Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานเรื่อง สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข

รายงานเรื่อง สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-05-16 01:08:00

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

รายงานเรือ่ ง สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสขุ 1. นายกิตติธร จัดทำโดย รหสั นักศึกษา 633263004 2. นายกิตติรัตน์ รหัสนกั ศึกษา 633263005 3. น.ส.มธุ ดิ า เทพเทียมทัศน์ รหัสนักศึกษา 633263031 4. น.ส.รตั นา หนอ่ ขัด รหสั นักศกึ ษา 633263032 5. น.ส.วมิ าลา ทับทรวง รหัสนักศึกษา 633263035 6. น.ส.อรอนงค์ นวลนาง รหัสนักศึกษา 633263045 ยมเสน พุ่มเกตแก้ว เสนอ อาจารย์ชิราวุธ ปุญณวชิ รายงานเล่มนเ้ี ปน็ สว่ นหนึ่งของรายวชิ าระบบสารสนเทศสุขภาพ รหสั วชิ า 4074603 ภาคเรยี นท่ี 3 ปีการศึกษา 2564 สาขาวชิ าสาธารณสขุ ศาสตร์ หมู่เรียน 24.1 คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั นครปฐม

ก คำนำ รายงานเลม่ นีเ้ ป็นสว่ นหนึ่งของรายวิชาระบบสารสนเทศสุขภาพ รหสั วชิ า 4074603 รายงาน เล่มนี้จะประกอบไปด้วยเนื้อหาสาระที่สำคัญเกี่ยวกับสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข ในรายงาน เล่มน้ีจะกล่าวถึงระบบที่ใช้ในกระทรวงสาธารณสุขซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ ระบบที่ใช้ในโรงพยาบาล (HIS : Hospital Information System) ระบบคลังข้อมูลสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข (HDC: Health Data Center) ระบบระเบียนข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล (PHR: Personal Health Record) ระบบสารสนเทศสนับสนุนการสง่ ตอ่ ผู้ป่วย (Referral Information System) ผู้จัดทำหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานเล่มนี้จะเป็นประโยชน์สำหรับผู้สนใจศึกษาค้นคว้าได้เป็น อย่างดียิ่ง และเหมาะกับผู้สนใจในเนื้อหาโดยตรงเกี่ยวกับระบบสารสนเทศที่ใช้ในกระทรวง สาธารณสุข รายงานเลม่ น้ีหากมขี ้อผดิ พลาดประการใดกลุ่มผูจ้ ัดทำกข็ ออภยั ไว้ ณ ทต่ี รงนดี้ ว้ ย สมาชิกผู้จัดทำ นายกิตติธร เทพเทยี มทัศน์ นายกติ ติรตั น์ หนอ่ ขดั น.ส.มุธิดา ทบั ทรวง น.ส.รตั นา นวลนาง น.ส.วมิ าลา ยมเสน น.ส.อรอนงค์ พมุ่ เกตแกว้

สารบญั ข เรื่อง หน้า คำนำ ก สารบญั ข ประวัตคิ วามเปน็ สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสขุ 1 สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสขุ 4 ระบบท่ใี ช้ในโรงพยาบาล (HIS : Hospital Information System) 8 ระบบคลังข้อมลู สุขภาพของกระทรวงสาธารณสขุ (HDC: Health Data Center) 15 ระบบระเบยี นข้อมูลสขุ ภาพส่วนบคุ คล (PHR: Personal Health Record) 20 ระบบสารสนเทศสนบั สนุนการส่งต่อผู้ปว่ ย (Referral Information System) 27 กฎหมายทเี่ กีย่ วข้องกบั การดำเนนิ งานเทคโนโลยกี ระทรวงสาธารณสขุ 36 อ้างอิง 39

1 ประวัติความเป็นสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2528 จัดตั้งศูนย์บริการคอมพิวเตอร์ กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเร่งรัดปรับปรุงข้อมูล ขา่ วสาร ให้ตอบสนองต่อความต้องการดา้ นการวางแผนงานสาธารณสุข เพื่อให้การดำเนนิ งานเก่ียวกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของกระทรวงสาธารณสุขเป็นไปโดยมีประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติราชการ และให้สอดคล้องกับแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร จึงได้มีคำส่ัง จัดตั้งสำนกั เทคโนโลยสี ารสนเทศเป็นองค์กรภายในมีฐานะเทียบเท่ากองในสังกัดสำนักปลัดกระทรวง สาธารณสขุ และในปี พ.ศ.2545 ได้รับการยกฐานะปรับเปล่ยี นเป็นศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการ ส่อื สารในสำนกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข การดำเนินงานโครงสร้างพื้นฐาน ในระยะแรกกระทรวงสาธารณสุขนำระบบคอมพวิ เตอรม์ าใช้ในการจัดเก็บข้อมลู ข่าวสารด้าน สาธารณสุขโดยกองสถิติสาธารณสุขและกองระบาดวิทยาในสมัยนน้ั มรี ะบบคอมพวิ เตอร์ขนาดใหญ่ซ่ึง เชื่อมโยงเป็น Terminal ไปตามจุดต่างๆ ต่อมาได้พัฒนาการจัดเก็บข้อมูลด้านอื่นๆเพิ่มมากขึ้น เช่น ระบบบัญชีถือจ่ายเงินเดือนข้าราชการสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขและข้อมูลด้านอาหารและ ยา จนกระทั้งภายหลังได้รับระบบคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ซึ่งเป็นเคร่ืองวัด 6,000 เข้ามาทดแทน เม่ือ ถึงยุคของการลดขนาดของระบบกระทรวงสาธารณสุข ได้ทดลองใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลมา เชอ่ื มโยงเปน็ ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์แลน์ในลักษณะ client server ปี พ.ศ.2547 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารได้พัฒนาระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ของกระทรวงสาธารณสุขโดยเชื่อมโยงหน่วยงานส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค หน่วยงานภายนอก และ ระบบ Internet ซึง่ พฒั นาตอ่ เนือ่ งจนถงึ ปัจจบุ ัน ผลการดำเนินงานท่ีสำคัญในปจั จุบัน 1. งานดา้ นระบบเครือข่ายและรักษาความปลอดภัย ดำเนินการเชอ่ื มต่ออนิ เตอร์เนต็ ความเร็วสูง และเชื่อมตอ่ อินเตอร์เน็ตระหว่างส่วนกลางและส่วนภมู ิภาคโดยสำนักงานสาธารณสุขจังหวดั ผ่านผู้ให้บริการจีโนดจำนวน 76 แห่ง โรงพยาบาลศูนย์ทั่วไปผ่านผู้ให้บริการ CAT MPLS จำนวน 94 แหง่ โรงพยาบาลชมุ ชนและโรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพตำบลผา่ นผใู้ ห้บริการ ISP ของแต่ละพื้นที่ นอกจากนี้ยังมีการเชื่อมต่อไปยังหน่วยงานต่างกระทรวง เช่น

2 กระทรวงการคลัง สำนักเลขาธิการรัฐมนตรี สำนักทะเบียนราฏกระทรวงมหาดไทย สำนักงานหลักประกนั สุขภาพแหง่ ชาติ 2. งานด้านคอมพิวเตอร์สนับสนุนระบบสารสนเทศ ระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเสมือน เพื่อ ทดแทนและเพิ่มศักยภาพในระบบคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเดิมให้มีความทันสมัยและมี ประสิทธิภาพสูงสามารถให้บริการคอมพิวเตอร์แม่ข่ายเสมือนแก่หน่วยงานต่างๆ ระบบ คอมพิวเตอร์ลูกข่ายเสมือนด้วยเทคโนโลยี VDI เพื่อช่วยแก้ปัญหาความแตกต่างทางด้าน Hardware Software ที่ทำให้การติดตั้งและใช้งานมีความยุ่งยากและไม่มีความเป้นเอกภาพ เดียวกัน 3. งานสนับสนุนงานภารกิจด้านอื่นๆ ระบบการประชุมทางไกล VDO Conference สำหรับ ติดต่อสื่อสารระหว่างบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่อยู่ต่างสถานที่ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ของกระทรวงสาธารณสุข บริการเครือข่ายสื่อสารข้อมูลเชื่อมโยงหน่วยงานภาครัฐเป็น เครอื ขา่ ยท่ีเชอ่ื มโยงหน่วยงานภายในของภาครัฐเข้าดว้ ยกนั โดยมีลักษณะเป็น Government internet เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพด้านความเร็วในการรับและส่งข้อมูลผ่านระบบอินเตอร์เน็ต ของสำนักงานสาธารณสขุ จังหวดั ดา้ นงานพฒั นาระบบสารสนเทศ พ.ศ.2520-2524 การดำเนินงานของกระทรวงสาธารณสุขในช่วงแผนนี้ทำให้ประเทศไทย ได้รับการยกย่องจากองค์การอนามัยโลกว่าวางแผนสาธารณสุขได้สมบูรณ์แบบที่สุดโดยหลักการ ผสมผสานงานสาธารณสขุ เพือ่ จัดบรกิ ารให้กับกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะทีแ่ ตกตา่ งกัน พ.ศ.2530-2534 ได้นำเทคโนโลยีเข้ามาใช้ในการพัฒนางานข้อมูลข่าวสารสุขภาพ มีการ พัฒนาโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อลดภาระเจ้าหน้าที่ในส่วนภูมิภาค ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขได้รับการ พฒั นาขึ้นเป็นลำดับและเร่ิมมรี ะบบอเิ ล็กทรอนิกส์ไฟลเ์ ข้ามาใช้ พ.ศ.2538 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขนำระบบสารสนเทศเข้ามาใช้บริหารจัดการ การดุแลผปู้ ่วย การพฒั นาคณุ ภาพ และมกี ารศกึ ษาวจิ ัยอยา่ งตอ่ เนื่อง ผลการดำเนนิ งานในปัจจุบัน 1. โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลและศูนย์สุขภาพชุมชน JHCIS ซึ่งใช้ เทคโนโลยี Open Source ท้ังหมดโดยได้พัฒนาตอ่ ยอดจากโปรแกรมสถานีอนามยั SCIS

3 2. โปรแกรมระบบงานโรงพยาบาล JHOS ออกแบบให้ทำงานได้บนหลายระบบปฏิบัติการท่ี รองรบั Java พัฒนาโดยภาษา Java โดยใช้เทคโนโลยี Open Source เทคโนโลยีทง้ั หมด 3. โปรแกรมระบบคลังข้อมูลด้านการแพทย์ (HDC Version 2.0) เพื่อให้เป็นเครื่องมือแก่ หน่วยงานระดบั จงั หวดั และระดบั เขต สามารถแลกเปลยี่ นข้อมูลในรูปแบบมาตรฐานระหว่าง สถานบรกิ ารระหวา่ งจงั หวดั 4. โครงการพัฒนาแลกเปลี่ยนข้อมูลส่งต่อผุ้ป่วยระดับประเทศ National referralXchange System (Nrefer) เพื่อให้ประชาชนมีสิทธิและเข้าถึงบริการด้านสุขภาพที่มีคุณภาพได้ มาตราฐานหากเกินขีดสามารถหรือเกินศักยภาพของสถานบริการนั้นต้องจัดระบบส่งต่อ ผู้ปว่ ยไปยังโรงพยาบาลทีม่ ศี กั ยภาพสงู กว่าทงั้ ระดบั ทุตยิ ภมู ิ และระดบั ตตยิ ภูมิ 5. งานสนับสนุนงานภารกิจด้านอื่นๆ ได้แก้โครงการจัดการและส่งต่อผู้ป่วยในพระราชานุ เคราะห์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี ระบบสารบัญ ระบบบริหารงาน บุคลากร นอกจากนี้ยังมีโครงการภายใต้การดำเนินงานโดยศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ได้แก่ โครงการแพทย์ทางไกลผ่านดาวเทียม Telemedicine ปี 2538-2541 โครงการสาธารณสุขโทรคมนาคมสู่ถิ่นกันดาร โดยใช้เทคโนโลยี CDMA ปี 2551 โครงการนำ ร่องใช้เทคโนโลยี WiMAX (Worldwide Interoperability of Microwave Access) ปี 2552 โครงการวจิ ัยสาธารณสุขโทรคมนาคมสู่ถ่นิ กันดาร ปี 2554

4 สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสขุ ในปัจจุบันกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายสนับสนุนการนำเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารมาใช้ในการให้บริการด้านสุขภาพ ที่ผ่านมาหน่วยงานบริการสุขภาพมีการพัฒนาหรือจัดหา ระบบสารสนเทศมาใช้งานการให้บริการ ปัจจุบันมีการประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศในการ ให้บริการประชาชนอย่างกว้างขวาง ทำให้การบริการและการบริหารจัดการเป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ แต่ยังขาดการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกันจึงจำเป็นต้องพัฒนาการเชื่อมโยง แลกเปล่ยี นข้อมูลอิเล็กทรอนกิ ส์เพ่อื พฒั นาคุณภาพการใหบ้ ริการให้ดยี ิ่งข้ึน ระบบการส่งต่อข้อมลู สารสนเทศกระทรวงสาธารณสขุ มี 2 แบบ 1. ระบบการส่งข้อมลู กระทรวงสาธารณสุขแบบ One-way 2. ระบบการสง่ ข้อมูลกระทรวงสาธารณสขุ แบบ Two-ways กระทรวงสาธารณสุขมีระบบการส่งข้อมูลแบบ One-way, Text file manual transfer, Monthly basis ระบบการส่งข้อมูลกระทรวงสาธารณสุขแบบ One-way จากระบบสุขภาพระดับ อำเภอ (รสอ.) District Health System (DHS) คือระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับอำเภอร่วมกัน ของทุกภาคส่วน ส่งข้อมูลไปที่ ระบบ Health Data Center (HDC) คือ รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ ขอ้ มูลรวมถงึ จัดทำรายงานโรคฯตามโครงสร้างมาตรฐานข้อมลู ดา้ นการแพทย์และสุขภาพ 43 แฟม้ ซ่ึง มีไหลของข้อมูลตั้งแต่ระดับโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาล จงั หวดั จะส่งขอ้ มูล 43 แฟม้ ไปท่ี HDC on Cloud ของแต่ละจังหวัด โดยข้อมลู จะถูก transform ให้เป็นรูปแบบของ ตาราง summary ในทกุ ๆ วันหลงั เทย่ี ง คืน จากนั้นตารางข้อมูล summary ของแต่ละจังหวัดนี้จะถูกส่งให้ 2 แห่ง คือ ส่งให้ HDC Service ส่วนกลางใน ตอนเช้า และส่งกลับให้จังหวัดผ่าน HDC SSJ เพื่อเป็นการคืนข้อมูลให้แต่ ละจังหวัด จังหวัดก็ส่งข้อมูลเข้าระบบ กระทรวงสาธารณสขุ ทันที ท่ีมา: ภาพแสดงระบบการส่งข้อมลู แบบ One-way : https://slideplayer.in.th/slide/14635303/

5 ก ร ะ ท ร ว ง ส า ธ า ร ณ ส ุ ข มี ระบบการส่งข้อมูลแบบ Two-ways, Automatic data transfer, Real time basis ระบบการส่งข้อมูล กระทรวงสาธารณสุขแบบ Two- ways จากระบบสขุ ภาพระดับอำเภอ District Health System (DHS) ส่ ง ข้อมูลเข้าระบบไปที่ HDC on Cloud ของแต่ละจังหวัด โดยข้อมูล จะถูก transform เป็นตารางข้อมูล ท่ีมา: ภาพแสดงระบบการส่งข้อมลู แบบ Two-ways, https://slideplayer.in.th/slide/14635303/ summary ของแต่ละจังหวัดนี้จะถูกส่งให้ 2 แห่ง คือ ส่งให้ HDC Service ส่วนกลางในตอนเช้า และ ส่งกลับให้จังหวัดผ่าน HDC SSJ เพื่อเป็นการคืนข้อมูลให้แต่ละจังหวัด จังหวัดก็ส่งข้อมูลเข้าระบบ กระทรวงสาธารณสุขทันทีส่งต่อเข้าระบบของกระทรวงสาธารณสุข และเจ้าหน้าที่กระทรวง สาธารณสุขสามารถเข้าดขู ้อมูลพื้นฐานในแต่ละหน่วยงานได้แบบอัตโนมัตติ ลอดเวลา หลกั การใช้งานสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้นําระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในองค์กรเพื่อให้ ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูล ข่าวสารด้านสาธารณสุขผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่าง เหมาะสมเมือ่ ได้ศึกษาทบทวนวิเคราะห์ระบบข้อมูลสารสนเทศท่ีใช้เผยแพรส่ ารสนเทศและองค์ความรู้ ของสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขในแต่ละด้านพบว่าสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขมี แนวทางในการเผยแพร่สารสนเทศและองค์ความรดู้ ังน้ี 1. เผยแพร่ข้อมลู และสารสนเทศแกภ่ าคเี ครือขา่ ยท้งั ภายในภายนอกกระทรวงฯ 2. บูรณาการการใช้ประโยชน์ข้อมูลข่าวสารสาธารณสุขร่วมกันทั้งภายในและภายนอกกระทรวง สาธารณสุข 3. รวบรวมข้อมลู ดา้ นสุขภาพจากภาคีเครือขา่ ย 4. บรหิ ารจดั การสารสนเทศ (MIS) ให้สะดวกตอ่ การเขา้ ถงึ เพื่อทำการคน้ ควา้ วิจัย 5. มกี ารแลกเปลยี่ นความรูภ้ ายในและระหว่างหน่วยงาน

6 6. องค์ความร้ดู า้ นนโยบายและดา้ นขอ้ มลู ขา่ วสารสุขภาพ 7. มีช่องทางการให้บรกิ ารองคค์ วามรู้ดา้ นนโยบายและด้านขอ้ มลู ข่าวสาร สุขภาพ 8. มฐี านข้อมลู หนังสือวิชาการท่ีสามารถสบื คน้ ได้ดว้ ยระบบ Internet 9. มรี ะบบการให้บรกิ ารหนังสอื วชิ าการท่ีสำคญั เป็นแบบ Electronic file ด้วยโปรแกรม E-Book 10. การให้บริการ/เผยแพร่ข้อมูลสุขภาพ และผลการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพครอบคลุมทั้ง กระทรวง และมขี อ้ มลู สุขภาพท่ีสำคญั ๆ ใหบ้ ริการผา่ นระบบเครือข่ายอนิ เตอรเ์ น็ต หลักบริหารความปลอดภัยสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้จัดทำนโยบายการบริหารความมั่นคงปลอดภยั สารสนเทศ (ISMS) โดยมีวัตถุประสงค์ด้านความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security Objective) 1. การบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภยั สารสนเทศตามมาตรฐานสากล 2. ระบบสารสนเทศมีความมั่นคงปลอดภัย ใช้ตามที่กำหนดไว้เพื่อรักษาไว้ซึ่งความลับของข้อมูล (Confidentiality) ความถูกต้อง นา่ เชอื่ ถอื (Integrity) และความพร้อมใช้งาน (availability) 3. เจา้ หนา้ ทีม่ ีความรู้ และความตระหนักดา้ นความม่นั คงปลอดภัยสารสนเทศ 4. การติดตามการปฏิบัติตามมาตรฐาน ข้อกำหนด กฎระเบยี บ และกฎหมายที่มกี ารประกาศใช้ ตัวช้ีวดั สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข ตัวชว้ี ัดนโยบายคณุ ภาพ ISO 9001:2015 เปน็ นโยบาบระบบความมน่ั คงปลอดภัยสารสนเทศ ISO/IEC 27001:2013, ISO27799:2016 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงาน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข มุ่งมั่นในการบริหารความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ เพื่อให้มั่นใจว่าการ บริการระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารรวมถึงข้อมูลด้านสุขภาพของระบบคลังข้อมูลด้าน การแพทย์และสุขภาพของศูนย์ปฏิบัติการ MoPH, IDC มีเสถียรภาพ มั่นคงปลอดภัย มีความ สอดคล้องตามมาตรฐาน ISO/IEC 27001:2013, ISO27799:2016 และ ISO 9001:2015 ตลอดจน ดำเนินการพัฒนาอย่างต่อเน่อื ง

7 ตัวชี้วัดสารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข ทม่ี า: ภาพแสดงโปรแกรม HDC รายงานตามตัวชี้วดั กระทรวงปี 2565 : ระบบสารสนเทศ ขอ้ มลู ระดบั หนว่ ยงาน โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพเตา่ ปูน จังหวดั ราชบรุ ี ตัวอย่างรายงานตามตัวชี้วัดกระทรวง ปี 2565 ตัวชี้วัด เด็กไทยมีการเจริญเติมโตและ พัฒนาการสมวัย เชน่ รอ้ ยละของเด็กอายุ 0-5 ปี สูงดสี มสว่ นและสว่ นสงู เฉลย่ี ท่ีอายุ 5 ปี ตวั ชี้วัด การ เฝ้าระวังอัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี เช่น ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่ม สงสยั ปว่ ยโรคเบาหวานและ/หรือความดนั โลหิตสงู แผนผังระบบเครือข่ายคอมพวิ เตอร์ สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข ทีม่ า :https://sites.google.com/site/teamwork3637/hnwy-thi3kherux-khay-xinthexrnet

8 ระบบสารสนเทศดา้ นสาธารณสุข ระบบสารสนเทศด้านสาธารณสุขมีหลายประเภท อาทิเช่น ระบบที่ใช้ในโรงพยาบาล (HIS: Hospital Information System) ระบบคลังข้อมูลสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข (HDC: Health3 Data Center) ระบบระเบียนข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคล (PHR: Personal Health Record) ระบบ สารสนเทศสนบั สนนุ การสง่ ต่อผู้ป่วย (Referral Information System) รายละเอียดงั ต่อไปน้ี 1.ระบบทีใ่ ชใ้ นโรงพยาบาล (HIS: Hospital Information System) ระบบ HIS (Hospital Information Systems) หรือ ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล เป็นการ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) เข้ามาเป็นเครื่องมือในการจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่ เพื่อให้แพทย์ พยาบาล หรือบุคลากรที่เกี่ยวข้อง สามารถเข้าถึงข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วยทั้งจากฐานข้อมูลของ โรงพยาบาล หรือจากสถานบริการสุขภาพอนื่ ๆ เพอ่ื วางแผนการรักษา ประเมนิ รูปแบบการดูแลผู้ป่วย ได้อย่างรวดเร็ว รวมถึงใช้ในการดำเนินงานของแต่ละแผนกภายในโรงพยาบาล ให้เกิดระบบการ ทำงานที่มีประสิทธิภาพ และประสานงานกันได้อย่างเป็นระบบ เช่น ระบบการรักษาพยาบาลระบบ ตรวจทางหอ้ งปฏิบตั ิการ ระบบเอกซ์เรย์ ระบบโภชนาการ ระบบบำรุงรักษา ระบบเภสัชกรรม ระบบ สังคมสงเคราะห์ ระบบงานคลัง และระบบบุคลากร ยกตัวอย่างเช่น ระบบสารสนเทศสนับสนุนงาน ผู้ป่วยใน (IPD: In-Patient Department) ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานผู้ป่วนนอก (OPD: Out Patient Department) ระบบสารสนเทศยาและเวชภัณฑ์ (Pharmacy Information System) ระบบสารสนเทศห้องปฏิบัติการ (Lab Information System) ระบบสารสนเทศสนับสนุนงานรังสี วทิ ยา (X-ray Information System) ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล จำแนกตามลักษณะงานเป็น 2 สว่ นดงั นี้ 1. ระบบงานบริการผปู้ ว่ ย (Fron Office) - ระบบที่สนับสนุนการบริการรักษาพยาบาลโดยตรง เช่น Medical Records, OPD, IPD, Pacs&Ris, OR, LIS, Pharmacy, Finance 2. ระบบงานบริหารจัดการทไ่ี มเ่ กย่ี วกับงานบริการ (Back Office) - ระบบที่ช่วยสนับสนุนองค์กรโดยรวม เช่น ระบบบริหารงานบุคคล การเงิน การคลัง และ การพัสดุ

9 ตัวอย่าง Software HIS ทีใ่ ช้ในโรงพยาบาล ➢ Hospital Information System (HIS) คือ เป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเพื่ออำนวยความ สะดวกในการให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และ/หรือโรงพยาบาลทั่วไปใน สังกดั กระทรวงสาธารณสุข ➢ ฮอสเอกซ์พี (HOSxP) เป็นซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน สำหรับสถานพยาบาล สถานีอนามัย และโรงพยาบาล พัฒนาโดยบุคลากรที่อาสาสมัครมาจากหลายโรงพยาบาล มีเป้าหมายที่จะ4 พัฒนาระบบสารสนเทศ ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถนำไปใช้งานได้จริงทั้งในระดับสถานี อนามัย ไปจนถึงโรงพยาบาลศูนย์ ➢ iMed คือ ซอฟต์แวร์แอปพลิเคชัน สำหรับสถานพยาบาล สถานีอนามัย และโรงพยาบาล เพ่ือใช้ในการให้บริการผู้ปว่ ยในระบบงานส่วนหนา้ (Front office) ของสถานพยาบาล ➢ Medico คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์การบริการทางการแพทย์ เหมาะสำหรับโรงพยาบาล ขนาดกลางและใหญ่ เชื่อมโยงกับแหล่งฐานข้อมูลอื่นผ่าน XML และ Internet เชื่อมต่อ โปรแกรมสำเรจ็ รปู อน่ื ๆ ได้ ➢ Med-Tark เป็นระบบเวชระเบียน ระบบห้องยา ระบบการเงิน ท่ีมา: ภาพแสดง Software HIS ท่ีใชใ้ นโรงพยาบาล : https://bit2alone.wordpress.com/4-2/

10 ตัวอย่างโปรแกรม HIS : Hospital Information System ท่ีมา: ภาพแสดงโปรแกรม HIS จาก รพ.ภมู พิ ลอดุลยเดช : https://prachatai.com/journal/2019/09/84133 เทคโนโลยีสารสนเทศในโรงพยาบาลประกอบด้วย สิ่งที่จะทำให้การทำงานของระบบ HIS สมบูรณ์ได้ เกิดจากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ที่ ประกอบไปด้วย 4 อยา่ ง ซึ่งทำงานร่วมกันแล้วเกิดเป็นระบบการงาน และชว่ ยมอบความสะดวกสบาย ใหก้ ับผใู้ ชง้ านดว้ ยเทคโนโลยี ไดแ้ ก่ 1. Hardware เป็นอุปกรณ์ไอทีทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ไม่ว่าจะเป็นคอมพิวเตอร์, โน้ตบุ้ค, สมาร์ทโฟน, แท็บเล็ต, เครื่องแม่ข่าย (Server), เครื่องลูกข่าย (Clients) รวมไปถึงระบบเครือข่าย (Network) ที่ทำงานรว่ มกันอยู่ 2. Software โดยแบ่งออกเปน็ 3 ส่วนคือ 2.1ระบบปฏิบตั กิ ารทีท่ ำงานอย่ภู ายใน Hardware เชน่ Windows, macOS, Linux ท่ใี ชง้ าน บนคอมพิวเตอร์และโน้ตบุ๊ค รวมถึง Android และ iOS ที่ใช้งานผ่านสมาร์ทโฟนและแท็บเล็ต นอกจากนยี้ ัง 2.2โปรแกรมอรรถประโยชน์ (Utility Program) ที่ช่วยเพิ่มสมรรถนะในการใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์ ซึ่งจะไม่ใช่โปรแกรมใช้งาน หรือโปรแกรมที่ผลติ งานออกมาด้วยตัวเองได้ แต่ช่วยให้การ ใช้โปรแกรมอื่นสะดวกขึ้น เช่น โปรแกรมจัดการไฟล์ (File Manager), โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่เก็บ

11 ข้อมูล (Disk Defragmenter), โปรแกรมป้องกันไวรัส (Anti-Virus Program), โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (File Compression Utility) เป็นต้น 2.3โปรแกรมประยุกต์ (Application) ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการข้อมูล ซึ่งสำหรับโปรแกรม สำหรับระบบโรงพยาบาล เช่น Hospital Information System (HIS), Electronic Medical Records (EMR), Enterprise Resource Planning (ERP) เป็นต้น 3. Peopleware เป็นบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการใช้งานระบบทั้งหมดซึ่งมีทั้ง ผู้จัดการระบบ, นักวิเคราะห์ ระบบ, โปรแกรมเมอร์ รวมไปถึง User หรือผู้ใช้งานระบบตามหน้าที่ประจำวันของตนเอง สำหรับ ระบบโรงพยาบาลผู้ใช้งาน (User) จะเป็น แพทย์ พยาบาล รวมถึงบุคลากรที่ทำงานภายใน โรงพยาบาลในทุกแผนก 4. Data เปน็ ข้อมลู ทั้งหมดภายในโรงพยาบาลที่ถูกจดั เก็บเอาไวใ้ นระบบ เช่น ข้อมลู ประวัติผู้ปว่ ย, ขอ้ มูลทางการแพทย์, ข้อมลู จากห้องปฏิบัติการ, ข้อมูลเกีย่ วกับยา เปน็ ต้น องค์ประกอบของระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ระบบสารสนเทศโรงพยาบาล หรือ HIS ช่วยในการสรุปข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้บริหารได้รับทราบข้อมูลต่างๆ สำหรับใช้วางแผนการพัฒนาวางแผนกลยุทธ์ วางแผน ดำเนินการ วางนโยบายในการปรับปรงุ พัฒนาหนว่ ยงาน และองคก์ รต่อไปในอนาคตได้ องค์ประกอบของระบบ HIS แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มงานใหญ่ ซึ่งได้แก่ 1.ดา้ นการรักษาพยาบาล 2.ดา้ นการบรหิ ารและวชิ าการ 3.ดา้ นวิศวกรรมการแพทย์ 1. ดา้ นการรักษาพยาบาล ช่วยอำนวยความสะดวกทั้งกับผู้ป่วยและบุคลากรทางการแพทย์ ในการเชื่อมโยงข้อมูลของ ผู้ป่วยแต่ละราย จากแต่ละแผนกที่ผู้ป่วยเกี่ยวข้องหรือต้องใช้บริการ ซึ่งจะอำนวยความสะดวกต่อทง้ั ผู้ป่วยและบคุ ลากรทางการแพทย์ให้ปฏบิ ตั งิ านได้สะดวกและรวดเร็วย่งิ ขน้ึ ประกอบดว้ ย -ระบบงานเวชระเบยี นและสถิติ -ระบบงานผ้ปู ว่ ยนอก -ระบบงานผู้ปว่ ยใน -ระบบงานเภสัชกรรม

12 -ระบบงานพยาธวิ ิทยา/ ระบบงานชันสูตร -ระบบรังสีวิทยา ระบบงานห้องผ่าตัดและวสิ ญั ญี -ระบบงานประกันภัยสุขภาพและประกนั สงั คม -ระบบงานหนว่ ยจ่ายกลาง -ระบบงานธนาคารโลหติ -ระบบงานการเงินผปู้ ่วย -ระบบงานควบคุมและป้องกันการตดิ เช้ือในโรงพยาบาล -ระบบงานหน่วยขนย้ายผ้ปู ่วย ความเกี่ยวข้องกันของข้อมูลผู้ป่วยในระบบ HIS สำหรับงานบริการผู้ป่วยที่เกี่ยวกับ เวช ระเบียน และข้อมูลสุขภาพของผู้ป่วย จะเป็นส่วนหนึ่งของระบบ HIS (Hospital Information System) หรือระบบสารสนเทศโรงพยาบาล ซึง่ ข้อมูลบางประเภทผู้ป่วยจะมสี ิทธ์ิในการเข้าถงึ ได้ แล7ะ จะมีการทำงานทสี่ อดคลอ้ งกันไป ประกอบไปด้วย 1.1 EHR (Electronic Health Records) ระบบระเบียนสขุ ภาพอิเล็กทรอนิกส์ ท่ีนอกจากบันทึกประวัติผู้ป่วยแลว้ ยังรวมถึงบันทึกการ ดูแลรักษา ผลตรวจ และยังครอบคลุมไปถึงข้อมูลสุขภาพที่ไม่เกี่ยวข้องกับการแพทย์ด้วย โดยเมื่อ ต้องการใช้ข้อมูลเพื่อรับบริการด้านการดูแลรักษา ระบบนี้จะทำการดึงข้อมูลของผู้ป่วยทั้งจาก ฐานข้อมูลของโรงพยาบาล หรือจากสถานที่ใหบ้ ริการดา้ นสขุ ภาพจากท่ีอืน่ มาใช้ได้ จึงช่วยให้บุคลากร ทางการแพทยส์ ามารถรบั รูข้ ้อมลู สขุ ภาพของผปู้ ว่ ย และให้การรกั ษาทถี่ ูกตอ้ งได้ 1.2 EMR (Electronic Medical Record) เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ เป็นการจัดเก็บข้อมลู ประวตั กิ ารรักษาผู้ป่วยของโรงพยาบาลหรอื สาธารณสุขแต่ละแห่ง ในรูปแบบของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ โดยข้อมูลนี้จะใช้ในการเชื่อมโยงและ แลกเปลี่ยนระหวา่ งสถานพยาบาล เพ่อื ประโยชนใ์ นการรกั ษาผปู้ ว่ ยเท่าน้นั ข้อดีของการบันทึกข้อมูลแบบ EMR จะส่งผลดีต่อประสิทธิภาพในการจัดการข้อมูลทาง การแพทย์เป็นอย่างมาก ที่จะสามารถนำเอาข้อมูลเหล่านี้มาใช้จริงกับผู้ป่วย รวมถึงบุคลากรทาง การแพทยไ์ ดเ้ ปน็ อยา่ งดี 1.3 PHR (Personal Health Record) ขอ้ มลู สุขภาพผู้ปว่ ยแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ ซ่งึ ประกอบไปดว้ ย ขอ้ มลู ผู้ป่วย บุคคลอา้ งอิง การแพ้ ยา การส่งต่อ การเข้ามารับการรักษา การวินิจฉัยโรค อาการเจ็บป่วย ทำหัตถการและผ่าตัด ผลการ ตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ ผลตรวจจากภาพถ่ายทางการแพทย์ ยาและเวชภณั ฑ์ ผู้ใหบ้ ริการ การทำนัด

13 โดยเป็นข้อมูลที่ผู้ป่วยสามารถเข้าถึง ควบคุม จัดการได้ด้วยตัวเอง ที่อาจจะมาจาก EHR ของทาง โรงพยาบาล การบันทกึ ของผู้ปว่ ยเอง หรือไดร้ บั จากแหลง่ อ่ืนมากไ็ ด้ 2. ระบบโรงพยาบาลดา้ นการบริหารและวิชาการ เป็นระบบสารสนเทศที่มีความสำคัญในการใช้ข้อมูลมาช่วยในการบริหารโรงพยาบาล ด้วย การสรุปขอ้ มูลในแตล่ ะดา้ นของทางโรงพยาบาล เชน่ ข้อมลู บุคลากร -การจัดอตั รากำลงั -ความเชี่ยวชาญเฉพาะทางของเจ้าหนา้ ท่ี -อัตราเงินเดือน -คลงั ยา -คลังจา่ ยวัสดอุ ปุ กรณ์กลาง -จำนวนผ้มู าใชบ้ ริการ -รายจ่าย-รายรับ จากนั้นผู้บริหารจะสามารถนำข้อมูลเหล่านี้ ไปประกอบในการตัดสินใจ วางแผนกลยุทธ์ วางแผนดำเนินงานต่างๆ ซึ่งประกอบไปด้วย ระบบงานธุรการ, ระบบงานพัสดุ, ครุภัณฑ์, ระบบงาน บัญชีและการเงิน, ระบบงานประชาสัมพันธ์ รวมไปถึงระบบงานศึกษา (แพทย์และพยาบาล) ให้มี ประสิทธภิ าพทด่ี ียง่ิ ขึ้น 3. ระบบโรงพยาบาลดา้ นวศิ วกรรมการแพทย์ เป็นระบบงานด้านการบรหิ ารจดั การเครื่องมือ และอปุ กรณ์ทางการแพทย์ให้มีความพร้อมใช้ งานอย่เู สมอ ซ่งึ ประกอบไปด้วย -ระบบงานซ่อมบำรุง -ระบบงานบำรงุ รักษา -ระบบงานสอบเทียบ -ระบบงานการคัดกรองเทคโนโลยีทางการแพทย์ -ระบบงานการประเมินอายุการใช้งาน และการยกเลิกการใช้งานเครอื่ งมือแพทย์ ประโยชนร์ ะบบ HIS : Hospital Information System 1. สามารถใช้ข้อมูลที่มีอยู่มาวิเคราะห์ (Data Analytics) เพื่อวางแผนในการปฏิบัติงาน รวมถึง นำขอ้ มลู การรกั ษาของผู้ปว่ ยจำนวนมากมาวิเคราะหร์ ว่ มกัน

14 2. การร่วมมือกับหน่วยงานด้านสุขภาพภายนอก ระบบ HIS จึงเข้ามาช่วยเหลือในการ แลกเปล่ยี นข้อมลู และบันทกึ สุขภาพทวั่ ไปของผู้ป่วยระหวา่ งหนว่ ยงานได้ 3. อำนวยความสะดวกในการจัดทำข้อมูลของแต่ละแผนก เช่น เอกสารรายงาน สำหรับราย แผนก ทง้ั รายวนั รายเดอื น และรายปี 4. ช่วยให้การดำเนินงานในแต่ละวันของบุคลากรในโรงพยาบาลเป็นไปอย่างราบรื่น เช่น ทำ ตารางผา่ ตดั ตารางเวรขึ้นปฏิบตั ิงาน ตารางคลนิ ิกประจำวนั

15 2.ระบบคลังข้อมูลสุขภาพของกระทรวงสาธารณสุข (HDC: Health Data Center) HDC: Health Data Center คอื ระบบคลงั ข้อมูลดา้ นการแพทย์และสุขภาพ สำหรบั ระบบ คลังข้อมูลสุขภาพ Health Data Center (HDC) ระดับจังหวัด, ระดับเขต และระดับกระทรวง เป็น ระบบฐานข้อมูลกลางด้านสุขภาพ ซึ่งรวบรวมข้อมูลสาธารณสุขของสถานบริการภายใต้สำนักงาน สาธารณสุขจังหวัดทุกแห่ง เป็นระบบฐานข้อมูลเพื่อสนบั สนุนการบริหารจัดการและการตัดสนิ ใจของ ผู้บริหารระดับต่างๆ ในกระทรวงสาธารณสุข โดยใช้ข้อมูลตามโครงสร้างมาตรฐาน ๔๓ แฟ้ม ท่ี ประกาศโดยสำนักนโยบายและยุทธศาสตรส์ ่งจากหน่วยบริการสาธารณสุขมายงั ฐานข้อมูลกลางระดับ จังหวัด (HDC ระดับจังหวัด) เพื่อตรวจสอบและประมวลผลตามขั้นตอนการประมวลผลที่สร้างจาก สว่ นกลาง และข้อมูลที่ถกู ประมวลผล และสง่ มายังฐานข้อมลู กลางระดบั กระทรวงแบบอัตโนมัติ ระบบฐานข้อมูลกลาง (HDC) ระดับจังหวัดเปิดให้บริการ Web Service คืนข้อมูลด้านความ ครอบคลุม เช่น ANC, EPI ให้กับโปรแกรมในสถานบริการ เช่น JHCIS, JHOS ฯลฯ เพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูลด้านการแพทย์ของผู้ป่วยใหม้ ีความต่อเนื่องในการไปรับบริการรักษาพยาบาลในจังหวัดเดียวกนั ได้ ส่วนผใู้ ชง้ านโปรแกรมสามารถใช้ประโยชน์ข้อมูลได้ 2 ลกั ษณะ คอื 1. ระดับกระทรวง เขตบรกิ ารสุขภาพ จงั หวัด อำเภอ ตำบล หมู่บา้ น 2. ระดบั เครอื ขา่ ยบริการ หน่วยบริการ แบง่ ขอ้ มูลเปน็ 2 กลุ่ม คือ 1. ข้อมลู ตัวชว้ี ดั เปน็ ขอ้ มูลตวั ช้วี ดั ตามยทุ ธศาสตร์ ในระดับกระทรวง ระดบั กรม ระดับ เขต และระดับจังหวัด แบ่งตามกลุ่ม สตรีและเด็ก ปฐมวัย วัยเรียน วัยทำงาน และ ผู้สงู อายุ 2. ขอ้ มลู ดา้ นสุขภาพ เปน็ ข้อมลู สขุ ภาพของประชาชนทงั้ ประเทศ เช่นอัตราป่วย โครงสร้างฐานข้อมูลสำหรับการทำงานภายในระบบโปรแกรมในรูปแบบ Relational Database รองรับการทำงานบนโปรแกรมฐานข้อมูล ชนิด RDBMS ทั่วไป โดยใช้ภาษา SQL ในการ สืบค้นข้อมูล ส่วนการประมวลผลรายงาน, ตัวชี้วัดกระทรวง ในรูปแบบ Demoralization โดยใช้ เทคนิค Extract, Transform and Load ในการประมวลผลข้อมูล ออกแบบการทำงานหลายระดับ โดยในระดับจังหวัดจะมีการทำงานในลักษณะ Data Mart และมีการส่งข้อมูลผ่าน Web Service ผ่านช่องทางการสื่อสารภายในหน่วยงานของกระทรวง เพื่อรวมข้อมูลให้กับ Cloud Health Data Center เพื่อการทำงานในลักษณะ Data Warehouse, Decision Support System โดยใช้รูปแบบ Protocol การสื่อสารแบบ SOAP, และใช้รูปแบบข้อมูล Data Format แบบ JSON ในการ

16 แลกเปลี่ยนข้อมูล ผู้มีหน้าที่ดูแลระบบด้าน IT สามารถบริหารจัดการเว็บไซต์ แบบศูนย์กลาง ทั้ง code คำสั่งในการประมวลผลและรปู แบบรายงาน โดยการปรับปรุงผ่าน Web service ซงึ่ ลดปัญหา เงือ่ นไขการประมวลผลทไ่ี มต่ รงกนั ตวั อย่างโปรแกรม HDC: Health Data Center ท่มี า : ภาพแสดงโปรแกรม HDC: Health Data Center ของสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั สตลู : https://stn.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php ตวั อย่างการเข้าใชง้ านโปรแกรม HDC: Health Data Center ทีม่ า : ภาพแสดงโปรแกรม HDC: Health Data Center ของสำนักงานสาธารณสขุ จงั หวัดสตูล : https://stn.hdc.moph.go.th/hdc/main/index.php

17 43 แฟม้ คือ ข้อมลู จากหน่วยบริการท้ังหมด เป็นบทบาทการทำงานของ IT และเปน็ บทบาท ของผูร้ บั ผิดชอบงานด้านสุขภาพทุกคน 43 แฟม้ ประกอบดว้ ย แฟม้ สะสม แฟ้มบริการ แฟ้มบริการกึ่ง สำรวจ (43 แฟ้ม = HDC) การได้มาซึ้งข้อมูล 43 แฟ้ม ทีม่ า: ภาพแสดงการได้มาซง่ึ ข้อมลู 43 แฟ้ม : https://kkhdc.moph.go.th/download/uploads/1532736578_17015.pdf แผนผังการส่งข้อมูล ที่มา: ภาพแสดง Flow การส่งขอ้ มูล : https://kkhdc.moph.go.th/download/uploads/1532736578_17015.pdf

18 HDC: Health Data Center 43 แฟ้ม 43 แฟ้ม ประกอบดว้ ย แฟ้มสะสม แฟ้มบรกิ าร แฟม้ บริการก่งึ สำรวจ ทีม่ า: ภาพแสดง 43 แฟ้มขอ้ มูล : http://thcc.or.th/ HDC ON CLOUD และ HDC SERVICE ที่มา: ภาพแสดง HDC ON CLOUD และ HDC SERVICE : https://kkhdc.moph.go.th/download/uploads/1532736578_17015.pdf

19 แนวทางการส่งข้อมูล HDC/43 แฟม้ ที่มา: ภาพแสดงแนวทางการสง่ ข้อมลู HDC/43 แฟม้ :https://1.bp.blogspot.com/OVOk_HvAvqw/V29ZoubC6fI/AAAAAAAAOTU/DrnCrzI 5vwMS9Hy1xLplmAKuEsmbUGNtACLcB/s1600/flow-hdc-moph.png ประโยชน์ระบบ HDC: Health Data Center 1. การพัฒนา HDC มีการกำหนดเป้าหมายให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งหน่วยบริการ (Hospital-based) และประชาชน (eHealth และ Personal Health Record – PHR) 2. รองรับสังคมดิจติ อลในอนาคต 3. ขอ้ มูลจึงควรมคี วามถกู ต้อง มีความสดใหม่ สะดวกในการใชง้ าน 4. มกี ารรักษาความปลอดภยั ของข้อมูล

20 3.ระบบระเบียนข้อมลู สุขภาพสว่ นบคุ คล (PHR: Personal Health Record) Personal Health Record: PHR คือ ระบบระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล เป็นการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาสนับสนุนด้านการบริการระบบสุขภาพระดับจังหวัดให้เกิ ด ประสิทธิภาพและจัดการปัญหาด้านสุขภาวะของโรคที่เกิดกับประชากรในพื้นที่ ช่วยบริหารและ จดั การสนบั สนนุ การเชือ่ มโยงขอ้ มูลด้านสขุ ภาพดว้ ยมาตรฐานทแ่ี ลกเปลี่ยนกันได้แบบทนั ที มีความถูก ต้อง รวดเร็ว ประชาชนสามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลาโดยการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ Tablet หรือ อปุ กรณ์ Smart Devices ขอ้ มลู ในระบบ PHR เปน็ ขอ้ มูลเก่ียวกับสขุ ภาพในด้านตา่ งๆ ประกอบไปดว้ ยข้อมูลทีม่ าจาก 1) โรงพยาบาลหรือสถานพยาบาล 2) จากการบนั ทกึ ดว้ ยตัวเองของผปู้ ่วย ซึ่งข้อมูลประเภทที่บันทึกด้วยตัวเองอาจมาจากอุปกรณ์ตรวจวัดแบบพกพา เช่น นาฬิกา หรือเครื่องตรวจชีพจรแบบติดตัว อุปกรณ์ติดตัวประเภทอื่นๆ เครื่องตรวจความดันที่บ้าน รวมไปถึง ระบบเซนเซอรห์ รอื IoT (Internet of Things) ท่ตี รวจวดั ค่าตา่ งๆ เกี่ยวกบั สขุ ภาพได้ เปน็ ตน้ จุดเด่นของเทคโนโลยี ต้นแบบของการพัฒนาแพลตฟอร์มระบบสารสนเทศด้านสขุ ภาพที่มี การสร้างมาตรฐานโครงสร้างข้อมูลรองรับการพัฒนาเชื่อมต่อกับอุปกรณ์ Wearable Devices ใน อนาคตสามารถส่งต่อให้บรษิ ัทพัฒนาซอฟต์แวร์นำไปต่อยอดและขยายผลในอนาคตต่อไปมีฟังก์ชันได้ หลากหลายตามขอบเขตการใช้งาน เช่น Software Platform, Open Technology, Database Management System, Big Data Analytics, Intelligent Search, Visualization, Cloud System, และ Machine Learning คุณสมบัติ มีโครงสร้างมาตรฐานกลางข้อมูลระเบียนสขุ ภาพอิเล็กทรอนกิ ส์ ส่วนบุคคล (Personal Health Record: PHR) ในระดับจังหวัดมีซอฟต์แวร์มอดูล (Module) สําหรับ เชื่อมโยงและบันทึกข้อมูลข้อมูลระเบียนสุขภาพอิเล็กทรอนิกส์ส่วนบุคคล (Personal Health Record: PHR) เชื่อมต่อกับสาธารณสุขจังหวัด โดยอ้างอิงชุดของข้อมูลมาตรฐาน (Standard DataSets) ที่ได้กําหนดเป็นมาตรฐานกลางให้ทุกหน่วยบริการสุขภาพรองรับการพัฒนาเชื่อมต่อกับ อปุ กรณ์ Wearable Devices ในอนาคต

21 ตวั อยา่ งโปรแกรม PHR: Personal Health Record ทีม่ า: ภาพแสดงตัวอยา่ งโปรแกรม PHR: Personal Health Record : https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-software/phr.html

22 ตวั อยา่ งโปรแกรม PHR: Personal Health Record ทีม่ า: ภาพแสดงตัวอยา่ งโปรแกรม PHR: Personal Health Record : https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-software/phr.html

23 PHR กบั การเชอ่ื มโยงข้อมลู ระหวา่ งโรงพยาบาล ระหว่างหนว่ ยงานและระหวา่ งโรงพยาบาล ปัจจุบัน ประชาชนเริ่มสนใจในการดูแลตัวเองมากขึ้น และเริ่มเห็นความสำคัญในการเก็บ ข้อมูลสุขภาพของตนเองไว้ติดตามแนวโน้มสุขภาพ จึงทำให้ระบบข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลเริ่มได้รับ ความนิยมมากขึ้น โดยข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แบ่งออกเป็น ข้อมูลสุขภาพที่ได้จากสถานพยาบาล ข้อมูล สุขภาพจากสถานประกอบการ ข้อมูลจากหนว่ ยงานประกันสุขภาพ และข้อมลู สขุ ภาพท่ีทำการบันทึก เองจากที่บา้ น 1. รายละเอียดข้อมูลผู้เข้ารับการตรวจสุขภาพ เช่น เลขประจำตัวประชาชน เลข Hospital Number หมายเลขโทรศพั ท์มอื ถอื อีเมล หมายเลข passport (ถา้ ม)ี ทีอ่ ยู่ เลขท่ี หมูบ่ ้าน ถนน ตำบล อำเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์ พิกัดบ้าน เพศ วันเดือนปีเกิด วันที่ตรวจ เลขประจำตัวผู้ เสยี ภาษขี องนายจ้าง (กรณตี รวจตามแพคเกจนายจา้ ง) 2. ประวตั ิสว่ นตวั (Personal History) เช่น สถานภาพสมรส การสบู บุหร่ี การด่ืมแอลกอฮอล์ โรค ประจำตวั ยาทใ่ี ชป้ ระจำ การแพ้ยา / สาร อาการสำคัญที่ต้องการปรึกษาแพทย์ 3. ประวตั ิในอดตี (Past History) เช่น การผ่าตัด ประวัตอิ ืน่ ๆ 4. การตรวจร่างกายโดยทั่วไป (Physical Examination) เช่น สภาพร่างกายโดยทั่วไป ดัชนีมวล กาย ความสงู นำ้ หนกั เสน้ รอบเอว ชีพจร ความดันโลหิต สายตา การตรวจตาบอดสี 5. การตรวจร่างกายโดยแพทย์ เช่น ตา หู คอ จมูก ต่อมไทรอยด์ ปอดและทรวงอก หัวใจ ท้อง และอวัยวะในช่องท้อง ต่อมน้ำเหลือง ระบบทางเดินปัสสาวะ แขนและขา ระบบกระดูกและ กล้ามเนอ้ื ผิวหนัง 6. การตรวจทางหอ้ งปฏิบตั กิ าร เช่น หมเู่ ลอื ด ความสมบูรณ์ของเมด็ เลอื ด 7. ก า ร ต ร ว จ ป ั ส ส า ว ะ เ ช ่ น Color, Turbidity, Sp.gravity, pH, Protine, Glucose, Erythrocytes, Ketones, Bilirubin, WBC (cells/HP) , RBC (cells/HP), Sq.Epi. (cells/HP) 8. การตรวจอุจจาระ เชน่ ( Occult blood ), Color, OvaParasite, WBC, RBC 9. การตรวจสารชีวเคมีในเลือด เช่น ตรวจหาระดับน้ำตาลในเลือด (FBS) น้ำตาลสะสมในเลือด (HbA1C) ตรวจการทำงานของไต (Creatinine) ตรวจการทำงานของไต (BUN) ตรวจหารกรด ยูริค (Uric Acid) ตรวจหาคลอเรสเตอรอลในเลือด (Cholesterol) ตรวจหาไตรกลีเซอร์ไรด์ใน เลอื ด (Triglyceride) คตรวจหาระดับไขมนั ความหนาแน่นสูงชนิดดี (HDL) ตรวจหาระดับไขมัน ความหนาแนน่ สงู ชนดิ ร้าย (LDL) การทำงานของตับ

24 10. การตรวจภูมิคุ้มกันวิทยา เช่น ตรวจคัดกรองโรคเลือด (Hb Typing) ตรวจหาเชื้อไวรัสตับ อักเสบบี (HBsAg) ตรวจหาภมู ิคมุ้ กนั ไวรัสตบั อักเสบบี (HBsAb) ตรวจหาการเคยสมั ผสั ไวรัสตับ อักเสบบี (HBcAb) ตรวจหาภมู ิคมุ้ กนั บกพร่อง (Anti-HIV) ตรวจหาเช้ือซิฟลิ ิส (VDRL) ตรวจหา ภูมคิ ุม้ กันหัดเยอรมนั (Anti-Rubella lgG) 11. การตรวจเอก็ ซเ์ รยท์ รวงอก (Chest X ray) 12. การตรวจคล่นื ไฟฟ้าหวั ใจ (EKG) 13. การตรวจอลั ตราซาวดช์ ่องทอ้ ง (Ultrasound) 14. การตรวจปัจจัยเส่ยี งมะเรง็ เต้านม (Mammogram) 15. การตรวจปัจจัยเสีย่ งมะเรง็ เตา้ นม (Ultrasound Breast) 16. การตรวจปัจจัยเส่ียงมะเรง็ (Tumor Marker) 17. การตรวจภายใน (PV) และตรวจหามะเร็งปากมดลูก (Pap Smear) 18. การตรวจลำไสใ้ หญ่ด้วยเครื่องเอก็ เรย์คอมพิวเตอร์ (CT Colonography) 19. การตรวจความสมบูรณ์ของเชอ้ื อสุจิ (Semen Analysis) 20. การตรวจสมรรถภาพการมองเหน็ 21. การตรวจสมรรถภาพการไดย้ นิ 22. ความหนาแน่นของกระดกู (Bone Densitometer) 23. การตรวจหาปรมิ าณแคลเซียมของหลอดเลอื ดหัวใจ (CT CACS) 24. การตรวจด้าน Toxicology หรือการตรวจโลหะหนัก เช่น Chromium (โครเมียม) Lead (ตะกั่ว) Nickle (นิกเกิล) Manganese (แมงกานีส) Copper (ทองแดง) Zinc (สังกะสี) Aluminium (อลูมิเนยี ม) เป็นต้น ข้อมูลสุขภาพจากสถานประกอบการ เป็นข้อมูลที่เก็บไว้ที่สถานประกอบการ โดยเจ้าของ ขอ้ มูลเปน็ ผเู้ ก็บไวห้ รอื สถานประกอบการดำเนินจดั เก็บข้อมูล เช่น ขอ้ มูลการเจ็บป่วยหรือการได้รับยา ในห้องพยาบาล ข้อมูลการขาดงาน ข้อมูลโรคหรืออุบัติเหตุในการทำงาน ข้อมูลการเบิกจ่ายประกัน สุขภาพพนักงงาน ข้อมูลผลการตรวจสุขภาพก่อนเข้างาน ตรวจสุขภาพประจำปี หรือการตรวจ สขุ ภาพตามปจั จยั เสยี่ ง เปน็ ต้น ข้อมูลจากหน่วยงานประกันสุขภาพ ข้อมูลที่เก็บไว้ในหน่วยงานที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการ ประกันสุขภาพ หรือ ประกันชีวิต หรือหน่วยงานกลางที่ดูแลสิทธิการรักษาต่างๆ เช่น สำนักงาน

25 ประกันสังคม สำหรับผู้ใช้สิทธิประกันสังคม กรมบัญชีกลาง สำหรับสิทธิข้าราชการ หรือ สำนักงาน หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับสิทธิประกันสุขภาพถ้วนหน้า (บัตรทอง / บัตร 30 บาท) เช่น ข้อมูลประวตั กิ ารรกั ษา การใช้ยา คา่ รักษาพยาบาล สถานพยาบาล การวินิจฉยั การเบกิ จา่ ย เป็นต้น ข้อมูลสุขภาพที่ทำการบันทึกเองจากที่บ้าน เป็นข้อมูลสำคัญที่ขาดหายไปในระบบข้อมูล สุขภาพ เนื่องจากเกี่ยวข้องกับการที่ผู้ป่วยจะต้องบันทึกข้อมูลสุขภาพ หรือ การดำรงชีวิตของตนเอง เพื่อประโยชน์ในการติดตาม การวินิจฉัย หรือการรักษา ซึ่งผู้ป่วยมักจะไม่สามารถบันทึกข้อมูลได้ ต่อเน่อื ง เพยี งพอ เช่น ขอ้ มูลความดนั โลหติ ข้อมูลระดบั น้ำตาลในเลือดทต่ี รวจดว้ ยเครอ่ื งตรวจน้ำตาล ในเลือดด้วยตนเอง ข้อมูลน้ำหนัก/ส่วนสูง ข้อมูลการกินหรือโภชนาการ ข้อมูลอาการเจ็บป่วย ข้อมูล การออกกำลัง ขอ้ มูลการกินยา/ฉีดยา/การไดร้ บั ยา ข้อมูลประวัตกิ ารเจ็บปว่ ยในครอบครัว หรือข้อมูล ดา้ นสุขภาพจติ เป็นต้น ข้อมูลต่างๆ มีหลายรูปแบบทั้งตัวอักษรหรือภาพ มีหลายแหล่งที่มา การบูรณาการข้อมูล สุขภาพในรูปแบบข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลทางอิเล็กทรอนิกส์ หรือ ระเบียนสุขภาพส่วนบุคคล อิเล็กทรอนิกส์ จึงเป็นแนวทางสำคญั ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล และใช้ประโยชน์ตอ่ ข้อมูล ในการดูแล รกั ษาและสง่ เสริมป้องกันโรคได้ดยี ่ิงข้นึ โดยการรวบรวมข้อมูลและแบ่งปันข้อมลู ร่วมกันจำเป็นต้องใช้ มาตรฐานข้อมูลเพื่อการจัดเก็บและเรียกใช้งานอย่างเป็นระบบ มีการขอความยินยอมของผู้ป่วย การ รกั ษาความลบั และรกั ษาความปลอดภัยของระบบที่ดี การจัดทำการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างสถานพยาบาล ในด้านข้อมูลยา ควรใช้บัญชีข้อมูลยา และรหัสยามาตรฐานของไทย TMT (Thai Medicines Terminology) ในการเชื่อมโยงข้อมูลยาและ รหัสยามาตรฐานเดียวกัน ส่วนข้อมูลผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการควรใช้รหัสมาตรฐานสากลที่ใช้ ระบุชนิดของการตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และการตรวจทางคลินิก LOINC (Logical Observation Identifiers Names and Codes) ใ น ก า ร เ ช ื ่ อ ม โ ย ง ข ้ อ ม ู ล ผ ล ก า ร ต ร ว จ ท า ง หอ้ งปฏบิ ตั ิการ การเชื่อมโยงโดยการกำหนดระดับของข้อมูลที่ต้องการเชื่อมโยงและกำหนดความหมายและ รหัสที่ใช้เชื่อมโยงข้อมูลระหว่างกันโดยอาจนำร่องเชื่อมโยงข้อมูลในระยะแรกในข้อมูลที่ไม่ซับซ้อน หรอื การตรวจทตี่ อ้ งใช้ข้อมลู ร่วมกนั เป็นประจำ ตัวอยา่ งการใช้ รหสั มาตรฐานสากลที่ใช้ระบุชนิดของ การตรวจทางห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ และการตรวจทางคลินิก LOINC โดยกำหนดตารางการ ตรวจ และรหัส LOINC รวมถึงคำอธิบายเพื่อความเข้าใจที่ตรงกัน แล้วให้สถานพยาบาลทำการจับคู่

26 รหสั มาตรฐาน LOINC กบั รหัสการตรวจปจั จุบนั ตัวอยา่ งตารางที่สถานพยาบาลแตล่ ะแหง่ จะใชอ้ ้างอิง ข้อมลู ร่วมกนั ดังนี้ ทมี่ า: ภาพแสดงตารางรหสั มาตรฐาน LOINC กับรหัสการตรวจปัจจบุ ัน : https://www.treconwebsite.com/personal-health-record ประโยชนร์ ะบบ PHR: Personal Health Record 1. แพทย์สามารถเข้าถงึ ข้อมูลของผู้ป่วยไดม้ ีประสิทธภิ าพมากขึน้ 2. ผู้ปว่ ยมีเครอื่ งมือในการตดิ ตามพฤติกรรม 3. เพิ่มประสิทธิภาพการจดั การข้อมูลจากผ้บู ันทึกข้อมูลท่ีหลากหลาย 4. ลดค่าใช้จ่ายและเวลาในการบรหิ ารจัดการข้อมลู 5. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการส่ือสารระหวา่ งผู้ป่วยและแพทย์ 6. ใช้จดั การข้อมลู ดา้ นสุขภาพของครอบครัวได้

27 4.ระบบสารสนเทศสนับสนนุ การสง่ ตอ่ ผปู้ ่วย (Referral Information System) Referral Information System คือ ระบบสารสนเทศสนับสนุนการส่งต่อผู้ป่วย กระทรวงสาธารณสุขมีการพัฒนาระบบสารสนเทศสนับสนุนการส่งต่อผู้ป่วยโดยใช้ โปรแกรม Hospital Information System (HIS) เป็นโปรแกรมพื้นฐานที่พัฒนาขึ้นเพื่อ อำนวยความสะดวกในการให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และ/หรือ โรงพยาบาลทั่วไปในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขในการสนับสนุนการส่งต่อผู้ป่วยระบบท่ี จัดการในเรื่องของการส่งตัวผู้ป่วยไปรักษาต่อยังโรงพยาบาลปลายทางอย่างเร่งด่วน ซึ่ง ประกอบด้วยการทำงานตั้งแต่การสร้างข้อมูลผู้ป่วย การแนบไฟล์ข้อมูลผู้ป่วย การแก้ไข การบันทึก การค้นหา การลบ การยกเลิก และการพิมพ์ใบส่งตัว รวมถึงการแจ้งเตือนการ ส่งต่อไปยังกลมุ่ ไลน์ของโรงพยาบาลแมข่ า่ ย ในอดีตการรับส่งต่อผู้ป่วย มีปัญหาเรื่องขั้นตอนการส่งต่อยังไม่เป็นระบบ การ สื่อสารข้อมูลการส่งต่อไมเ่ พียงพอทำใหผ้ ู้ป่วยได้รบั การดูแลรักษาพยาบาลล่าชา้ ถงึ แม้จะมี การนำระบบสารสนเทศมาใช้ในสถานพยาบาลแต่ละสถานพยาบาลแต่ละพื้นที่ยังมีความ หลากหลายและยุ่งยากในการแลกเปลี่ยนข้อมูลผู้ป่วยเพื่อการรักษาพยาบาล ระบบส่งต่อ และนัดหมายผู้ป่วยเป็นระบบที่มีความสำคัญมากในการลดช่องว่างของการบริการทาง การแพทย์เพราะทำให้ประชาชนได้รับการบริการอย่างทั่วถึง ถูกต้อง เหมาะสม และมี คุณภาพโดยเฉพาะการเขา้ ถึงการบรกิ ารทางการแพทย์ทีม่ ีความเชย่ี วชาญเฉพาะทาง ยกตัวอย่างการจัดทำโปรแกรมการส่งต่อและนัดหมายผู้ป่วยภายเป็นโปรแกรมที่พัฒนาขึ้น เพื่อให้แพทย์และพยาบาลที่ทำหน้าที่ในการรับ-ส่งต่อและนัดหมายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลใน เครือข่ายบริการที่ 2 จังหวัดเชียงใหม่ทั้ง 7 แห่งได้นำไปใช้เพื่อเชื่อมโยงข้อมูลผู้ป่วยระหว่าง โรงพยาบาลและเพ่ิมประสิทธิภาพในการทำงานใหร้ วดเรว็ และถกู ต้องมากข้ึน ทัง้ นีม้ ีการแบง่ ระดบั การ ใช้งานเป็น 3 ระบบ ได้แก่ 1) การใช้งานระบบสำหรับผู้ใช้งาน Internal Staff 2) การใช้งานระบบ สำหรับผู้ใช้งาน External Staff และ 3) การใช้งานระบบสำหรับผู้ใช้งาน Admin (ผู้ดูแลระบบ) ดัง รายละเอยี ดต่อไปน้ี 1. การใช้งานระบบสำหรับผู้ใช้งาน Internal Staff เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ด้านการนัดหมายผู้ป่วยภายในโรงพยาบาลตั้งแต่การนัดหมายใหม่การค้นหา/เพิ่ม/แก้ไขรายการนัด

28 หมาย การยกเลิกการนัดหมาย และการสั่งพิมพ์ใบนัดหมาย รวมถึงการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับอาการ และอาการ แสดงของผูป้ ่วย เช่น สญั ญาณชีพ และอาการเจ็บป่วย 2. การใช้งานระบบสำหรับผู้ใช้งาน External Staff เป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงาน ด้านการส่งต่อผู้ป่วย Refer แบบส่งทันทีและการส่งตัวผู้ป่วย Refer แบบนัดหมายสำหรับผู้ป่วยนอก (OPD) ดงั รายละเอียดตอ่ ไปนี้ 2.1 การส่งตัวผู้ป่วย Refer แบบส่งทันทีเป็นระบบที่จัดการในเรื่องของการส่งตัวผู้ป่วยไป รกั ษาต่อยังโรงพยาบาลปลายทางอย่างเร่งดว่ น ซงึ่ ประกอบด้วยการทำงานตง้ั แต่การสรา้ งข้อมูลผู้ป่วย การแนบไฟล์ข้อมูลผู้ป่วย การแก้ไข การบันทึก การค้นหา การลบ การยกเลิก และการพิมพ์ใบส่งตัว รวมถึงการแจง้ เตอื นการสง่ ตอ่ ไปยงั กลุม่ ไลน์ของโรงพยาบาลแม่ข่าย 2.2 การส่งตัวผู้ป่วย Refer แบบนัดหมาย (OPD) เป็นระบบที่จัดการในเรื่องของการส่งตัว ผู้ป่วยไปรับการตรวจหรือรักษาต่อในรูปแบบผู้ป่วยนอก ซึ่งประกอบด้วยการทำงานตั้งแต่การสร้าง ข้อมูลผู้ป่วย การแนบไฟล์ข้อมูลผู้ป่วย การแก้ไข การบันทึก การค้นหา การลบ การยกเลิก และการ พมิ พ์ใบสง่ ตัว รวมถงึ การแจง้ เตือนการสง่ ตอ่ ไปยังกลมุ่ ไลน์ของโรงพยาบาลแมข่ ่าย 3. การใช้งานระบบสำหรับผู้ใช้งาน Admin (ผู้ดูแลระบบ) เป็นระบบการใช้งานของผู้ดูแล ระบบซึ่งทำหน้าที่ในการตั้งค่านัดหมายภายในโรงพยาบาล ประกอบด้วยการเพิ่ม/แก้ไข/ลบวันหยุด ของแพทย์ การเพิ่ม/แก้ไข/ลบจำนวนนัดของแพทย์ การเพิ่ม/แก้ไข/ลบฟอร์มนัดหมาย การเพิ่ม/ แกไ้ ข/ลบขอ้ มูล รายการตรวจ การเพิม่ /แกไ้ ข/ลบตัวช่วยนัด การต้งั ค่า/แก้ไข/ลบอาการเจบ็ ปว่ ย และ การการต้งั ค่า/เพมิ่ /แกไ้ ข/ลบผ้ใู ชง้ านระบบ ตัวอย่างโปรแกรม Referral Information System ท่มี า: ภาพแสดงการนดั หมายภายในของโปรแกรม Referral Information System : https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf, โรงพยาบาลสนั ทราย เชยี งใหม่

29 ตวั อย่างโปรแกรม Referral Information System ทม่ี า: ภาพแสดงการเช่ือมโยงโปรแกรม Referral Information System : https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf : โรงพยาบาลสนั ทราย เชยี งใหม่ ตัวอย่างโปรแกรม Referral Information System ทีม่ า: ภาพแสดงการเชื่อมโยงโปรแกรม Referral Information System : https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf : โรงพยาบาลสนั ทราย เชยี งใหม่

30 ตวั อยา่ งโปรแกรม Referral Information System ทม่ี า: ภาพแสดงหน้าจอการคน้ หาและแสดงรายการส่งตัวผู้ป่วย : https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf, โรงพยาบาลสนั ทราย เชียงใหม่ ตวั อย่างโปรแกรม Referral Information System ทมี่ า: ภาพแสดงหน้าจอการสร้างและบันทึกฉบับรา่ งการสง่ ตัวผู้ป่วย : https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf, โรงพยาบาลสันทราย เชียงใหม่

31 ตวั อย่างโปรแกรม Referral Information System ที่มา: ภาพแสดงหนา้ จอการแก้ไข บันทกึ ฉบับร่าง และลบฉบบั ร่างการส่งตัวผู้ป่วย : https://thesecsi.net/SECSICMU/r_pdf/r3.pdf, โรงพยาบาลสนั ทราย เชียงใหม่

32 องค์ประกอบของระบบประสานงานการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาล 1.นโยบายแผนและข้อกำหนดการประสานงาน (โดยใหค้ รอบคลุมทัง้ สถานการณ์ปกตแิ ละสาธารณภัย) 1.1 แผนของเครือข่ายบริการสขุ ภาพที่ระบุถึงศักยภาพของสถานพยาบาลแต่ละเครือข่ายแต่ ละสาขา 1.2 มีการกำหนดขอบเขตข้อตกลง วิธีการ และขั้นตอนการประสานงาน การส่งต่อผู้ป่วย ฉกุ เฉนิ ให้มคี วามชดั เจน โดยมกี ารจัดทำรว่ มกับคณะทำงานแต่ละสาขาของระบบบริการสุขภาพ 1.3 ผู้ป่วยทุกรายที่มีการส่งต่อได้รับการบันทึก และประเมินผลคุณภาพการดูแลในระบบส่ง ตอ่ เพ่อื สามารถนำมาวิเคราะห์ และประเมนิ ผลเพื่อนำสกู่ ารพัฒนาคณุ ภาพได้ 2.ดา้ นบุคลากร 2.1 จัดทำทะเบียนข้อมูลแพทย์และทีมรักษาเฉพาะทางระดับประเทศ ระดับเขตและระดับ จังหวัดให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ได้แก่ หัวใจและหลอดเลือด, มะเรง็ , อุบัติเหตแุ ละฉุกเฉิน, มารดา/ทารกแรกเกิด, จติ เวช, บรกิ ารปฐมภูมิ ทตุ ยิ ภมู ิ และสุขภาพองค์ รวม, ทันตกรรม, ตาและไต, NCD (Non-Communicable Disease) DM, HT, COPD, Stroke, 5 สาขาหลัก (สูตนิ รเี วชกรรม ศัลยกรรม อายุรกรรม กุมารเวชกรรม ออรโ์ ธปิดกิ ส์) และแพทย์ แผนไทย 2.2 จัดทำทะเบียนศูนย์ส่งต่อ และผู้รับผิดชอบศูนย์ส่งต่อระดับประเทศ ระดับเขต ระดับ จังหวัด และระดับสถานพยาบาลที่สามารถติดต่อประสานงาน ได้หลายช่องทาง และรวดเร็ว เช่น โทรศัพท,์ โทรสาร, วทิ ยสุ ่อื สาร, E- Mail, SMS, Social media application เป็นตน้ 2.3 ตารางเวรแพทยแ์ ละทมี รักษาเฉพาะทางของแต่ละสถานพยาบาลท่ีมีข้อมูลเปน็ ปัจจบุ ัน 2.4 มีแนวทางการบรหิ ารจัดการบคุ ลากรในการส่งต่อผปู้ ่วยเฉพาะทาง 3.ด้านสทิ ธก์ิ ารรกั ษา และคา่ ใช้จา่ ยต่างๆ ในระบบส่งตอ่ 3.1 สถานพยาบาลมีระบบการตรวจสอบสิทธิ์การรักษาของผู้ป่วยแต่ละรายท่ีมีความรวดเรว็ และแมน่ ยำเพื่อใชเ้ ป็นเกณฑ์ประกอบการพิจารณาการส่งต่อผูป้ ่วยแต่ละราย 3.2 สถานพยาบาลกำหนดระเบียบเกี่ยวกับค่าใชจ้ ่ายในด้านต่างๆ ตามสิทธก์ิ ารรักษาไว้อย่าง ชดั เจน เชน่ คา่ รถพยาบาล คา่ ตอบแทนบคุ ลากรนำส่งผปู้ ว่ ยทกุ ระดับ 3.3 มีระบบบริหารจัดการด้านเอกสารตามระเบียบหรือกฎหมายที่เกี่ยวข้อง เช่น การขอ อนุญาตใช้รถพยาบาล การเบิกจ่ายค่าตอบแทนการคุ้มครองความปลอดภัยของเจ้าหน้าที่ ผู้ป่วยและ ผู้ติดตาม 4.ด้านวสั ดอุ ปุ กรณค์ รุภณั ฑก์ ารแพทย์ยาและเวชภัณฑ์

33 4.1 มีระบบการตรวจสอบความพร้อมในการใชง้ าน และแผนบำรงุ รกั ษาของอปุ กรณ์สือ่ สาร ทกุ ชนดิ ในศูนย์สง่ ต่อ 4.2 มกี ารจดั ทำทำเนยี บศักยภาพความพร้อมด้านอปุ กรณ์ทางการแพทย์ยาและเวชภณั ฑท์ ่ี สำคญั สำหรับการรักษาผู้ปว่ ยฉุกเฉินเฉพาะด้าน เช่น เครอื่ ง เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ เครื่องช่วยหายใจ ตูอ้ บทารกแรกเกดิ ยาละลายลม่ิ เลือดทาง หลอดเลอื ดดำ เซร่มุ ยาต้านพิษ เปน็ ตน้ 4.3 มแี ผนรองรบั กรณรี ะบบสอ่ื สารขดั ข้อง 4.4 มีแนวทางการบริหารจดั การครุภณั ฑก์ ารแพทย์ ยาและเวชภัณฑ์กรณี มกี ารขอสนับสนุน จากสถานพยาบาลต่างๆ 5.การนำเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการส่ือสารประสานงานและการเก็บข้อมลู ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศท่ี นำมาใชท้ างด้านสุขภาพ ปจั จุบันพบวา่ มกี ารนำเทคโนโลยีสารสนเทศเขา้ มาใช้ในการใหบ้ ริการ ทางด้านสขุ ภาพเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการดแู ลผูป้ ่วย ซ่งึ แบง่ ไดเ้ ป็น 4 ระบบดังน้ี 1. ระบบที่ใช้ในการจัดเก็บและบันทึกข้อมูลทางสุขภาพของผู้ป่วย ได้แก่ Electronic Medical Records (EMR) หมายถึง เวชระเบียนอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งเป็นเอกสารทางการแพทย์ที่ถูก จัดเก็บอยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Health Records (EHR) หมายถึง บันทึกสุขภาพ อิเล็กทรอนิกส์ เป็นบันทึกข้อมูลสุขภาพส่วนบุคคลของผู้ป่วยทั้งหมดที่อยู่ในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ Electronic Documentation System (EDS) หมายถึง ระบบการจัดเก็บเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่ง จะชว่ ยเพิ่มประสิทธิภาพความคล่องตัว และความรวดเร็วในการจัดเกบ็ เอกสารทางด้านการรักษาและ การพยาบาลผู้ป่วย Personal Health Records (PHR) หมายถึง บันทึกสุขภาพส่วนบุคคลของผ้ปู ่วย ซ่งึ ผปู้ ่วยสามารถบันทกึ ข้อมลู สขุ ภาพของตนเองได้ และ e-Nursing Kardex11 หมายถงึ ระบบบันทึก ข้อมลู ของผู้ปว่ ยโดยพยาบาลทด่ี ูแลผปู้ ว่ ยเป็นผู้บันทึก โดยการปอ้ นขอ้ มลู เขา้ สู่เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่ มีการรวมศูนย์ข้อมูลอย่างเป็นระบบแทนการจดบันทึกลงบนแผ่นบันทึกเพื่อเพิ่มความแม่นยำในการ บนั ทกึ ขอ้ มูลของผปู้ ่วย 2. ระบบที่ใช้ในการสื่อสารแลกเปลี่ยนและติดตามข้อมูลทางสุขภาพของผู้ป่วย ได้แก่ Telemedicine หรือ Telehealth หมายถึง ระบบการแพทย์ทางไกลซึ่งผู้ป่วย และบุคลากรทางการ แพทย์สามารถพูดคุยกันแบบ Real-time เช่นเดียวกับการสื่อสารผ่านระบบ video conference Mobile Health (mHealth) หมายถึง อุปกรณ์สุขภาพแบบเคลื่อนที่ เช่น นาฬิกาสวมใส่ออกกำลัง กาย อุปกรณ์วัดระดับน้ำตาลในเลือดแบบสวมใส่อุปกรณ์วัดระดับออกซิเจนในเลือดแบบพกพา ซ่ึง อุปกรณ์เหล่านี้จะช่วยให้ผู้ป่วยสามารถตรวจสอบอาการของตนเองได้ตลอดเวลา และสามารถส่ง

34 ข้อมูลไปให้แพทย์ได้โดยตรง Health Information Exchange (HIE) หมายถึง การแลกเปลี่ยนข้อมลู ด้านสุขภาพแบบอิเล็กทรอนิกสผ์ า่ นระบบอนิ เทอร์เนต็ โดยผูใ้ ห้บริการดา้ นสุขภาพใช้ในการแลกเปลี่ยน ข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วย Remote Monitoring หมายถึง การติดตามสุขภาพทางไกลโดยที่ผ้ปู ่วย สามารถที่จะส่งข้อมูลสุขภาพแบบอิเล็กทรอนิกส์ของตนเองไปยังระบบบันทึกสุขภาพ อิเล็กทรอนิกส์ (EHR) หรือระบบบันทึกสุขภาพส่วนบุคคล (PHR) ซึ่งจะช่วยให้แพทย์สามารถติดตามข้อมูลทาง สุขภาพของผู้ป่วยได้ตลอดเวลา Home Monitoring of Patients หมายถึง การติดตามอาการของ ผู้ป่วยที่อยู่ที่บ้านโดยเฉพาะผู้สูงอายุที่เจ็บป่วยเรื้อรังผ่านโทรศัพท์ที่สามารถวัดรวบรวมและบันทึก ข้อมูลของผู้ป่วยที่อยู่ที่บ้าน เช่น คลื่นไฟฟ้าหัวใจ ความดันโลหิตและอุณหภูมิร่างกาย โดยมีการส่ง ข้อมูลสุขภาพแบบออนไลน์ไปยังแพทย์ผู้ดูแลได้ทันที และ Clinical Data Processing (CDP) หมายถึง การประมวลผลข้อมูลทางคลินกิ ของผู้ปว่ ยแบบอตั โนมัติ ในกรณีที่ต้องเฝ้าติดตามข้อมูลทาง คลินกิ ของผู้ป่วยอยา่ งตอ่ เนือ่ ง เช่น คลืน่ ไฟฟา้ หัวใจ หรอื สัญญาณชพี ของผู้ปว่ ย ทีอ่ ยใู่ นหอผู้ปว่ ยหนัก 3. ระบบที่ใช้ในการสั่งการรักษา สั่งยาและการบริหารยาแก่ผู้ป่วยได้แก่ Computerized Physician Order Entry (CPOE) หมายถึง การใช้คอมพิวเตอร์ในการสั่งการรักษาของแพทย์ เช่น การสั่งยา การสั่งเอ็กซเรย์ตลอดจนการส่งต่อและการจำหน่ายผู้ป่วยกลับบ้าน Electronic Medication Administration Records (EMAR) หมายถึง บันทึกการบริหารยาอเิ ล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะ เป็นระบบที่ทำการบันทึกเกี่ยวกับยาของผู้ป่วยทั้งหมด และจะมีการส่งข้อมูลยาของผู้ป่วยไปยังเภสัช กรและพยาบาล ประกอบไปด้วยข้อมูลเกี่ยวกับปริมาณยาชนิดของยารวมถึงประวัติการได้รับยาของ ผู้ป่วยทั้งหมดในรูปแบบอิเล็กทรอนิกส์ Bar Code Medication Administration (BCMA) หมายถึง การบริหารจัดการยาผ่านการใช้รหัสบาร์โค้ด ประกอบไปด้วย รหัสยาแต่ละชนิด รหัสระบุ ตัวผู้ป่วย และรหัสประจำตัวผู้ให้ยาเพื่อควบคุมการให้ยาแก่ผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ และ Electronic Prescribing (E-prescribing) หมายถึง การสั่งจ่ายยาผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ระหว่างแพทย์กับร้าน ขายยาโดยตรง 4. ระบบที่ใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก ได้แก่ Clinical Decision Support Systems (CDSS) หมายถึง ระบบสนับสนุนการตัดสินใจทางคลินิก ซึ่งจะมีระบบซอฟต์แวร์ที่ช่วยใน การตดั สนิ ใจเกยี่ วกับการจดั การ การรวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะหข์ ้อมูลทางคลินิกของผปู้ ่วย ซึ่งระบบ จะมีข้อมูลความรู้ทางคลินิกและข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วยมีระบบการแจ้งเตือน การวิจารณ์ การ ตคี วาม การวนิ จิ ฉัย ตลอดจนการให้คำแนะนำในการดแู ลผูป้ ว่ ยอยา่ งเหมาะสม

35 5. ขั้นตอนการประสานงานการส่งต่อผู้ป่วยระหว่างสถานพยาบาลเพื่อให้การประสานงาน การส่งต่อผู้ป่วยระหว่างพยาบาลเป็นไปอย่าง รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ บุคลากรประจำศูนย์ส่งต่อ สามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้ ดงั น้ี 1) เตรียมผู้ปว่ ย 2) แพทย/์ พยาบาลประเมนิ ผปู้ ่วย 3) ประสานโรงพยาบาลปลายทาง 4) ประสานทมี ส่งตอ่ 5) พยาบาลตน้ ทาง-ปลายทาง a. ร่วมประเมิน Level Acuity ข้อมูลด้านคลินิก/การรักษา Hospital Capacity i. กรณไี ม่เสถียรภาพประสานแพทยเ์ ฉพาะทาง Consult ii. กรณีทีไ่ มส่ ามารถรับ ไปให้ประสานโรงพยาบาลท่มี ศี กั ยภาพสูงกว่า ประโยชนร์ ะบบ Referral Information System 1. เพื่ออำนวยความสะดวกในการให้บริการรักษาพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน และ/หรือ โรงพยาบาลทัว่ ไปในสังกัดกระทรวงสาธารณสขุ ในการสนบั สนุนการสง่ ตอ่ ผปู้ ่วย 2. เพ่ือให้เจ้าหนา้ ทเ่ี ข้าถงึ ขอ้ มลู คนไข้ได้อยา่ งรวดเร็วในการรักษาต่อโรงพยาบาลปลายทาง 3. ลดปัญหาการไมท่ ราบข้อมลู ผ้ปู ว่ ยสำหรบั สง่ ตอ่ ในการรกั ษาโรงพยาบาลปลายทาง

36 กฎหมายท่เี กย่ี วข้องกับการดำเนนิ งานเทคโนโลยีกระทรวงสาธารณสขุ 1. กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2560 ขอ้ 3 ให้แบ่งส่วนราชการสำนกั งานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสขุ ดังตอ่ ไปนี้ ก. ราชการบรหิ ารสว่ นกลาง 1.กองกลาง 2.กองกฎหมาย 3.กองการต่างประเทศ 4.กองการพยาบาล 5.กองตรวจราชการ 6.กองบริหารการคลงั 7.กองบริหารการสาธารณสุข 8.กองบรหิ ารทรัพยากรบุคคล 9.กองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน 10.กองเศรษฐกจิ สขุ ภาพ และหลักประกันสขุ ภาพ 11.กองสาธารณสุขฉกุ เฉิน 12.ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร 13.สถาบนั พระบรมราชชนก ข. ราชการบรหิ ารสว่ นภมู ิภาค 1.สำนักงานสาธารณสขุ จงั หวดั 2.สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ ขอ้ 18 ศูนย์เทคโนโลยสี ารสนเทศ และการสือ่ สาร มอี ำนาจหนา้ ที่ ดงั ตอ่ ไปนี้ 1.เสนอแนะนโยบายและจัดทำแผนแม่บท แผนปฏิบัติการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการ สื่อสารของสำนักงานปลัดกระทรวง และกระทรวง ให้สอดคล้องกับมาตรฐานกลาง และ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสอื่ สารของประเทศ 2.พัฒนาระบบงานคอมพิวเตอร์ และเครือข่าย รวมทั้งให้คำปรึกษาแนะนํา หรือฝึกอบรม การใชค้ อมพวิ เตอร์ และการใชโ้ ปรแกรม 3.บริหารจัดการ และให้บริการโครงสร้างพื้นฐานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร ของสำนกั งานปลัดกระทรวง และกระทรวง

37 4.พัฒนาระบบคลังข้อมูล และดูแลรับผิดชอบการใช้เทคโนโลยีมิให้มีผลกระทบต่อความ ม่ันคง 5.ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับ มอบหมาย 2. ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขวา่ ดว้ ยการคุม้ ครอง และจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบคุ คล พ.ศ.2561. โดยทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ มนี โยบายทจ่ี ะให้ประชาชนทกุ คนสามารถเข้าถงึ บริการด้านการให้ คำแนะนําด้านสุขภาพ และวินิจฉัยโรคเบื้องต้น โดยบูรณาการระบบประวัติสุขภาพผู้ป่ว ย อิเล็กทรอนิกส์เชื่อมตอ่ กันทั้งประเทศทีป่ ระชาชนสามารถเข้าถึง และบริหารจัดการข้อมูลสุขภาพของ ตนเองไดเ้ พื่ออํานวยความสะดวกในการเขา้ รับการรักษา และเปน็ ขอ้ มลู สำคัญประกอบการรักษากรณี ฉุกเฉิน นอกจากนี้ข้อมูลสุขภาพด้านบุคคลยังสามารถนําไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาระบบสุขภาพ ของประเทศต่อไป ดังนั้น จึงมีความจําเป็นที่จะต้องมีการควบคุม กำกับเพื่อให้การได้มา การบริหาร จัดการ การใช้ และการคุ้มครองข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลมีความสะดวก ปลอดภัย เกิดประโยชน์ สูงสุดแกป่ ระชาชน เจา้ ของข้อมลู หน่วยบริการ และระบบสขุ ภาพของประเทศไทย จงึ เป็นการสมควร มีระเบียบ เรื่องการคุ้มครอง และจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เพื่อกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ และแนวทางปฏิบัติให้เหมาะสมสอดคล้องกับพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540 พระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทาง อิเล็กทรอนกิ ส์ พ.ศ.2544 และกฎหมายอ่ืนที่เก่ียวขอ้ ง ข้อ 4 ในระเบยี บน้ี “ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล” หมายความว่า ข้อมูลหรือสิ่งใด ๆ ที่แสดงออกมาในรู ป เอกสารแฟ้ม รายงาน หนังสือ แผนผัง แผนที่ ภาพวาด ภาพถ่าย ฟิล์ม การบันทึกภาพหรือเสียงการ บันทึกโดยเครื่องมือทางอิเลก็ ทรอนิกส์ หรือวิธีอื่นใดทีท่ ำใหส้ ิง่ ที่บันทกึ ไว้ปรากฏขึ้นในเร่ืองที่เกี่ยวกับ สุขภาพของบุคคลที่สามารถระบุตัวบุคคลได้ และให้รวมถึงข้อมูลอื่น ๆ ตามท่ีคณะกรรมการเปิดเผย ข้อมลู อเิ ล็กทรอนิกส์ประกาศกำหนด “ข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์” หมายความวา่ ขอ้ มูลด้านสุขภาพของบคุ คลท่เี ปน็ เอกสารหรอื ขอ้ ความในรูปแบบอิเลก็ ทรอนิกส์ “ระเบียนสุขภาพ” หมายความว่า ทะเบียนหรือรายการ ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล ท่ี กระทรวงสาธารณสขุ หน่วยงานทงั้ ภาครฐั และเอกชน นาํ มาเก็บ จดั การใช้ และเปดิ เผยเพอื่ ประโยชน์ ของเจ้าของขอ้ มูลตามระเบยี บน้ี

38 “เจ้าของขอ้ มูล” หมายความวา่ บคุ คลผูเ้ ปน็ เจ้าของขอ้ มูลดา้ นสุขภาพ “ผู้ควบคุมข้อมูล” หมายความว่า ส่วนราชการ หน่วยงาน โรงพยาบาล โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบล สถานีอนามัยในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข และหมายความรวมถึงสถานพยาบาลตาม พระราชบัญญัติสถานพยาบาล พ.ศ.2541 และหน่วยงานของรัฐอื่นที่ประสงค์เข้าร่วมใช้ข้อมูลด้าน สขุ ภาพร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขซ่ึงเปน็ ผ้จู ดั ทํา เกบ็ รวบรวม ใชห้ รอื เปดิ เผยข้อมูลดา้ นสุขภาพ ของบุคคล ข้อ 5 การจัดทำระเบียนสุขภาพ การจัดการ เก็บรวบรวม ใช้หรือเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพ ของบุคคลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์ของเจา้ ของข้อมูลหรือเพ่ือดําเนินงานตามหนา้ ที่ และอำนาจของผู้ ควบคุมข้อมูล หรือหน้าที่ และอำนาจของกระทรวงสาธารณสุขตามที่ได้รับมอบหมาย หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครอง และจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล ข้อ 6 ให้มีคณะกรรมการคณะหนึ่ง เรียกว่า “คณะกรรมการคุ้มครอง และจัดการข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล” หมวด 2 การคุ้มครอง ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล ข้อ 11 ข้อมูลดังต่อไปนี้ถือเป็นข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล หมวด 3 การแก้ไขข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล ข้อ 23 เจ้าของข้อมูลมีสิทธิที่จะขอให้แก้ไขข้อมูลด้านสุขภาพ ของตนเอง โดยยื่นคําขอต่อผู้ควบคุมข้อมูลพร้อมพยานหลักฐานแสดงข้อมูลที่ถูกต้องตามความเป็น จริงเมื่อเจ้าหน้าที่ได้ตรวจสอบแล้วเห็นว่าถูกต้องให้เสนอผู้มีอำนาจอนุมัติ และทำการแก้ไขข้อมูล ดังกล่าวแล้วแจ้งเจ้าของข้อมูลทราบต่อไป หมวด 4 ข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ ข้อ 25 ผู้ควบคุมข้อมูล และผู้บริหารจัดการข้อมูลที่ดำเนินการเก็บ รวมรวมใช้ และเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพส่วนบุคคลโดย วธิ กี ารทางอเิ ล็กทรอนิกส์ตอ้ งมกี ารกำหนดมาตรการเก่ียวกับการรกั ษาความม่ันคงปลอดภัยของข้อมูล อเิ ลก็ ทรอนิกส์ซ่ึงเปน็ วิธีการทเี่ ช่ือถอื ได้ หมวด 5 ระเบยี นสขุ ภาพ ข้อ 27 ระเบยี นสขุ ภาพจัดทำขึ้นเพื่อ 1.รวบรวมข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลของประชาชน 2.คุ้มครองข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล 3.นํา ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลไปใช้ประโยชน์ในการดูแลสุขภาพของเจ้าของข้อมูลนั้น 4.นําไปศึกษา วิเคราะห์ วิจัย เพื่อพัฒนาระบบสุขภาพของประเทศ 5.ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถนําข้อมูลดา้ น สุขภาพของบคุ คลไปใชเ้ พ่ือประโยชน์ของเจ้าของข้อมูล และหน่วยงานน้นั การเปิดเผยข้อมูลสุขภาพทางอิเล็กทรอนิกส์ ทำให้มีข้อมูลการรักษาอยู่ในคลังข้อมูลด้าน การแพทยแ์ ละสุขภาพ (Health Data Centre :HDC) ทำให้ 1.แพทยเ์ รยี กดูข้อมลู สขุ ภาพ/ประวตั ิการ รักษาย้อนหลัง 2.เปลี่ยนโรงพยาบาลแพทย์รักษาได้ต่อเนื่องไม่ต้องเริ่มต้นใหม่ 3.อุบัติเหตุ/เจ็บป่วย ฉกุ เฉนิ แพทย์มีข้อมูลพ้ืนฐานประกอบการวางแผนรักษาอย่างเหมาะสม แคท่ ำการเซนยินยอมเปิดเผย ขอ้ มูล การรักษาไมส่ ะดดุ ผู้ปว่ ยไดป้ ระโยชน์

39 อ้างองิ ระบบคลงั ข้อมูลด้านการแพทย์ Health Data Center (HDC) ระดบั จังหวัด, ระดับเขตและระดบั กระทรวง. วารสารวชิ าการเทคโนโลยสี ารสนเทศสขุ ภาพ กระทรวงสาธารณสุข. สืบค้น 16 มีนาคม 2565, จาก https://itjournal.moph.go.th/page/detail/21. ความรูเ้ บอ้ื งต้นเก่ยี วกับระบบข้อมูลสุขภาพ 43 แฟม้ HDC (HEALTH DATA CENTER). กระทรวงสาธารณสขุ . สืบค้น 16 มีนาคม 2565, จาก https://kkhdc.moph.go.th/download/uploads/1532736578_17015.pdf. PHR – ระบบระเบยี นสุขภาพอเิ ลก็ ทรอนกิ สส์ ่วนบคุ คล. ศูนย์เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนกิ ส์และ คอมพวิ เตอร์แห่งชาติ 2563. สาธารณสขุ . สืบคน้ 16 มีนาคม 2565, จาก https://www.nectec.or.th/innovation/innovation-software/phr.html. Personal Health Record และการเชื่อมโยงข้อมูลระหว่างโรงพยาบาล ระหวา่ งหน่วยงานและ ระหวา่ งโรงพยาบาลกับผ้ใู ช้งาน. treconwebsite. สบื ค้น 16 มนี าคม 2565, จาก https://www.treconwebsite.com/personal-health-record%E0%B9% 81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E 0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8 %A1%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89 %E0%B8%AD%E0%B8%A1/. เสวนาทางวชิ าการเรื่อง “EHR, PHR & Health Information Exchange.” Persistent Challenges and New Strategies to Enabling ealth Reform. ดร.นพ.บญุ ชัย กิจสนา โยธินและดร.นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพนั ธุ์. สืบคน้ 16 มีนาคม 2565, จาก https://www.treconwebsite.com/personal-health-record%E0%B9% 81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E 0%B9%80%E0%B8%8A%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8 %A1%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B9%89 %E0%B8%AD%E0%B8%A1/. สารสนเทศในกระทรวงสาธารณสุข. ICT ปลดั กระทรวงสาธารณสขุ . สบื คน้ 16 มีนาคม 2565, จาก http://ict4.moph.go.th/evaluate/images/stories/pdf/kpi/result_kpi2553.pdf.

40 กฎกระทรวงแบ่งสว่ นราชการสำนักงานปลัดกระทรวงกระทรวงสาธารณสขุ พ.ศ.2560. สำนักงาน สาธารณสุขลำปาง. สืบค้น 16 มนี าคม 2565, จาก http://www.lpho.go.th/?p=1677. ระเบยี บกระทรวงสาธารณสุขว่าดว้ ยการคุ้มครองและจัดการข้อมูลดา้ นสุขภาพของบุคคล พ.ศ.2561. สำนักงานสาธารณสุขลำปาง. สืบคน้ 16 มนี าคม 2565, จาก http://www.lpho.go.th /?p=1677.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook