Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการให้สุขศึกษาเรื่อง ฟัน

แผนการให้สุขศึกษาเรื่อง ฟัน

Published by Kittirat Norkhud 633263005, 2022-06-15 08:57:41

Description: kittirat norkhud 633263005

Search

Read the Text Version

แบบบนั ทกึ แผนการใหส้ ุขศึกษา เอกสาร สธ. 23 แผนการสอนเรือ่ ง ฟนั สวย ย้มิ ใส ใสใ่ จสขุ ภาพฟนั วตั ถุประสงค์ 1.เพ่อื ให้กลมุ่ เปา้ หมายมีความรูเ้ ร่อื งฟนั ผสู้ อน 2.เพ่อื ให้กลมุ่ เปา้ หมายมีความเขา้ ใจเรื่องฟนั 3.เพือ่ ให้กล่มุ เป้าหมายปฏบิ ตั ิการแปรงฟนั ได้ถกู วิธี 1.นางสาวกมลวรรณ ช้วิ วงษ์ 2.นางสาวพลิ าสลกั ษณ์ อนิ ทเเสน 3.นางสาวภูสิตา รัตนสมบตั ิ 4.นางสาวรตั นา นวลนาง 5.นายคเณชา ดวงจันทร์ ผรู้ บั การสอน 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-4 สถานท่ี ณ โรงเรยี นวดั ม่วงตารศ อำเภอเมือง จังหวดั นครปฐม ระยะเวลา วนั ท่ี 29 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2565 ความคดิ รวบยอด จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม เนอ้ื หา กจิ กรรมการสอน สื่อการสอน การวัดและการประเมนิ ผล ฟนั เปน็ อวยั วะที่อยู่ภาย ขนั้ นำ ในช่องปากของคนและสัตว์ฟัน 1.กลา่ วทกั ทาย/แนะนำ มีหนา้ ทีห่ ลกั คือ ฉีก บด อาหาร ตนเอง ให้คลุกเคล้ากับน้ำลาย และ 2.กิจกรรมสานสัมพนั ธ์โดย นอกจากนี้ยังมีส่วนสำคัญใน การพานักเรียนทำกิจกรรม การพูดออกเสียงด้วย ฟันถือ กอ่ นเรียน เชน่ เต้น เพลง เ ป ็ น อ ว ั ย ว ะ ท ี ่ ส ำ ค ั ญ ต่ อ ชิกเก้นแดนซ์ บุคลิกภาพ ดังนั้นจึงควรให้ 3.ทำแบบทดสอบก่อนเรียน ความใส่ใจดูแลและรักษาอยู่ 4.ชมวิดีทศั น์ความรทู้ ั่วไป เสมอด้วยการแปรงฟันอย่าง เก่ยี วกับฟัน น้อยวันละสองครั้ง ตอนเช้า 5.ถามตอบองคค์ วามรู้ และก่อนนอนหรือทุกครั้งหลัง หลงั จากการชมวิดที ัศน์

อาหาร เพื่อกำจัดเศษอาหาร และคราบจุลินทรีย์ และควร พบทันตแพทย์เพื่อตรวจเช็ค สภาพฟนั ทกุ ๆ 6 เดือน ความคดิ รวบยอด จุดประสงคเ์ ชงิ พฤติกรรม เนอ้ื หา กจิ กรรมการสอน สอ่ื การสอน การวดั และการประเมินผล กลุ่มเป้าหมายร้อยละ 80 1.กลุ่มเปา้ หมายสามารถบอก -โครงสร้างฟนั ขนั้ สอน 1.โมเดลฟนั จำลอง สามารถบอกโครงสร้างและ ส่วนประกอบของฟันได้ โครงสร้างและส่วนประกอบ -โดยปกติคนเรามีฟันสองชดุ 1.ชักถามความรเู้ ก่ยี วกับ 2.คมู่ อื ชุดความรู้เรือ่ ง อยา่ งถูกต้อง ของฟันได้ ชุดแรกคือ ฟันน้ำนม (deciduous เรอื่ งฟันทั่วไป โครงสร้างและสว่ น teeth) ฟันชุดนี้จะเริ่มขึ้นเมื่ออายุ 2.แจกคู่มือการเรียนรูเ้ รื่อง ประกอบของฟนั ประมาณ 6 เดือน และขึ้นครบ 20 โครงสรา้ งฟนั และสว่ น ซ่เี ม่อื อายปุ ระมาณ 2 ขวบคร่งึ ประกอบของฟนั -ฟันชุดที่สองคือ ฟันแท้หรือฟัน 3.ใชโ้ มเดลฟันสอน ถาวร (permanent teeth) ฟันชดุ โครงสร้างและสว่ นประกอบ นี้มีทั้งหมด 32 ซ่ี ฟันชุดนี้จะเร่ิม ของฟัน ข้ึนเมือ่ อายุประมาณ 6 ขวบ แต่จะ 4.ให้นกั เรียนศกึ ษาโมเดล ขึ้นครบ 28 ซ่ี เมื่ออายุครบ 12 ปี ฟนั ดโู ครงสร้างฟันและ โดยที่เหลือคือฟันกรามซี่สุดท้าย 4 สว่ นประกอบฟัน ซจ่ี ะขนึ้ มาในช่วงอายุ 18-25 ปี แต่ 5.กิจกรรมถามตอบความรู้ ถ้าฟนั ท้งั 4 ซีด่ งั กลา่ วไม่ขึ้นมาก็จะ เกย่ี วกับโครงสร้างและ กลายเปน็ ฟันคดุ สว่ นประกอบฟัน -ส่วนประกอบฟนั 1.เคลอื บฟนั (enamel) : เป็นส่วน ทแี่ ข็งท่สี ดุ ของฟันมสี ว่ นประกอบ ของแคลเซียมและฟอสเฟต

2.เนื้อฟัน (dentine) : เป็นส่วนที่ แข็งน้อยกว่าเคลือบฟัน มีความ แข็งพอๆกับกระดูก ชั้นนี้มีการ สร้างและสลายอยู่ตลอดเวลา เป็น ชน้ั ท่มี ีเซลลเ์ ป็นจำนวนมาก 3.โพรงประสาทฟัน (pulp) : เป็น ที่อยู่ของเส้นเลือดที่นำอาหารมา หล่อเลี้ยงฟัน และนำของเสียออก จากฟัน และมีเส้นประสาทรับ ความรูส้ กึ ของฟัน 4.เคลือบรากฟัน (cementum) : เป็นส่วนของเนื้อเยื่อปริทันต์ที่อยู่ ภายในรากฟนั ด้านหลังของเหงือก ซ่งึ มีเสน้ ประสาทไหลเวยี นมาก 5.ช ั ้ น ร ่ อ ง เ ห ง ื อ ก ( gingival crevice) : ร่องระหว่างเหงือกตัว ฟันกับขอบเหงือก มีความลึก ประมาณ 2 มลิ ลเิ มตร 6.เหงือก (gingiva) : เนื้อเยื่อที่หุ้ม ตวั ฟันและกระดกู ขากรรไกรไว้ 7.กระดูกเบ้ารากฟัน (alveolar bone) : ส่วนกระดูกที่รองรับราก ฟนั

ความคิดรวบยอด จดุ ประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม เนอ้ื หา กจิ กรรมการสอน สอ่ื การสอน การวดั และการประเมนิ ผล 2.กลุ่มเป้าหมายสามารถ -โรคฟนั ผุ 1.ซกั ถามองค์ความรู้ 1.โมเดลฟันจำลอง กลุม่ เป้าหมายร้อยละ 80 อธิบายเกี่ยวกับโรคฟนั ผุได้ -โรคฟนั ผุ คอื โรคของฟันท่ีมเี นื้อ เกีย่ วกับเรอื่ งโรคฟันผุ 2.วดิ ีทัศนเ์ รื่อง โรคฟัน สามารถอธิบายเกี่ยวกบั โรค ฟนั ถูกทำลายไป โดยมีการทำลาย เบอ้ื งตน้ ผุ ฟนั ผุได้อย่างถูกต้อง แร่ธาตทุ ่ีเป็น องคป์ ระกอบสำคญั 2.ชมวิดีทัศนเ์ รื่อง โรคฟนั ผุ ของเนื้อเยื่อเหล่าน้ี จนทำใหเ้ กิด 3.ถามตอบองค์ความรู้ทีไ่ ด้ เป็นรหู รอื โพรงที่ตัวฟนั ถ้าไมไ่ ดร้ ับ จากการชมวิดที ัศน์เรือ่ ง ฟัน การรักษาจะลกุ ลาม ขยายใหญ่ ผุ และลกึ ขึน้ เรื่อย ๆ เกดิ การ 4.การจำลองสถานการณ์ เจบ็ ปวดทกุ ข์ทรมาน และสดุ ท้าย ฟันผบุ นโมเดลฟันให้ อาจต้องสูญเสียฟัน โดยตอ้ งถอน นกั เรยี นได้เหน็ ภาพเสมือน ออกไป จรงิ เกย่ี วกับฟนั ผุบนโมเดล โรคฟนั ผจุ ัดเปน็ โรคติดต่อ เพราะ จำลอง เกิดจากเชื้อโรค และตดิ ต่อกันได้ 5.ใหน้ กั เรียนอธบิ ายเร่ือง ทางนำ้ ลาย โดยกระบวนการเกดิ ฟนั ผโุ ดยใช้โมเดลฟันจำลอง โรค จำเปน็ จะตอ้ งมอี งค์ประกอบ ประกอบการสอนอธิบายให้ สำคัญ 3 อย่างดว้ ยกัน ไดแ้ ก่ ตัว เพ่ือนๆในกลุ่มฟงั ฟนั เช้ือจลุ นิ ทรีย์ และสภาวะ 6.แจกของรางวัล ความเปน็ กรดภายในช่องปาก -สาเหตุของโรคฟันผุ เกดิ จากเชื้อโรคทพ่ี บได้ตามปกตใิ น ช่องปากทำการย่อยสลายอาหาร จำพวกแป้งและนำ้ ตาล เกดิ เป็น กรด ซึ่งทำให้เกิดการทำลาย

ความคดิ รวบยอด จุดประสงค์เชงิ พฤติกรรม โครงสรา้ งของฟนั หากปล่อยทิ้งไว้ กจิ กรรมการสอน สอ่ื การสอน การวดั และการประเมนิ ผล 3.กลุ่มเปา้ หมายสามารถ โดยไมท่ ำการรักษาจะลกุ ลาม 1.การซักถาม 1.โปรส์เตอร์ภาพสี กล่มุ เป้าหมายร้อยละ 80 ปฏบิ ตั กิ ารตรวจสขุ ภาพฟนั เพ่มิ ขน้ึ จนทำให้ฟันแตกเปน็ รู เป็น 2.ให้เด็กนักเรียนลองตรวจ ขนาด A4 ขัน้ ตอนการ สามารถปฏิบัติการตรวจ และปฏบิ ัติการแปรงฟนั ท่ีถกู ช่อง และถา้ ลุกลามมากขึ้นอกี จะ สุขภาพฟันด้วยตัวเองโดยมี ตรวจสขุ ภาพฟันได้ สุขภาพฟันและปฏิบตั ิการ วธิ ีไดด้ ว้ ยตัวเอง ก่อให้เกดิ ความเจบ็ ปวดหรอื ฟัน นักศึกษาสาธารณสุขคอย ด้วยตัวเอง เป็นหนอง และอาจต้องถอนฟัน นน้ั ในที่สุด -อาการฟนั ผุ -ฟันผรุ ะยะแรก สเี ป็นขาวขุ่นหรือ น้ำตาล ผวิ ไมเ่ รยี บ -เม่ือมีการลุกลามมากขึน้ จะเร่ิม แตกออกเปน็ รผู ุ -ฟนั ผทุ ่ีมกี ารลุกลามจะสูญเสียเนอื้ ฟนั มากข้ึน การรักษาจะมีความ ซบั ซ้อนและเสียคา่ ใช้จ่ายเพม่ิ ขน้ึ -การสังเกตอาการฟันผุในเด็ก -รอยสขี าวขุ่นบรเิ วณคอฟัน -มจี ดุ สดี ำหรอื สีน้ำตาลเล็กๆ บน ผิวฟนั เน้อื หา -การตรวจสุขภาพฟันดว้ ยตัวเอง 1.ตรวจฟนั หน้า บน-ลา่ ง : ยืน ยงิ ฟัน หน้ากระจก

2.ตรวจฟนั กรามดา้ นติดแกม้ : ย้ิม แ น ะ น ำ ร ะ ห ว ่ า ก า ร ท ำ 2.เมด็ สียอ้ มฟนั แปรงฟันที่ถูกวิธีได้อยา่ ง ถกู ต้อง กว้างๆ จนมองเห็นถงึ ฟนั กราม กิจกรรม 3.แปรงสฟี นั และยาสี และใชน้ ิ้วมือดึงมมุ ปากเพื่อให้ 3.ตดิ โปสเตอร์เรอ่ื งการ ฟนั สำหรับเดก็ เห็นชดั ข้นึ แปรงฟันท่ีถูกวธิ ีบริเวณอ่าง 4.กระจกส่องหน้า 3.ตรวจดา้ นใน และด้านบดเค้ียว แปรงฟัน ของฟนั ล่าง : กม้ หนา้ อ้าปากกวา้ ง 4.ย้อมสฟี ันใหเ้ ดก็ นักเรยี น กระดกลิ้นข้นึ เพ่อื การแปรงฟันทสี่ ะอาด 4.ตรวจดา้ นเพดาน และด้านบด 5.ให้เด็กนักเรียนปฏิบตั ิการ เคยี้ วของฟันบน : เงยหน้า อ้าปาก แปรงฟันที่ถูกวิธีโดยมี ดฟู ันดา้ นบน ใช้กระจกบานเล็ก นักศึกษาสาธารณสุขคอย ชว่ ยดูด้านเพดาน และอย่าลืมดู ติดตามดูแลขณะปฏิบัติการ กระพงุ้ แก้มซา้ ยขวาด้วย แปรงฟัน -ภาพประกอบการตรวจสุขภาพ ฟนั ด้วยตนเอง ขน้ั สรุป -นำภาพโปสเตอร์เรื่องการ แปรงฟันที่ถูกวิธีมาแสดง โชว์นักเรียนและสรุปองค์ ความรู้ท่ีได้รว่ มกันกับผสู้ อน -ทำแบบทดสอบหลังเรยี น

-ขัน้ ตอนการแปรงฟนั 1. ฟันด้านนอก –วางขนแปรงเข้าหาฟนั ใหป้ ลาย ขนแปรงอยู่บรเิ วณขอบเหงือก โดยเอยี งทำมุม 45 องศา กบั ตวั ฟัน และขนานกบั แนวฟันขยับขนแปรง ไปมาในแนวหนา้ หลงั เป็นระยะ สัน้ ๆ ไมเ่ กินครง่ึ ซีฟันปัดขนแปรง ข้ึนในฟันล่างและปัดลงสำหรับฟัน บนในแต่ละตำแหนง่ ควรแปรง ประมาณ 10 คร้งั 2. ฟนั ด้านใน –วางขนแปรงบรเิ วณขอบเหงือก และแปรงฟันเช่นเดยี วกับการ แปรงฟันด้านนอก

3. ฟนั ด้านบดเคีย้ ว – วางขนแปรงบรเิ วณดา้ นบดเคย้ี ว ของฟันโดยวางแปรงใหห้ นา้ ตัดขน แปรงอยู่ดา้ นบนของฟนั บดเค้ียวถู ไปมาในแนวหน้าหลงั ท้งั ฟนั บน และฟนั ลา่ ง 4. ฟนั หนา้ ด้านใน -วางแปรงสีฟันในแนวต้งั ใช้ปลาย แปรงสีฟนั แปรงด้านหลงั ของฟัน หน้าแตล่ ะซ่ี โดยขยบั และปดั ปลาย ขนแปรงมาทางปลายขอบฟันท้ัง ฟนั หน้าบนและฟันหน้าลา่ ง

5. แปรงล้นิ – แปรงทลี่ ิ้นเพื่อกำจดั คราบ จุลินทรีย์และปอ้ งกันไม่ใหเ้ กดิ กลน่ิ ปากโดยการปดั ขนแปรงสีฟนั จาก โคนลน้ิ มาทางปลายลน้ิ ประมาณ 10 คร้ัง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook