Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย (สื่อการสอน)

หน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย (สื่อการสอน)

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-05-14 12:31:33

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

หนา้ ที่ของระบบตา่ ง ๆ ในรา่ งกาย

• ระบบไหลเวยี นโลหิต • ระบบยอ่ ยอาหาร • ระบบต่อมไรท้ อ่ • ระบบผิวหนงั • ระบบกลา้ มเนื้อ • ระบบประสาท • ระบบสืบพันธุ์ • ระบบหายใจ • ระบบโครงรา่ ง • ระบบภมู ิค้มุ กัน • ระบบนา้ เหลือง • ระบบขับถ่าย ทม่ี า:https://www.bodin.ac.th/home/wpcontent/uploads/2013/08/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0 %B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%882%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%8 7%E0%B9%86%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B 8%A2%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A9%E0%B8%A2%E0%B9%8C.pdf



• ระบบไหลเวยี นโลหิต (Circulatory system)เปน็ เครอื ขา่ ยของหัวใจและ หลอดเลือดขนาดต่าง ๆ มีหน้าที่ใน การเคลื่อนย้าย เลือด สารอาหาร ออกซเิ จน คารบ์ อนไดออกไซด์และ ฮอรโ์ มน เขา้ และออกจากเซลล์ หาก ไม่มีระบบนี้ รา่ งกายจะไม่สามารถ ต่อสู้กับโรคหรอื ไม่สามารถรักษา สภาพรา่ งกาย (Homeostasis)เพื่อ ดาเนินชวี ติ อยูไ่ ด้ ทมี่ า:https://www.health2click.com/2018/05/08/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A% E0%B8%9A%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B9%80%E0%B8%A7%E0%B8%B5% E0%B8%A2%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95/

• หญิงตั้งครรภ์ มีการเปลี่ยนแปลงมากมายทั้งด้านร่างกาย สรีรวิทยา ชีวเคมี ซึ่งการเปลี่ยนแปลง นั้นมีการดาเนินไปตลอดการตั้งครรภ์ จนกระทั่งหลังคลอด การดุแลหญิงตั้งครรภ์ที่ดีนั้น ไม่ใช่เริ่ม ตั้งแต่การตั้งครรภ์ไปจนสิ้นสุดการคลอด แต่ควรเริ่มตั้งแต่ก่อนสมรส ซึ่งจะต้องประกอบไปด้วย การซักประวัติ ตรวจร่างกาย และตรวจทางห้องปฏิบัติการที่เหมาะสม เพื่อให้คาแนะนาในกรณีที่คู่ สมรสตั้งใจจะมีบุตรหรือยังไม่ต้องการจะมีบุตร ตลอดจนการค้นหาความเสสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น เพื่อที่จะได้เฝ้าระวัง ป้องกันและการแก้ไขล่วงหน้า เมื่อมีการตั้งครรภ์ ก็ให้การดูแลให้คาแนะนา หญิงตงั ครรภใ์ นระหวา่ งการต้ังครรภอ์ ย่างเหมาะสม ไปจนถึงระยะหลังคลอดซึ่งหญิงหลังคลอดจะมี การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย สรีรวิทยาและชีวเคมีเพื่อกลับสู่สภาพร่างกายปกติเดิมก่อนการ ตั้งครรภ์ให้มากที่สุด การให้คาแนะนาและการดูแลนั้นไม่เฉพาะสุขภาพของหญิงหลังคลอดเท่านั้น แต่ดูแลสุขภาพลูก การเลี้ยงดูลูก ตลอดจนการวางแผนเพื่อคุมกาเนินต่อไป การตั้งครรภ์ที่ได้รับ การดูแล ได้รบั คาแนะนาที่เหมาะสมตั้งแต่แรกย่อมได้ผลลัพธ์เป็นการตั้งครรภ์ที่มีคุณภาพ มีความ เสีย่ งและภาวะแทรกซอ้ นเกดิ ข้นึ น้อยกบั ทงั้ แมแ่ ละลกู



• การที่ทารกในครรภ์มีสุขภาพที่ดีนั้นเกิดขึ้นจากความรัก ความเอาในใส่จากครอบครัว โดยเฉพาะ อย่างยิ่งจากแม่ซึ่งมีหน้าที่โดยตรงต่อการตั้งครรภ์ ความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโต การ เปลยี่ นแปลงของทารกในแต่ละเดอื นมผี ลตอ่ สุขภาพทงั้ ร่างกายและจิตใจของแม่และพ่อ ครอบครัว ถือเป็นสว่ นทสี่ าคัญที่สุดในการสง่ เสรมิ ให้แมไ่ ดท้ าหน้าที่ของการตั้งครรภ์ได้อย่างสมบูรณ์ ความรัก ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพของแม่และทารกในครรภ์ถือเป็นการลงทุนที่คุ้มค่า ทั้งนี้ให้ได้มาซึ่ง ทารกที่มีสุขภาพแข็งแรง ครอบครัวสมบูรณ์เมื่อมีสมาชิกใหม่เพิ่มขึ้น นาไปสู่สังคมที่มีคุณภาพ ตอ่ ไป



• การเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของวยั ทารก เกิดขน้ึ ตั้งแต่เริ่มมีการปฏิสนธิในครรภ์ของมารดาและ มีอยู่อยา่ งต่อเน่อื งตลอดชีวติ หากแต่จะมีความแตกต่างกันออกไปตามแต่ละช่วงวัยโดยขึ้นอยู่กับ ปัจจัยทั้งภายในและภายนอกร่างกาย ซึ่งปัจจัยภายในที่มีอิทธิพลอย่างมากต่อการเจริญเติบโต และพัฒนาการของทารก คือ พันธุกรรม รวมถึงพื้นฐานทางอารมณ์หรือจิตใจ ในขณะที่ปัจจัย ภายนอกก็เป็นปัจจัยที่มีความสาคัญอย่างยิ่งต่อการเจริญเติบโตเช่นกัน ไม่ว่าจะเป็นปัจจัยด้าน สภาพแวดลอ้ มทางสังคม การอบรมเลี้ยงดูของผปู้ กครอง อาหาร การเจบ็ ป่วยและอบุ ตั ิเหตุ ฯลฯ ซึ่ง ในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้อาจมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกมากกว่ าปัจจัย ภายในอีกด้วย ดังนั้นพ่อแม่จึงมีความสาคัญอย่างมากที่จะต้องมีความรู้ ความเข้าใจ และดูแลเอา ใจใส่เด็กทารกเพื่อให้เด็กได้รับปัจจัยต่างๆ ที่เหมาะสมและเอื้อต่อการเจริญเติบโตและ พัฒนาการเพ่ือใหเ้ ดก็ เตบิ โตขน้ึ อย่างสมบรู ณ์ทง้ั รา่ งกายและจติ ใจ



• เดก็ ปฐมวยั เปน็ ชว่ งเวลาท่มี คี วามสาคญั อย่างมากในการดแู ลใหม้ ีการเจรญิ เตบิ โตที่สมวัย เป็นวัย ที่เด็กเริ่มพัฒนาพฤติกรรมในรูปแบบต่างๆ รวมถึงเป็นวัยที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อได้สูงเพราะเด็กมี กิจกรรมต่างๆ มากมาย การแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของเด็กนั้น พ่อแม่ต้องยอมรับและตระหนักถึง ปัญหาพฤติกรรมที่เกิดขึ้นก่อน จากนั้นต้องพยายามหาสาเหตุของพฤติกรรมของเด็กนั้น พ่อแม่ ต้องยอมรับและตระหนักถึงปัญหาพฤติกรรมที่เกิดขึ้นก่อน จากนั้นต้องพยายามหาสาเหตุของ พฤติกรรมที่เป็นปัญหา ซึ่งเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันโดยทางพันธุกรรมและการอบรมเลี้ยง ดู วิธีการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมแบบหนึ่ง อาจเหมาะสมกับเด็กคนหนึ่ง แต่อาจไม่เหมาะสมกับ เด็กอีกคนหนึ่งก็ได้ ซึ่งการแก้ไขปัญหาพฤติกรรมของเด็กก็ควรทาเป็นรายบุคคล ถ้าพ่อแม่เข้าใจ และบาบัดพฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้ทันท่วงที ก็จะสามารถขจัดปัญหาพฤติกรรมนั้นได้ การแก้ไข ปญั หาท่ไี ดผ้ ลดีต้องอาศยั ความรกั ความเขา้ ใจและความตงั้ ใจจริงของพ่อแม่ แต่การป้องกันปัญหา ก่อนเกิด ย่อมเป็นสิ่งที่ควรจะทามากกว่า ถ้าพ่อแม่เข้าใจหลักพัฒนาการและธรรมชาติของเด็กใน วัยนี้ ตลอดจนเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคลมีความรักและความตั้งใจในการเลี้ยงดู ก็จะ สามารถป้องกันปญั หาสุขภาพท่อี าจเกดิ ไดน้ นั้ เอง



• เด็กวัยเรียน หมายถึง เด็กที่มีอายุ 6 ปี จนถึง 12 ปี และกาลังเรียนระดับประถมถมศึกษา ซึ่งเด็ก วัยนี้เริ่มก้าวออกจากครอบครัวไปสุ่สังคมโรงเรียน ดังนั้นพัฒนาการด้านสังคมและสติปัญญาจึง เป็นจุดเด่นของเด็กวัยนี้ การประเมินภาวะสุขภาพของเด็กวัยเรียนทาได้โดยการตรวจสุขภาพเด็ก และการสอบถามอาการป่วยจากพ่อแม่และผู้เลี้ยงดู ส่วนการประเมินพัฒนาการทางด้านร่างกาย สามารถทาได้โดยใช้กราฟแสดงการเจริญเติบโตโดยใช้น้าหนักส่วนสูงและอายุเป็นเกณฑ์ การ ประเมิน สาหรับการประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญาทาได้โดยใช้แบบทดสอบระดับสติปัญญา ซึ่งแบ่งเป็นสองประเภทคือ แบบทดสอบที่เป็นเครื่องมือคัดกรอง ซึ่งสามารถใช้ได้ง่าย ทาง่าย การ ฝึกอบรมและประเมินแบบทดสอบที่เป็นเครื่องมือวินิจฉัยพัฒนาการเด็ก เพื่อแยกเด็กที่ผิดปกติ เครื่องมือชนิดนี้มักใช้ในกลุ่มนักจิตวิทยาเท่านั้น ส่วนการประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ สังคม และจริยธรรมสามารถประเมินโดยใชแ้ บบสัมภาษณเ์ ดก็ โดยตรง



• วัยรุ่นเป็นช่วงวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงมากมาย ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านกายภาพ การ เปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ สังคม และจิตใจ อยุ่ในวัยที่กาลังแสวงหาเอกลักษณ์ของตนเอง และ เป้นวัยช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อที่มีความสาคัญอย่างยิ่ง วัยรุ่นจึงเป้นวัยที่อาจพบกับปัญหาต่างๆ มากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงด้านต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นพฤติกรรมเสี่ยงทาง เพศ อบุ ตั ิเหตุและความปลอดภัยพฤติกรรมสุขภาพ เช่น การรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การดื่มสุรา สูบบุหรี่ นอกจากนั้นยังอาจพบปัญหาด้านจิตใจซึ่งอาจนาไปสุ่การใช้สารเสพติด การทาร้ายตนเอง และการฆ่าตัวตาย การส่งเสริมสุขภาพเด็กในช่วงวัยรุ่น การคัดกรองและเฝ้า ระวังโรคหรือปัญหาหรือพฤติกรรมเสี่ยงและการให้คาแนะนาแก่ทั้งวัยรุ่นและผู้ปกครอ งอย่าง เหมาะสมจะช่วยให้วยั รนุ่ มีพัฒนาการและเติบโตไปสกู่ ารเป็นผ้ใุ หญท่ ีม่ คี ุณภาพ



• วัยทางานร่างกายมีความสามารถสูงสุด มีวุฒิภาวะทางอารมณ์มากขึ้น กลุ่มเพื่อนลดน้อยลง มีการ ปรับเปลี่ยนบทบาทมากมาย ปัญหาที่เกิดขึ้นในวัยนี้สาคัญคือ ความผิดหวังในความรัก การไม่ สามารถปรับตัวกับบทบาทใหม่ โดยเฉพาะในเพศหญิงการเข้าสู่วัยหมดประจาเดือน อาจ ก่อให้เกิดปัญหาครอบครัวตามมาได้ ในวัยนี้ส่วนใหญ่บุคคลจะมีบุคลิกภาพและอารมณ์มั่นคง มี ความพอใจกบั ชวี ติ ท่ผี า่ นมาและควรได้มีการเตรยี มพร้อมในการเขา้ สวู่ ัยผูส้ ูงอายตุ ่อไป



• ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป และมีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สงั คมและวัฒนธรรมทฤษฎีที่อธิบายความสูงอายุประกอบด้วย ทฤษฎีด้านชีววิทยาทฤษฎี ด้านจิตวิทยาและทฤษฎีด้านสังคมวิทยา ผู้สูงอายุประมาณ 1 ใน 4 ประเมินว่าสุขภาพไม่ดีและ ปัญหาสุขภาพด้านโรคเรื่องรัง เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน เริ่มมีแนวโน้มสูงขึ้น การ ประเมินสุขภาพผู้สุงอายุด้านกาย สามารถทาได้โดยการซักประวัติ ตรวจร่างกาย การสัมภาษณ์ ย้อนหลังถึงการเจ็บป่วยในช่วงเวลาที่ผ่านมารวมถึงการสัมภาษณ์ถึงความสามารถในการปฏิ บัติ กิจวัตรประจาวันในขณะที่การประเมินสุขภาพจิตสามารถทาได้โดยใช้แบบประเมินหรือ แบบสอบถามโดยให้ผู้ตอบเป็นผู้ประเมินเอง แบบประเมินที่นิยมใช้กันมาก คือ แบบประเมิน สุขภาพทั่วไปฉบับภาไทย (Thai GHQ-30)และแบบประเมินที่นิยมและวิเคราะห์ความเครียด สาหรับประชาชนไทย นอกจากนั้นการประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ ก็เป็น แนวทางประเมินถึงสภาพจิตใจและสังคมของผู้สูงอายุในชุมชน ในขณะการส่งเสริมสุขภาพของ ผู้สูงอายุทั้งในเรื่องการกินการออกกาลังกาย การพักผ่อนและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคมก็ เปน็ แนวทางสาคญั ท่ีผสู้ ูงอายุและครอบครวั ควรปฏิบัติ

• โชคชยั หมน่ั แสวงทรพั ย์ (2563). อนามยั ครอบครวั . กรุงเทพฯ : ประยูรสาสน์ ไทย การพมิ พ.์ • ศุภชัย ปติ ิกลุ ตงั (2563). สุขภาพหญงิ ตงั้ ครรภแ์ ละการคลอด. กรุงเทพฯ : ประยรู สาสน์ ไทย การพมิ พ์. • สธุ รรม นนั ทมงคลชยั (2563). สขุ ภาพเดก็ วัยเรยี น. กรุงเทพฯ : ประยรู สาสน์ ไทย การพมิ พ์. • พมิ พส์ รุ างค์ เตชะบญุ เสรมิ ศกั ด์ิ (2563). สุขภาพวยั ทางาน. กรงุ เทพฯ : ประยรู สาสน์ ไทย การพมิ พ.์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook