวจเลือดทั่วไป เพื่อคัด แยกโรคต่างๆ ที่มีผลต่อความจา หรือ ทาให้สมองเสื่อม แพทย์อาจทาการ ตรวจปัญหาที่เกิดขึ้นในสมองโดยการถ่ายภาพสมองโดยเครื่อง MRI บาง รายอาจได้รบั การตรวจเพม่ิ เติมด้วย MRA

แนวทางการป้องกันโรคสมองเส่ือม 1. รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันสูง หวาน จัด เคม็ จดั 2. ระวังการให้สารที่อาจเกิดอันตรายกับสมอง เช่น เครื่องดื่มที่มี แอลกอฮอล์ ยาทีไ่ มจ่ าเปน็ 3. ลดปัจจยั เส่ยี งของโรคหลอดเลอื ดสมอง เช่น งดสบู บุหร่ี 4. การฝึกสมองและพยายามทากิจกรรมที่ได้ใช้สมองอย่างสม่าเสมอ หรือ กิจกรรมทางสังคม อยา่ งนอ้ ยให้มกี จิ กรรมกับคนในครอบครัว 5. การออกกาลงั กายให้สม่าเสมอ 6. ตรวจเชค็ สขุ ภาพปลี ะ 1-2 ครั้ง 7. ระมัดระวังอบุ ัติเหตตุ า่ งๆ โดยเฉพาะอุบัตเิ หตุทีศ่ รี ษะ 8. หลกี เลี่ยงความเครียด

การดแู ลผู้ปว่ ยความจาเสือ่ ม 1. ช่วยทากิจกรรมประจาวันให้ผู้ป่วย การจัดวางของใช้ของผู้ป่วยให้ เป็นที่มองหาง่าย ติดปฏิทินใบใหญ่ ให้ผู้ป่วยทาเครื่องหมาย กากบาทเมอ่ื ผ่านไปแตล่ ะวนั ทาป้ายเตือนความจา 2. ลดปัญหาในการส่ือสารและการใช้ภาษาพูดคุยกับผู้ป่วย ใช้คาถาม ตรงๆ ไม่ซบั ซอ้ น 3. เมื่อผู้ป่วยมีอาการระแวงและกล่าวโทษผู้อื่น ไม่ควรโต้เถียง ควร พูดคุยดว้ ยความน่มุ นวล และเบี่ยงเบนความสนใจไปยงั กิจกรรมอ่ืน 4. นอนไม่หลับ เป็นปัญหาที่สาคัญ ควรจัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย ดแู ลให้ผปู้ ่วยออกกาลังกายในตอนกลางวัน 5. ดูแลการรับประทานยาให้ถูกต้อง ถ้าผู้ป่วยจัดยากินเอง จะมีความผิด พลาดสูงได้

เอกสารอา้ งองิ โรงพยาบาลธนบุรี. (2564). สมองเสือ่ ม, สืบคน้ เมื่อ 15 พฤศจกิ ายน 2564. จากเวบ็ https://www.thonburihospital.com/%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%A7 %E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9 %80%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1_. html.

จบการนาเสนอ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook