คำนำ การวางแผนเปน็ บทบาทและข้นั ตอนของการบรหิ ารจดั การและการทำงาน เพราะเปน็ กระบวนการ ตัดสินใจเพื่อกำหนดเป้าหมายและทิศทางตลอดทั้งการกำหนดแนวทางการปฏิบัติ จัดสรรทรัพยากร เพื่อเตรียมงานโครงการ/กิจกรรมสำหรบั ผู้มีหนา้ ทีเ่ กย่ี วข้องนำไปสกู่ ารปฏิบัติ การกำกับติดตามเป็นกระบวนการที่โรงเรียนต้องดำเนินการอย่างต่อเนื่องในทุกงาน/โครงการ และกิจกรรมเนื่องด้วยการดำเนินงานของโรงเรียนได้กำหนดแนวทางการปฏิบัติเพื่อสู่คุณภาพมาตรฐาน การศึกษาดังนั้นการกำกับติดตามจึงต้องมีผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินงานหลังประเมินผลเพื่อตรวจสอบ การบรรลุตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนด้วยการประเมินตนเอง (School Self Evaluation) แลว้ จัดทำรายงานผลการดำเนินงาน ระบบและกลไกการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพ มี 5 องค์ประกอบ ดังนี้ องค์ประกอบที่ 1 การกำหนดเป้าหมายมาตรฐานคุณภาพ องค์ประกอบที่ 2 การขบั เคลอื่ นคุณภาพสมู่ าตรฐาน องคป์ ระกอบที่ 3 การประเมินความสำเรจ็ ตามมาตรฐาน องค์ประกอบท่ี 4 การนำการเปลี่ยนแปลงสู่สถานศึกษาและการสร้างคุณค่าแก่วงการวิชาการ และองค์ประกอบที่ 5 การเกิดวัฒนธรรมคุณภาพทีส่ ะท้อนการพัฒนาทีย่ ่ังยืน เอกสารฉบับนี้เป็นการรายงานผลการดำเนินงานตาม องค์ประกอบทั้ง 5 องค์ประกอบดังกล่าว เพื่อแสดงให้ผู้เกี่ยวข้องและสาธารณชนได้รับทราบถึงระบบและ กลไกการบริหารจัดการคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาเพื่อการประกันคุณภาพภายในสถา นศึกษาของ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล เพื่อสร้างความเชื่อมั่นในการจัดการศึกษาที่สนองตอบความสนใจ และความต้องการของผูเ้ รยี น ผ้ปู กครอง ชุมชน และสังคม โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล
สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ คำนำ ข้อมูลทวั่ ไป 1 จำนวนข้อมลู บคุ ลากร 3 จดุ เน้นในการพัฒนาการจัดการศึกษาตามระบบการประกนั คุณภาพของสถานศึกษา 3 มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น/คุณภาพของเด็ก 3 มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 5 มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่เี น้นผ้เู รียนเปน็ สำคัญ/การจดั ประสบการณ์ 6 ท่เี น้นเด็กเปน็ สำคญั การดำเนินงานในระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาที่พัฒนาการจัดการศึกษาและ 7 มงุ่ ผลสัมฤทธิท์ ัง้ 5 องคป์ ระกอบ ต่อเนื่อง 3 ปี องคป์ ระกอบที่ 1 การกำหนดเป้าหมายมาตรฐานคุณภาพ 7 องคป์ ระกอบท่ี 2 การขบั เคล่ือนคณุ ภาพสู่มาตรฐาน 44 องค์ประกอบที่ 3 การประเมินความสำเรจ็ ตามมาตรฐาน 52 องค์ประกอบท่ี 4 การนำการเปลีย่ นแปลงสสู่ ถานศึกษาและการสรา้ งคุณคา่ แกว่ งวิชาการ 61 องคป์ ระกอบท่ี 5 การเกดิ วฒั นธรรมคณุ ภาพที่สะทอ้ นการพัฒนาทย่ี ่ังยืน 75 ภาคผนวก 78 โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 3
แบบการจัดทำรายงานเพ่ือคัดเลอื กสถานศกึ ษา เพ่ือรับรางวลั IQA AWARD ประจำปีการศึกษา ๒๕๖4 ของสำนกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 3 โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล ประเภทสถานศกึ ษาขนาดเลก็ *********************** ชือ่ ผูน้ ำเสนอผลงาน นางสาวพรรณทิพา โพธอิ์ ่อง ๑ ข้อมูลท่ัวไป โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล หมู่ที่ ๗ ตำบลวังน้ำลัด อำเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๓ โทร ๐๖-๑๒๗๖๕๑๖๖ e-mail: [email protected] เปิดสอนระดับชัน้ อนุบาล ๑ ถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีนักเรยี นทั้งสิ้น ๑๒๑ คน พ้ืน ทต่ี ้ังของโรงเรยี นอยู่ในเขตองค์การบริหารสว่ นตำบลวงั น้ำลดั ระยะทางจากโรงเรยี นถึงสำนกั งานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๓ เป็นระยะทาง ๑๐ กิโลเมตร จากโรงเรียนถึงที่ว่าการอำเภอ ไพศาลี เป็นระยะทาง ๑๘ กิโลเมตร ผบู้ ริหารโรงเรยี น คือ นางสาวพรรณทพิ า โพธิอ์ ่อง ครสู ายผูส้ อน ๔ คน ครูอัตราจ้าง ๕ คน ครธู รุ การ ๑ คน ๒. ประวตั โิ รงเรียนโดยยอ่ โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล ตั้งข้ึนเมอื่ วันท่ี ๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๙ ตัง้ บนพืน้ ท่ี ๗ ไร่ ๓ งาน ๘๗ ตารางวา ตั้งอยทู่ ี่ หมู่ที่ ๗ ตำบลวงั นำ้ ลดั อำเภอไพศาลี จงั หวันครสวรรค์ ห่างจากตัวอำเภอ ไพศาลี ๑๘ กิโลเมตร ห่างจากจังหวัดนครสวรรค์ ๖๐ กิโลเมตร ห่างจากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๓ ประมาณ ๑๐ กิโลเมตร โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล อยู่ในตำบลวงั นำ้ ลดั แบง่ ออกเปน็ ๑๐ หมบู่ ้านดงั น้ี หมทู่ ่ี ๑ บา้ นวงั นำ้ ลัด หมู่ท่ี ๖ บ้านหนองโน หมู่ท่ี ๒ บ้านเขาดนิ หมทู่ ี่ ๗ บา้ นตะกุดภิบาล หมทู่ ่ี ๓ บา้ นเขาหนิ กล้ิง หมูท่ ่ี ๖ บา้ นโพธิ์ศรี หมู่ที่ ๔ บ้านรอ่ งหอย หมทู่ ่ี ๘ บา้ นหนองกระบอก หม่ทู ่ี ๕ บา้ นห้วยเขว้า หมู่ท่ี ๑๐ บ้านเขาดิน โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 1
รายนามผูบ้ รหิ ารโรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล ปี พ.ศ รายชอ่ื ผู้บริหาร พ.ศ. ๒๕๐๙ นายสะอาด บรู พา พ.ศ. ๒๕๑๐ นายอำนวย ภักดีไทย พ.ศ. ๒๕๒๕ พ.ศ. ๒๕๓๑ นายสมาน ทองวิชิต พ.ศ. ๒๕๔๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ นายมานะ วิไลลกั ษณ์ พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปจั จุบัน นายเจษฎา สขุ นคิ ม นายบุญเทดิ คงกระพนั นางสาวพรรณทิพา โพธอิ์ ่อง 3. ข้อมลู นกั เรียน ( ณ วนั ที่ ๑ มถิ ุนายน ๒๕๖๔ ) ระดับช้นั เรยี น จำนวนห้อง เพศ รวม อ.๑ ๑ ชาย หญงิ ๑๐ อ.๒ ๑ ๑๐ อ.๓ ๑ ๖๔ ๒๐ รวม ๓ ๔๐ ๘๒ ป.๑ ๑ ๑๒ ป.๒ ๑ ๖ ๑๔ ๑๒ ป.๓ ๑ ๑๖ ป.๔ ๑ ๒๐ ๒๐ ๑๓ ป.๕ ๑ ๑๑ ป.๖ ๑ ๗๕ ๑๗ รวม ๖ ๔๘ ๘๑ ๗๙ รวมท้ังหมด ๙ ๘๕ ๑๒๑ ๙๒ ๑๐ ๗ ๔๕ ๓๖ ๖๕ ๕๖ โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 2
๔. ข้อมลู ครูและบุคลาการทางการศกึ ษา ๔.๑ ครปู ระจำการ ท่ี ช่ือ-สกุล อายุ อายรุ าช ตำแหนง่ / วฒุ ิ วิชาเอก สอนวชิ า/ การ วิทยฐานะ ช้ัน ๑. นางสาวณชกาน เรอื งชม ๔๐ ๑๐ ครู คศ.๑ วท.บ วทิ ยาศาสตร์ ทกุ วิชา/ป.๖ เกษตร ครู คศ.๑ ๒. นางสาวพิมพช์ ยา ใชป้ ัญญาธนานนั ท์ ๓๓ ๔ ครูผชู้ ว่ ย คบ. ปฐมวยั อนุบาล ๓ ๑ ครูผ้ชู ว่ ย ๓. นางสาวบุญผานชุ ฤทธิบ์ ำรุง ๒๔ ๑ คบ คณติ ศาสตร์ ทกุ วชิ า/ป.๓ ๔. นางสาวรงุ่ ระวี จันทร์ศรี ๓๐ คบ. ภาษาอังกฤษ ทุกวิชา/ป.๔ โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล มคี รปู ระจำการท้งั สนิ้ ๔ คน สอนตรงวิชาเอก ๔ คน คดิ เป็นร้อยละ ๑๐๐ สอนตรงความถนัด ๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๑๐๐ . ๔.๒ ครูอตั ราจา้ ง ท่ี ช่ือ-สกุล ประสบ วชิ าเอก สอนวิชา/ช้ัน จา้ งด้วยเงนิ อายุ การณ์การ วฒุ ิ สอน(ป)ี ๑. นายอภิชาต แกน่ ย่ิง ๓๙ ๑ รปศ. บริหารงานท่วั ไป พเ่ี ล้ยี งเด็กพกิ าร สพป.นว.๓ ๒. นางสาวปัทมา พุททองศรี ๒๘ ๔ คบ. ศลิ ปะศึกษา อ.๑ โรงเรียน ๓. นางสาวนภิ าพร แป้นอินทร์ ๒๗ ๔ วท.บ. คณติ ศาสตร์ ป.๑ โรงเรียน ๔. นางสาวกชพรรณ สทุ ธศริ ิ ๓๑ ๘ คบ. คอมพวิ เตอร์ ป.๕ สพป.นว.๓ ๕ นางสาวศิริพร ป้อมนารถ ๓๐ ๖ วท.บ วทิ ยาศาสตร์ เจา้ หน้าทธ่ี ุรการ สพป.นว.๓ ๖. นางสาวศศิวภิ า วิชยั ยทุ ธ ๒๖ ๑ คบ. จิตวิทยาการแนะ อ.๒ โรงเรียน แนวและพละศกึ ษา 5. จุดเน้นในการพัฒนาการจัดการศกึ ษาตามระบบการประกันคณุ ภาพสถานศึกษา มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผ้เู รียน โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้มีการปรับปรุง พัฒนา หลักสูตรสถานศึกษาระดับการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2560 โดยให้มีความสอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน ท้องถิ่น และชุมชน มีการจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน แผนปฏิบัติการประจำปี และแผนนิเทศภายใน โรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล 3
โรงเรียน เพื่อให้การดำเนินงานต่าง ๆ ของสถานศึกษาเป็นไปตามเป้าหมาย บรรลวุ ัตถุประสงค์ตามทีไ่ ด้ กำหนดไว้ ในสว่ นของการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอนได้ต้ังเป้าหมายของผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นในแตล่ ะ ปีไว้ที่ชัดเจน ให้ครูผู้สอนทำการวิเคราะห์ผล O-Net ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ผล NT ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 มีการวิเคราะห์ผล การอ่านของนักเรียนทุกชั้น รวมถึงผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ของแต่ละชั้นที่โรงเรียนทำการวัดผลและประเมินผล เพื่อเก็บ ไวเ้ ป็นขอ้ มลู สารสนเทศในการพัฒนาคุณภาพการศกึ ษาของนกั เรียน นอกจากนี้ ยังมีการจัดทำปฏิทินการปฏิบัติงานประจำปีของโรงเรียน มีการนิเทศการเรียน การสอนและนิเทศงาน เพื่อให้รับทราบถึงผลการดำเนินงาน รวมทั้งปัญหา อุปสรรค ที่อาจเกิดข้ึน มีการประชุมครูอยา่ งน้อยเดอื นละ 2 ครัง้ โดยดำเนนิ การแลกเปลย่ี นเรยี นรูถ้ งึ ผลการดำเนินงานซ่งึ กันและ กนั (PLC) รวมถงึ มีการปฏิบัติกจิ กรรม/โครงการท่ไี ดก้ ำหนดไว้ในแผนปฏบิ ัติการประจำปี ตามระยะเวลา ที่กำหนดไว้ มีการประสานงานกับผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้นำชุมชน องค์การบริหารส่วนตำบลวังน้ำลัดเพื่อขอรับการส่งเสริม สนับสนุน ในส่วนที่โรงเรียนขาดแคลน และตอ้ งการความชว่ ยเหลอื นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 ของโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลปีการศึกษา 2564 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ โดยภาพรวมสูงกว่าเป้าหมายที่ทางสถานศึกษา กำหนดไว้ ซึง่ เป็นผลมาจากการวางแผนพฒั นาผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียน โดยได้ทำการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรยี นในปีท่ีผา่ นๆ มา แล้วนำมาแก้ปญั หาหรือพัฒนาดว้ ยการกำหนดโครงการการส่งเสริมความรู้ และทักษะ ที่จำเป็นตามหลักสูตร โครงการการส่งเสริมทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องของนักเรียน (อ่านซ้ำย้ำทวน) โครงการการส่งเสริม ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็น และแก้ปัญหาของนกั เรยี น โครงการยกระดบั ผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของนกั เรยี น และอกี หลายๆ โครงการ รวมถึงได้มีการดำเนินการพัฒนานักเรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การศึกษา วิเคราะห์นักเรียน เป็นรายบุคคล การเยี่ยมบ้านนักเรียน การสอนซ่อมเสริม การพานักเรียนไปแหล่งเรียนรู้ ไปทัศนศึกษา จัดกจิ กรรมชุมนุม และยึดนักเรียนเปน็ ศูนยก์ ลาง ในการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน จากการดำเนินงานดังที่กล่าวมา ส่งผลให้นักเรียนมีความรู้ ความสามารถเป็นไปตามหลักสูตร ของโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาลซึ่งจากการประเมินคุณภาพด้านต่างๆ ที่ไม่ใช่การวัดผลและประเมินผล ของโรงเรยี น สรปุ ผลไดด้ งั น้ี ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 1 (ปกี ารศึกษา 2564) ผลการประเมินความสามารถด้านการอ่านของผู้เรียน (Reading Test : RT) ของสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนักเรียนที่เข้าสอบ จำนวน 13 คน เป็นนักเรียนปกติ 13 คน มีผลการประเมินดังนี้ 1) การอ่านออกเสียง มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 77.38 สูงกว่าระดับประเทศ และ 2)การอ่านรู้เรื่อง มีคะแนนเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 77.23 สูงกว่า โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 4
ระดับประเทศ เมื่อรวมทั้ง 2 สมรรถนะ มีค่าเฉลี่ยคิดเป็นร้อยละ 77.30 สูงกว่าระดับประเทศ เชน่ เดียวกัน ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 (ปกี ารศึกษา 2564) ผลการทดสอบความสามารถพน้ื ฐานของผเู้ รียนระดบั ชาติ (National Test : NT) ของสำนกั งาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ โดยมีนักเรียนเข้าสอบ จำนวน 11 คน เป็นนักเรียนปกติ 11 คน มีผลการประเมินดังนี้ 1) ด้านภาษา มีคะแนนเฉลีย่ คิดเป็นร้อยละ 79.81 สงู กว่าระดบั ประเทศ 2) ดา้ นคำนวณ มีคะแนนเฉลยี่ คิดเปน็ รอ้ ยละ 79.45 สงู กว่าระดับประเทศ เม่ือรวมทง้ั 2 ดา้ น มคี ะแนนเฉลี่ยคดิ เปน็ ร้อยละ 79.63 สูงกว่าระดับเขตพน้ื ที่ และระดบั ประเทศเช่นเดยี วกัน ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ 6 (ปกี ารศึกษา 2564) ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ โดยมีนกั เรียนทเ่ี ขา้ สอบ จำนวน 4 คน เป็นนักเรียนปกติ 4 คน มีผลการประเมินดังนี้ 1) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย มีคะแนนเฉลี่ยคิดเปน็ ร้อยละ 61.75 สงู กว่าระดบั ประเทศ 2) กล่มุ สาระการเรียนรูภ้ าษาองั กฤษ มีคะแนนเฉล่ยี คดิ เปน็ ร้อยละ 45.31 สูงกวา่ ระดับประเทศ 3) กล่มุ สาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ มีคะแนนเฉลย่ี คดิ เปน็ รอ้ ยละ 46.28 สงู กว่าทกุ ระดับ และ 4) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ มคี ะแนนเฉลย่ี คิดเปน็ รอ้ ยละ 48.75 สูงกว่า ระดับประเทศทกุ วชิ า นอกจากนี้ นกั เรียน ป.1 – ป.6 ยังมคี วามสามารถในการอา่ น การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณสูงขึ้น มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและแก้ปัญหา มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม โดยใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสือ่ สาร มคี วามรทู้ ักษะพืน้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ อาชีพ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล ได้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบาลได้จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาให้สูงขึ้น โดยทางโรงเรียนไดก้ ำหนดเป้าหมายผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นของนกั เรียน ต้งั แต่ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 1 – 6 โดยในทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้ จะต้องเพิ่มขึ้นในแต่ละปีการศึกษา มีการจัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปี โดยในปกี ารศึกษา 2564 จะประกอบด้วยโครงการท่จี ะสง่ ผลตอ่ คณุ ภาพการศกึ ษาของนกั เรียน ให้สูงขึ้น อาทิ โครงการส่งเสริมสุขภาวะที่ดี และมีสุนทรียภาพ โครงการการส่งเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และค่านยิ ม ที่พงึ ประสงค์ โครงการการสง่ เสรมิ ความสามารถในการอา่ น การเขยี นการสื่อสาร และการคิด คำนวณ โครงการการส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปญั หา โครงการการส่งเสริมการเรยี นร้ใู นศตวรรษท่ี 21 โครงการยกระดับ ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรู้ โครงการสง่ เสรมิ ทกั ษะการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานรว่ มกับผู้อื่นได้ โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 5
และมีเจตคติทีด่ ตี ่ออาชพี สจุ รติ และโครงการอน่ื ๆ ที่จะรว่ มสนบั สนุนคณุ ภาพการศกึ ษาใหส้ งู ขน้ึ ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาของนักเรียนนั้นได้อาศัยการมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ซึ่งประกอบด้วยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ผู้ปกครองนักเรียน และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุก ๆ ฝา่ ย ไดเ้ ข้ามาให้ความร่วมมือในการท่จี ะชว่ ยกนั พัฒนา ตามวิสัยทัศน์ของโรงเรยี น กำหนดไว้วา่ “ภายใน ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าลมุ่งมั่นพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี น ใหม้ คี วามรูค้ ู่คณุ ธรรม ก้าวนำ เทคโนโลยี สุขภาพดี รักษ์สิ่งแวดล้อม น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่วิถีชีวิต ปลุกจิต รกั ความเป็นไทย ปลอดภัยจากสิง่ เสพติด ทุกชีวิตมีคณุ คา่ สร้างศรทั ธาจากชุมชน” เพื่อให้บรรลุตามกระบวนการบริหารและการจัดการคุณภาพของสถานศึกษา โรงเรียน บ้านตะกุดภิบาลการดำเนินการวิเคราะห์สภาพปัญหา ผลการจัดการศึกษาที่ผ่านมา โดยใช้ข้อมูลฐาน ในการกำหนดเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกจิ อย่างชดั เจน ในการดำเนนิ การพฒั นาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพ ผู้เรียนรอบด้าน ตามหลักสูตรสถานศึกษาทุกกลุ่มเป้าหมาย เชื่อมโยงกับชีวิตจริง จัดทำแผนพัฒนา คุณภาพจัดการศึกษา ดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ ยวชาญ ทางด้านวิชาชีพ ตามความตอ้ งการของครูและสถานศึกษา จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอื้อต่อการจัดการ เรยี นรอู้ ยา่ งมคี ณุ ภาพ และจดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพือ่ สนบั สนนุ การบริหารจัดการและการเรียนรู้ ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของโรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ /การจัดประสบการณ์ ทีเ่ นน้ เดก็ เป็นสำคัญ โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล โดยให้ครูจัดกระบวนการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการดำเนินงาน/กิจกรรมอย่างหลากหลาย ได้แก่ วิเคราะห์หลักสตู ร มาตรฐานการเรียนรู้และชี้วัดฯ (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) จดั การเรียนการสอนเนน้ ปฏิบัติ (Active learning) ให้ผูเ้ รยี นผ่านกระบวนการ คิด ปฏิบัติจริงเพื่อนำไปสู่การเรียนรู้ที่ลึกซึ้งคงทน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา ให้นักเรียนมีส่วนร่วม ครูเยี่ยมบ้านนักเรียนทุกคน รู้จักผู้เรียนเป็นรายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบ และประเมินผ้เู รยี นอย่างเปน็ ระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน รวมทัง้ รว่ มกนั แลกเปลย่ี นเรยี นรแู้ ละนำผล ที่ได้มาปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ ครูมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถนำไปใช้กิจกรรมได้จริง ครูใช้ส่ือ และแหล่งเรียนรู้ มีการบริหารจัดการชั้นเรียน มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก เพื่อให้เด็ก รักการเรียนรู้ร่วมกนั อย่างมีความสุข ครูร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำข้อมูลพัฒนาปรับปรุงการจัดการ เรียนรู้และสอนตามแผน ครูผลิตนวัตกรรม แผนการจัดการเรียนรู้ อีกทั้งปรับโครงสร้างรายวิชา หน่วยการเรียนรูล้ ดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้สัดสว่ นคะแนนแต่ละหน่วย กำหนดคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ ที่สอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้ การเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้นักเรียนทุกคนมีส่วนร่วม ได้ลงมือ ปฏิบัตจิ ริงจนสรปุ ความรูด้ ้วยตนเอง จัดการนิเทศ บรรยากาศภายในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ครูใช้ส่ือ การเรียนการสอน นวัตกรรมและเทคโนโลยีภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพ โรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล 6
ของสื่อการสอนทใี่ ช้ทำงานวิจยั ในชั้นเรียน อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ 1 เรอ่ื ง โรงเรียนจัดการเรียนการสอนที่หลากหลายทำให้ผลสัมฤทธิ์ทางก ารเรียนของนักเรียนบรรลุ ตามเป้าหมายที่โรงเรียนกำหนด มีแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่มีความชัดเจน เป็นรูปธรรม แผนปฏิบัติการประจำปีที่มีโครงการ/กิจกรรม สอดรับกัน มีแผนการนิเทศภายในโรงเรียนและปฏิทิน การปฏิบัติงานที่เป็นแนวทางในการกำหนดเวลาในการนิเทศ ติดตามงาน มีการประชุมครแู ละบุคลากร ทางการศึกษาอย่างน้อยเดือนละ 2 ครั้ง เพื่อสร้างการรับรู้และความตระหนักในภาระหน้าท่ี ของความเปน็ ครู มีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนที่ยดึ ผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลางของการเรยี นรู้ 6. การดำเนินงานในระบบประกันคุณภาพภายใยสถานศึกษาที่พัฒนาการจัดการศึกษา และมุ่ง ผลสมั ฤทธ์ิท้ัง 5 องค์ประกอบ ต่อเนือ่ ง 3 ปี องค์ประกอบท่ี 1 การกำหนดเป้าหมายมาตรฐานคณุ ภาพ คำอธิบาย : สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับมาตรฐาน การศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ เป้าประสงค์ของหน่วยงานต้นสังกัด ปรัชญาการจัดการศึกษา วัตถุประสงค์การจัดตั้งสถานศึกษาและบริบทของสถานศึกษาโดยระบุองค์ประกอบประเด็นการ พิจารณา และเกณฑก์ ารตดั สนิ คณุ ภาพ พร้อมท้งั กำหนดเปา้ ประสงคด์ า้ นคุณภาพการจดั การศกึ ษา ใน ระยะ ๓-๕ ปี และ กำหนดเป้าหมายรายปที ใ่ี ช้สถานศึกษาเปน็ ฐานโดยการมีสว่ นรว่ มของบคุ ลากรทุกฝา่ ยและผูท้ ีม่ สี ว่ นได้ส่วนเสยี 1.1 บุคลากรทกุ ฝา่ ยของสถานศึกษาและผู้มสี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ร่วมกนั กำหนดมาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศ เป้าประสงค์ ของหนว่ ยงานตน้ สังกัด ปรัชญาการจดั การศกึ ษา และวัตถุประสงค์การจดั ตงั้ สถานศึกษา การดำเนนิ งาน โรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล ได้ดำเนนิ การจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิการ ประจำปี มีการกำหนดมาตรฐานและเป้าหมายคุณภาพของสถานศึกษา โดยให้มีความเหมาะสมและ สอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาชาติ มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตรฐานการศึกษาของเขตพื้นท่ี การศกึ ษาประถมศกึ ษานครสวรรค์ เขต ๓ มาตรฐานการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก(สมศ.) และ ข้อเสนอแนะ การประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม โดยแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินงาน ศึกษาวิเคราะห์ มาตรฐาน การศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้เป้าประสงค์ การจัดการศึกษาของสำนักงาน คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต ๓ ร่วมกันกำหนด มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดับปฐมวัยระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และจัดทำแนวทาง การประกนั คณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 7
ขัน้ ตอนการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศกึ ษา มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ มาตรฐานการศกึ ษาธกิ ารขน้ั พ้นื ฐาน ขน้ั พนื้ ฐานเพื่อการประเมนิ สถานศกึ ษา ของกระทรวงศกึ ษา ภายนอก มาตรฐานการศกึ ษาของเขตพ้นื ที่ การศกึ ษา เตรียมความพรอ้ มการกาหนดมาตรฐาน การศกึ ษา การบรหิ ารจดั การ วิเคราะห์ความสมั พนั ธ์ของมาตรฐาน การจดั การเรยี นการสอน การศกึ ษา - วเิ คราะหห์ ลกั สูตร/มาตรฐาน - วิเคราะห์ - วิสยั ทศั น์ กาหนดมารฐานการศกึ ษาและตวั บ่งช้ี การจดั การเรยี นรู้ - พนั ธกิจ ตรวจสอบและทบทวนมาตรฐานการศกึ ษา - วิเคราะหผ์ ู้เรียน - เป้ าประสงค์ - ออกแบบการเรยี นรู้ - ยุทธศาสตร์ การให้ความเหน็ ชอบ - แผนการจดั การเรยี นรู้ - กลยทุ ธ์ ทมี่ คี ณุ ภาพ - แผนงาน - การวดั ประเมนิ ผล - โครงการ - กิจกรรม ปรบั ปรงุ การเรยี นการสอน - สรปุ รายงานผล ประกาศให้ใช้มาตรฐาน มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 8
1.2 สถานศกึ ษาระบอุ งคป์ ระกอบ ตวั ชวี้ ัด ประเดน็ การพิจารณา และเกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ที่สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศึกษาไว้ในมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาอย่างครบถ้วนและชดั เจน รายละเอียดแตล่ ะมาตรฐาน มีดงั นี้ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผ้เู รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รยี น 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอ่ื สาร และการคดิ คำนวณ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เห็น และแกป้ ัญหา 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม 4) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร 5) มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 6) มีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคติทด่ี ตี อ่ งานอาชีพ 1.2 คณุ ลักษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น 1) การมีคุณลกั ษณะและคา่ นยิ มทด่ี ีตามทส่ี ถานศึกษากำหนด 2) ความภูมิใจในทอ้ งถ่ินและความเป็นไทย 3) การยอมรับทจี่ ะอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สังคม คำอธิบาย มาตรฐานท่ี 1 ดา้ นคณุ ภาพผู้เรยี น ผลการเรียนรู้ที่เป็นคุณภาพของผู้เรียนทั้งด้านผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการ ประกอบด้วย ความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่อื สาร การคดิ คำนวณ การคิดประเภทตา่ งๆ การสรา้ งนวตั กรรม การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลักสูตร การมีความรู้ ทักษะ พื้นฐานและเจตคติท่ีดีต่อวชิ าชีพ และด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ที่เป็นค่านยิ มทีด่ ตี ามทีส่ ถานศกึ ษา กำหนด ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทยการยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและ หลากหลาย รวมท้ังสุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม 1.1 ผลสมั ฤทธทิ์ างวิชาการของผ้เู รียน 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสือ่ สาร และการคดิ คำนวณ ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา กำหนดในแตล่ ะระดับชัน้ 2) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล 9
ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดจำแนกแยกแยะ ใคร่ครวญไตร่ตรอง พิจารณาอย่างรอบคอบ โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสินใจ มีการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคิดเหน็ และแกป้ ัญหาอย่างมเี หตุผล 3) มคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม ผู้เรียนมีความสามารถในการรวบรวมความรู้ไดท้ ั้งด้วยตัวเองและการทำงานเป็นทีม เชื่อมโยง องค์ความรู้ และประสบการณ์มาใช้ในการสร้างสรรค์สิง่ ใหม่ๆ อาจเป็นแนวความคิด โครงการ โครงงาน ช้ินงาน ผลผลิต 4) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสาร ผูเ้ รยี นมีความสามารถในใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สารเพอ่ื การพฒั นาตนเองและสงั คม ในด้านการเรียนรู้ การสือ่ สาร การทำงาน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม 5) มผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษา ผู้เรียนบรรลุและมีความก้าวหน้าในการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาจากพื้นฐานเดิ ม ในด้านความรู้ ความเข้าใจ ทักษะกระบวนการต่างๆ รวมทั้งมีความก้าวหนา้ ในผลการทดสอบระดบั ชาติ หรอื ผลการทดสอบอื่นๆ 6) มคี วามรู้ ทกั ษะพื้นฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีต่องานอาชีพ ผู้เรียนมคี วามรู้ ทักษะพื้นฐานในการจัดการ เจตคติที่ดีพร้อมที่จะศึกษาต่อในระดับช้นั ที่ สงู ขนึ้ การทำงานหรอื งานอาชีพ 1.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี น 1) มคี ณุ ลกั ษณะและค่านิยมทีด่ ตี ามที่สถานศกึ ษากำหนด ผู้เรียนมีพฤติกรรมเป็นผู้ที่มีคุณธรรม จริยธรรม เคารพในกฎกติกา มีค่านิยมและจิตสำนึก ตามท่ีสถานศกึ ษากำหนดโดยไมข่ ดั กบั กฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสงั คม 2) มคี วามภูมใิ จในท้องถิน่ และความเปน็ ไทย ผเู้ รยี นมีความภมู ิใจในทอ้ งถิ่น เหน็ คุณค่าของความเป็นไทย มีสว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรม และประเพณีไทย รวมทัง้ ภมู ปิ ัญญาไทย 3) ยอมรับท่ีจะอยูร่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ผู้เรียนยอมรับและอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างระหว่างบุคคลในด้าน เพศ วัย เชื้อชาติ ศาสนา ภาษาวฒั นธรรม ประเพณี 4) มสี ขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม ผู้เรียนมีการรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิต อารมณ์ และสังคม และแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแตล่ ะชว่ งวยั สามารถอยู่ร่วมกบั คนอืน่ อยา่ งมคี วามสขุ เขา้ ใจผูอ้ ืน่ ไมม่ คี วามขดั แยง้ กบั ผู้อ่นื โรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล 10
การให้ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดบั ดีเลิศ ๑.๑ ผลสมั ฤทธ์ทิ างวชิ าการของผู้เรยี น ระดับดเี ลศิ ๑.๑.๑ มคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ระดบั ดเี ลิศ ๑. ผู้เรียนมีทักษะในการอ่าน ตามเกณฑ์ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดในแต่ละระดบั ชน้ั รอ้ ยละ ๘๐ ๒. ผู้เรยี นมีทกั ษะในการเขียน ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนดในแต่ละระดบั ชั้น ร้อยละ ๘๐ ๓. ผูเ้ รยี นมที กั ษะในการสอ่ื สาร ตามเกณฑท์ ส่ี ถานศึกษากำหนดในแต่ละระดบั ชนั้ ร้อยละ ๘๐ ๔. ผู้เรยี นมที กั ษะในการคดิ คำนวณตามเกณฑ์ทส่ี ถานศึกษากำหนดในแต่ละระดบั ชน้ั รอ้ ยละ ๘๐ ๑.๑.๒ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คิดอย่างมวี จิ ารณญาณ อภปิ รายแลกเปล่ยี นความ ระดบั ดเี ลิศ คดิ เหน็ และแกป้ ญั หา ๑. ผู้เรยี นมีความสามารถในการคิดแยกแยะ ใคร่ครวญไตรต่ รอง พจิ ารณาอยา่ ง ร้อยละ ๘๐ รอบคอบ โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสนิ ใจ ๒. ผ้เู รียนมีความสามารถในการอภิปรายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ รอ้ ยละ ๘๐ ๓. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการแกป้ ัญหาอย่างมีเหตุผล รอ้ ยละ ๘๐ ๑.๑.๓ มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ระดับดี ๑. ผเู้ รยี นมีความสามารถในการรวบรวมความรูไ้ ด้ท้งั ดว้ ยตวั เองและการทำงาน ร้อยละ ๘๐ เป็นทมี รอ้ ยละ ๘๐ ๒. ผูเ้ รียนมีความสามารถในการเช่อื มโยงองค์ความรู้ ร้อยละ ๘๐ ๓. ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการนำประสบการณม์ าใช้ในการสร้างสรรค์สง่ิ ใหมๆ่ ระดบั ดเี ลิศ อาจเปน็ แนวความคดิ โครงการ โครงงาน ชิ้นงาน ผลผลิต ๑.๑.๔ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการสือ่ สาร ๑. ผเู้ รียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ ร้อยละ ๘๐ ๒. ผเู้ รียนมีความสามารถในการใช้ การส่อื สารเพอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คมในด้าน รอ้ ยละ ๘๐ การเรียนรู้ การสือ่ สาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมคี ุณธรรม ๑.๑.๕ มีผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดับดเี ลศิ ๑. ผู้เรียนบรรลุและมีความกา้ วหน้าในการเรยี นร้ตู ามหลกั สตู รสถานศกึ ษาจาก รอ้ ยละ ๘๕ พ้ืนฐานเดิมในดา้ นความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ กระบวนการต่าง ๆ ร้อยละ ๘๐ ๒. ผเู้ รยี นมคี วามกา้ วหนา้ ในผลการทดสอบระดับชาติ หรือผลการทดสอบอ่ืน ๆ ระดับดเี ลิศ ๑.๑.๖ มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคติทีด่ ตี อ่ งานอาชีพ ๑. ผูเ้ รยี นมีความรู้ ทักษะพืน้ ฐานในการจัดการ รอ้ ยละ ๘๕ ๒. ผู้เรยี นมเี จตคตทิ ีด่ ีพร้อมทจี่ ะศกึ ษาต่อในระดับชัน้ ทส่ี ูงขน้ึ ร้อยละ ๘๕ โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 11
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพผเู้ รยี น ระดบั ดเี ลิศ ๓. ผเู้ รยี นมเี จตคติทด่ี ตี ่อการทำงานหรอื งานอาชพี ร้อยละ ๘๕ ๑.๒ คุณลักษณะท่พี งึ ประสงค์ของผู้เรยี น ระดับดเี ลศิ ร้อยละ ๘๕ ๑.๒.๑ มคี ุณลักษณะและค่านิยมทดี่ ตี ามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด รอ้ ยละ ๘๕ ๑. ผเู้ รยี นมีพฤติกรรมเปน็ ผู้ทม่ี ีคุณธรรม จรยิ ธรรม เคารพในกฎกติกา ระดบั ดเี ลศิ ๒. ผู้เรียนมีคา่ นยิ มและมีจิตสำนึกตามทสี่ ถานศึกษากำหนดโดยไม่ขัดกับกฎหมาย รอ้ ยละ ๘๕ และวัฒนธรรมอนั ดีของสงั คม ร้อยละ ๘๕ ๑.๒.๒ มีความภมู ิใจในท้องถนิ่ และความเปน็ ไทย ระดับดเี ลิศ ๑. ผเู้ รยี นมคี วามภูมิใจในท้องถนิ่ เหน็ คุณคา่ ของความเป็นไทย ร้อยละ ๘๕ ๒. ผู้เรยี นมสี ่วนร่วมในการอนรุ กั ษว์ ฒั นธรรมและประเพณไี ทย รวมทง้ั ระดบั ดเี ลิศ ภูมิปญั ญาไทย รอ้ ยละ ๘๕ ๑.๒.๓ ยอมรบั ทจี่ ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย รอ้ ยละ ๘๕ ร้อยละ ๘๕ ผูเ้ รยี นยอมรบั และอยูร่ ่วมกันบนความแตกตา่ งระหวา่ งบุคคลในด้าน เพศ วัย เชื้อ ชาติ ศาสนา ภาษาวัฒนธรรม ประเพณี ๑.๒.๔ มสี ขุ ภาวะทางรา่ งกายและจิตสังคม ๑. ผเู้ รยี นมกี ารรักษาสุขภาพกาย สุขภาพจิตอารมณ์ และสังคม ๒. ผู้เรยี นมีการแสดงออกอย่างเหมาะสม ในแตล่ ะช่วงวยั ๓. ผ้เู รียนสามารถอยู่รว่ มกับคนอ่นื อย่างมคี วามสุข เข้าใจผอู้ ่ืน ไมม่ คี วามขัดแยง้ กบั ผอู้ ่ืน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มเี ป้าหมายวิสัยทัศน์และพนั ธกจิ ท่ีสถานศกึ ษากำหนดชดั เจน 2.2 มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทุกกลมุ่ เป้าหมาย 2.4 พฒั นาครแู ละบุคลากรให้มคี วามเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพ 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทีเ่ อ้ือตอ่ การจดั การเรียนรอู้ ย่างมคี ุณภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ สนบั สนุนการบริหารจัดการและ การจดั การเรยี นรู้ โรงเรียนบ้านตะกุดภบิ าล 12
คำอธิบาย มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ เป็นการจัดระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา มีการกำหนดเป้าหมายวิสัยทศั น์และ พันธกิจอย่างชัดเจน สามารถดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตร สถานศึกษาในทุกกลุ่มเป้าหมาย จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ดำเนินการพัฒนาครูและ บุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนการบริหาร จัดการและการเรยี นรู้ รวมทัง้ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมท่เี อือ้ ต่อการจดั การเรียนรู้ 2.1 มีเป้าหมาย วิสยั ทัศน์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากำหนดชดั เจน สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ไว้อย่างชัดเจน สอดคล้องกับบริบท ของสถานศึกษา ความต้องการของชุมชน ท้องถิ่น วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบาย ของรัฐบาลและของต้นสงั กดั รวมทง้ั ทันต่อการเปล่ยี นแปลงของสงั คม 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา สถานศึกษาสามารถบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบทั้งในส่วน การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏิบัติเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีการติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรับปรุงพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง มีการบริหารอัตรากาลัง ทรัพยากรทางการศึกษา และระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มีระบบการนิเทศภายใน การนำข้อมูลมาใช้ ในการพัฒนาบุคลากรและผู้ที่เกี่ยวข้อง ทุกฝ่ายมีส่วนร่วมการวางแผน ปรับปรุง และพัฒนา และร่วมรับผิดชอบตอ่ ผลการจดั การศกึ ษา 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษา และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย สถานศึกษาบริหารจัดการเกี่ยวกับงานวิชาการ ทั้งด้านการพัฒนาหลักสูตร กิจกรรมเสริม หลักสูตร ที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้าน เชื่อมโยงวิถีชีวิตจริง และครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงการจัดการเรยี นการสอนของกลมุ่ ที่เรยี นแบบควบรวมหรือกล่มุ ทเ่ี รยี นรว่ มด้วย 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวิชาชีพ สถานศึกษาสง่ เสริม สนับสนุน พัฒนาครู บุคลากร ให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ และจัดให้ มีชมุ ชนการเรียนรทู้ างวชิ าชีพ มาใชใ้ นการพัฒนางานและการเรียนรูข้ องผูเ้ รียน 2.5 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจดั การเรยี นรู้ สถานศึกษาจดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพทั้งภายในและภายนอกห้องเรยี น และสภาพแวดลอ้ ม ทางสงั คม ทีเ่ ออ้ื ต่อการจัดการเรยี นรู้ และมีความปลอดภยั 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนับสนนุ การบรหิ ารจัดการและการจดั การเรยี นรู้ สถานศึกษาจัดระบบการจัดหา การพัฒนาและการบริการ เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อใช้ ในการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ ทเ่ี หมาะสมกบั สภาพของสถานศึกษา โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล 13
การใหร้ ะดบั คณุ ภาพ ระดับดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ๒.๑ มเี ปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ระดับดเี ลศิ ๑. สถานศกึ ษากำหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพนั ธกิจ ไว้อยา่ งชดั เจน เปน็ รปู ธรรม ระดับดเี ลิศ ปฏบิ ัติได้ ๒. สถานศึกษากำหนดเป้าหมาย วิสยั ทศั น์ และพนั ธกิจ สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท ระดับดเี ลศิ ของสถานศกึ ษา ๓. สถานศกึ ษากำหนดเปา้ หมาย วิสัยทศั น์ และพันธกจิ สอดคลอ้ งกบั ระดับดเี ลศิ ความต้องการของชมุ ชน ท้องถิน่ ๔. สถานศกึ ษากำหนดเปา้ หมาย วสิ ัยทัศน์ และพนั ธกจิ สอดคล้องกบั วัตถุประสงค์ ระดับดเี ลศิ ของแผนการศึกษาแห่งชาติ นโยบายของรฐั บาลและของตน้ สงั กัด ๕. สถานศึกษากำหนดเปา้ หมาย วสิ ยั ทศั น์ และพันธกจิ สอดคล้องและทนั ตอ่ ระดบั ดเี ลศิ การเปลย่ี นแปลงของสงั คม ๒.๒ มีระบบบรหิ ารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา ระดับดเี ลศิ ๑. สถานศกึ ษาสามารถบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาอย่างเปน็ ระบบ ระดบั ดเี ลิศ ท้งั ในส่วนการวางแผนพฒั นาคุณภาพการจัดการศึกษา การนำแผนไปปฏบิ ตั ิ เพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา ๒. สถานศกึ ษามกี ารติดตามตรวจสอบประเมินผลและปรบั ปรุงพัฒนางาน ระดับดเี ลิศ อยา่ งตอ่ เน่อื ง ๓. สถานศึกษามีการบรหิ ารอตั รากำลงั ทรพั ยากรทางการศกึ ษา และระบบ ระดับดเี ลิศ ดูแลช่วยเหลือนักเรียน ๔. สถานศกึ ษามรี ะบบการนเิ ทศภายใน มีการนำข้อมูลมาใช้ในการพฒั นา ระดับดเี ลิศ ๕. บุคลากรและผูท้ เ่ี กีย่ วข้องทกุ ฝา่ ยมสี ว่ นร่วมในการวางแผน ปรบั ปรงุ ระดบั ดเี ลศิ และพฒั นา และร่วมรับผดิ ชอบตอ่ ผลการจัดการศึกษา ๒.๓ ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดบั ดเี ลศิ และทุกกลมุ่ เป้าหมาย ๑. สถานศึกษาบรหิ ารจดั การเกยี่ วกบั งานวชิ าการ ทัง้ ดา้ นการพฒั นาหลกั สตู ร ระดับดเี ลิศ กจิ กรรมเสรมิ หลกั สูตรทเ่ี นน้ คณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ น ๒. สถานศึกษามหี ลักสูตรสถานศกึ ษาและมกี ารจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน ระดับดเี ลิศ ตามหลักสตู รสถานศกึ ษาพรอ้ มทง้ั ประเมินผลการใชแ้ ละปรบั ปรงุ หลักสตู ร สถานศึกษาอยา่ งต่อเน่ือง โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 14
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ ระดับดีเลิศ ๓. สถานศกึ ษามีการจัดหลักสตู รเชอ่ื มโยงวิถชี วี ติ จรงิ และครอบคลุมทกุ ระดับดเี ลศิ กลุ่มเปา้ หมาย หมายรวมถงึ การจดั การเรยี นการสอนของกลุ่มท่ีเรยี นแบบ ระดบั ดเี ลิศ ควบรวมหรอื กลมุ่ ทเี่ รียนรว่ มดว้ ย ๒.๔ พัฒนาครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีความเชีย่ วชาญทางวชิ าชีพ ๑. ครไู ด้รบั การสง่ เสรมิ สนับสนุน ให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี ระดบั ดเี ลศิ ๒. สถานศกึ ษากำหนดใหม้ ีชมุ ชน การเรียนรู้ทางวิชาชีพ มาใช้ในการพัฒนา ระดบั ดเี ลศิ งาน และการเรยี นรูข้ องผเู้ รยี น ระดบั ดเี ลศิ ๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อือ้ ต่อการจัดการเรยี นรู้ ๑. สถานศึกษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอก ระดบั ดเี ลิศ ห้องเรียนและสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมทเ่ี ออ้ื ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ ๒. สถานศกึ ษาจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพทัง้ ภายในและภายนอก ระดบั ดเี ลิศ ห้องเรยี นและสภาพแวดลอ้ มทางสงั คมท่มี คี วามปลอดภัย ๓. สถานศกึ ษาจัดใหม้ หี ้องปฏบิ ัตกิ าร(ห้องพเิ ศษ) ต่าง ๆ เช่นหอ้ งปฏิบตั กิ าร ระดบั ดเี ลิศ วิทยาศาสตร์ หอ้ งสมุด หอ้ งพยาบาล ทเ่ี ออื้ ตอ่ การจัดการเรยี นรู้ 2.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื สนบั สนุนการบรกิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ ระดับดเี ลิศ ๑. สถานศกึ ษามกี ารจัดระบบการจดั หา สอื่ เทคโนโลยที เี่ ออื้ และสนบั สนุนการ ระดบั ดเี ลิศ จดั การเรยี นรู้ ระดับดเี ลิศ ๒. สถานศึกษามีการพฒั นาและการบรกิ าร เทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื ใช้ในการ บริหารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ ทเ่ี หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผเู้ รียนเป็นสำคัญ 3.1 จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตได้ 3.2 ใช้ส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรูท้ เ่ี ออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ 3.3 มีการบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเปน็ ระบบ และนาผลมาพฒั นาผเู้ รยี น 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุง การจัดการเรยี นรู้ โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 15
คำอธิบาย มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเ่ี น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ เป็นกระบวนการจัดการเรียนการสอนตามมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา สร้างโอกาสให้ผูเ้ รียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริงมีการบริหารจัดการชั้น เรียนเชิงบวก สร้างปฏิสัมพันธ์ท่ีดี ครูรู้จักผูเ้ รียนเปน็ รายบุคคล ดำเนินการตรวจสอบและประเมินผู้เรียน อย่างเป็นระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน รวมทั้งร่วมกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้และนำผลที่ได้มาให้ข้อมูล ปอ้ นกลบั เพอ่ื พัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้ 3.1 จัดการเรยี นรู้ผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัติจรงิ และสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ นการ ดำเนินชวี ิต จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชี้วัดของหลักสตู รสถานศึกษาท่ีเน้นให้ผู้เรียน ไดเ้ รยี นร้โู ดยผา่ นกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ มีแผนการจดั การเรียนรทู้ สี่ ามารถนำไปจดั กจิ กรรมได้จริง มีรปู แบบการจดั การเรียนรเู้ ฉพาะสำหรบั ผ้ทู ่ีมคี วามจำเปน็ และต้องการความช่วยเหลือพเิ ศษ ผ้เู รียนได้รับ การฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเห็น สรุปองค์ความรู้ นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยุกต์ ใชใ้ นชวี ิตได้ 3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรทู้ ีเ่ อื้อตอ่ การเรยี นรู้ มีการใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรียนรู้ รวมทั้งภูมิปัญญาท้องถิ่นมาใช้ในการจดั การเรียนรู้ โดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ู้เรียนไดแ้ สวงหาความรดู้ ้วยตนเองจากสือ่ ทห่ี ลากหลาย 3.3 มีการบริหารจดั การชนั้ เรียนเชงิ บวก ครผู ู้สอนมีการบริหารจัดการชน้ั เรยี น โดยเน้นการการมปี ฏสิ มั พนั ธเ์ ชิงบวก ใหเ้ ดก็ รักครู ครูรัก เดก็ และเดก็ รกั เด็ก เด็กรกั ทจ่ี ะเรยี นรู้ สามารถเรยี นรู้ร่วมกนั อย่างมีความสุข 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผู้เรียน มกี ารตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพการจดั การเรยี นรู้อย่างเปน็ ระบบ มีขั้นตอนโดยใช้เครอ่ื งมือ และวิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ และให้ข้อมูลย้อนกลับแก่ ผ้เู รยี นเพื่อนำไปใช้พฒั นาการเรียนรู้ 3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู ปอ้ นกลบั เพือ่ ปรบั ปรงุ และพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ ครูและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องรว่ มกันแลกเปลี่ยนความรูแ้ ละประสบการณ์รวมท้ังให้ขอ้ มูลป้อนกลับ เพ่ือนำไปใช้ในการปรับปรงุ และพัฒนาการจดั การเรียนรู้ โรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล 16
การใหร้ ะดับคณุ ภาพ ระดบั ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ระดับดเี ลิศ ระดับดเี ลิศ ๓.๑ จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคดิ และการปฏิบตั ิจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ ระดับดเี ลศิ ในชวี ติ ประจำวนั ได้ ๑. ครูจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชีว้ ัดของหลกั สตู ร ระดบั ดเี ลศิ สถานศึกษาท่ีเน้นใหผ้ ู้เรยี นได้เรยี นร้โู ดยผ่านกระบวนการคดิ และปฏบิ ัตจิ ริง ๒. ครูจัดทำแผนการจัดการเรียนรทู้ สี่ ามารถนำไปจัดกจิ กรรมได้จรงิ มรี ปู แบบ การจดั การเรียนรเู้ ฉพาะสำหรับผทู้ ีม่ คี วามจำเปน็ และตอ้ งการความ ชว่ ยเหลือพเิ ศษ ๓. ผ้เู รยี นไดร้ บั การฝึกทักษะ แสดงออกแสดงความคิดเหน็ สรปุ องค์ความรู้ นำเสนอผลงานและสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวติ ได้ ๓.๒ ใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี อือ้ ต่อการเรยี นรู้ ระดับดเี ลศิ ๑. ครมู ีการใชส้ อื่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ รวมทงั้ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ระดบั ดเี ลศิ มาใชใ้ นการจัดการเรียนรู้ ๒. ครเู ปดิ โอกาสให้ผเู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ้วยตนเองจากสื่อทหี่ ลากหลาย ระดบั ดเี ลิศ ๓.๓ มกี ารบรหิ ารจดั การชั้นเรียน เชิงบวก ระดับดเี ลศิ ๑. ครูผู้สอนมกี ารบรหิ ารจัดการชัน้ เรยี น โดยเน้นการการมปี ฏสิ มั พันธเ์ ชงิ บวก ระดบั ดเี ลิศ ใหเ้ ดก็ รกั ครู ครรู กั เดก็ และเด็กรกั เด็ก เดก็ รกั ท่จี ะเรียนรู้ สามารถเรียนรู้ รว่ มกันอย่างมคี วามสุข ๓.๔ ครูมกี ารตรวจสอบและประเมินผูเ้ รียนอยา่ งเปฯ็ ระบบและนำผลมาพัฒนาผู้เรียน ระดับดเี ลิศ ๑. ครูมกี ารตรวจสอบและประเมินคุณภาพการจดั การเรียนรูอ้ ยา่ งเปน็ ระบบ ระดับดเี ลิศ ๒. ครูมกี ารใช้เครื่องมือและวิธีการวดั และประเมนิ ผลทเี่ หมาะสมกบั เป้าหมาย ระดับดเี ลศิ ในการจัดการเรียนรู้ ๓. ครูมกี ารให้ข้อมลู ย้อนกลบั แกผ่ เู้ รยี นเพอื่ นำไปใช้พัฒนาการเรียนรู้ ระดับดเี ลศิ ๓.๕ มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะท้อนกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรับปรงุ การจัดการ ระดับดเี ลิศ เรียนรู้ ๑. ครแู ละผูม้ ีส่วนเก่ียวขอ้ งร่วมกนั แลกเปลยี่ นความรูแ้ ละประสบการณ์รวมทง้ั ระดบั ดเี ลิศ ใหข้ อ้ มูลป้อนกลบั เพอ่ื นำไปใชใ้ นการปรบั ปรงุ และพัฒนาการจัดการเรียนรู้ ระดับดเี ลิศ โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 17
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี น้นผู้เรยี นเป็นสำคญั ระดบั ดเี ลิศ ๒. สถานศกึ ษามีระบบนเิ ทศภายในดา้ นวิชาการเพ่ือตรวจสอบตดิ ตามประเมนิ ผล การจดั การเรยี นร้ขู องครผู สู้ อนเพอ่ื พัฒนาและปรบั ปรุงคุณภาพการศกึ ษาอยา่ ง ตอ่ เน่อื ง เกณฑ์การประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พื้นฐาน เพอ่ื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวชิ าการของผู้เรยี น 1) ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสอื่ สาร และการคดิ คำนวณ เกณฑ์การพจิ ารณา คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอ่าน การเขียน การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ ร้อยละ 90-100 5 ผู้เรียนมคี วามสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ รอ้ ยละ 80-89 4 ผเู้ รยี นมีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การสอ่ื สาร และการคิดคำนวณ รอ้ ยละ 70-79 3 ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การสื่อสาร และการคดิ คำนวณ รอ้ ยละ 60-69 2 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการอา่ น การเขยี น การสื่อสาร และการคิดคำนวณ ร้อยละ 0-59 1 2) ผูเ้ รยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลีย่ นความคดิ เหน็ และแก้ปญั หา เกณฑ์การพิจารณา คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คุณภาพ ผ้เู รียนมีความสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คิดอย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลยี่ นความคดิ เหน็ 5 โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ัญหาได้ รอ้ ยละ 90-100 ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อยา่ งมวี ิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเหน็ 4 โดยใช้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และแกป้ ญั หาได้ ร้อยละ 80-89 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการคิดวิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปล่ยี นความคดิ เหน็ 3 โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ และแกป้ ญั หาได้ รอ้ ยละ 70-79 ผู้เรยี นมีความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ อย่างมวี ิจารณญาณ อภปิ รายแลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ 2 โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภบิ าล 18
คำอธิบายระดบั คุณภาพ ระดบั คุณภาพ โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ และแกป้ ัญหาได้ รอ้ ยละ 60-69 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ 1 โดยใช้เหตุผลประกอบการตดั สินใจ และแกป้ ญั หาได้ รอ้ ยละ 0-59 3) ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม ระดบั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คณุ ภาพ คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ 5 ผู้เรียนมีความสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม มีการนำไปใช้และเผยแพร่ รอ้ ยละ 90-100 4 ผ้เู รยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม มีการนำไปใช้และเผยแพร่ รอ้ ยละ 80-89 3 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม มกี ารนำไปใชแ้ ละเผยแพร่ ร้อยละ 70-79 ผเู้ รยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวัตกรรม มกี ารนำไปใช้และเผยแพร่ ร้อยละ 60-69 2 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการสร้างนวตั กรรม มีการนำไปใช้และเผยแพร่ รอ้ ยละ 0-59 1 4) ผ้เู รียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ่ สาร ระดับ เกณฑก์ ารพิจารณา คุณภาพ คำอธิบายระดบั คุณภาพ 5 ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพอ่ื พฒั นาตนเองและสงั คมในการ 4 เรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมคี ณุ ธรรม รอ้ ยละ 90-100 ผู้เรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือพัฒนาตนเองและสงั คมในการ 3 เรยี นรู้ การส่ือสาร การทำงาน อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมคี ุณธรรม ร้อยละ 80-89 ผู้เรียนมีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สารเพ่อื พัฒนาตนเองและสงั คมในการ 2 เรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ณุ ธรรม รอ้ ยละ 70-79 ผู้เรยี นมคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารเพ่ือพฒั นาตนเองและสงั คมในการ 1 เรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำงาน อย่างสรา้ งสรรค์ และมคี ณุ ธรรม รอ้ ยละ 60-69 ผ้เู รยี นมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารเพ่อื พฒั นาตนเองและสงั คมในการ เรยี นรู้ การสื่อสาร การทำงาน อย่างสร้างสรรค์ และมีคณุ ธรรม ร้อยละ 0-59 โรงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล 19
5) ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ระดบั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คุณภาพ คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ 5 4 ผูเ้ รยี นมผี ลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาสูงกวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด 3 ร้อยละ 90-100 2 ผูเ้ รยี นมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลกั สูตรสถานศึกษาสูงกว่าเป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด 1 รอ้ ยละ 80-89 ผู้เรียนมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาสูงกวา่ เป้าหมายทส่ี ถานศกึ ษากำหนด ระดบั ร้อยละ 70-79 คณุ ภาพ ผู้เรียนมผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษาสงู กวา่ เปา้ หมายทสี่ ถานศึกษากำหนด ร้อยละ 60-69 5 ผเู้ รยี นมผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นตามหลกั สตู รสถานศึกษาสูงกวา่ เป้าหมายทสี่ ถานศกึ ษากำหนด 4 รอ้ ยละ 0-59 3 2 6) ผ้เู รยี นมคี วามรู้ ทกั ษะพน้ื ฐาน และเจตคตทิ ่ีดีต่องานอาชพี 1 เกณฑ์การพิจารณา คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ผเู้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติท่ีดีพร้อมทีจ่ ะศกึ ษาต่อในระดบั ชนั้ ทส่ี งู ขนึ้ และการทำงาน หรอื งานอาชีพ รอ้ ยละ 90-100 ผเู้ รียนมีความรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ่ดี ีพรอ้ มทีจ่ ะศึกษาตอ่ ในระดับชน้ั ทสี่ งู ข้นึ และการทำงาน หรืองานอาชีพ ร้อยละ 80-89 ผู้เรยี นมีความรู้ ทกั ษะพ้ืนฐาน และเจตคตทิ ี่ดพี รอ้ มท่ีจะศกึ ษาต่อในระดับชนั้ ทส่ี ูงขน้ึ และการทำงาน หรืองานอาชพี รอ้ ยละ 70-79 ผูเ้ รยี นมคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ีพร้อมทจ่ี ะศึกษาตอ่ ในระดบั ชนั้ ทส่ี ูงขึน้ และการทำงาน หรอื งานอาชพี รอ้ ยละ 60-69 ผ้เู รียนมคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคตทิ ี่ดพี รอ้ มที่จะศึกษาต่อในระดบั ชัน้ ทส่ี ูงขึน้ และการทำงาน หรืองานอาชีพ รอ้ ยละ 0-59 โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 20
1.2 คุณลกั ษณะทพี่ งึ ประสงคข์ องผู้เรียน ระดบั 1) การมีคณุ ลักษณะและคา่ นิยมทีด่ ีตามทีส่ ถานศกึ ษากำหนด คณุ ภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา 5 คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ 4 3 ผ้เู รียนมีคุณลกั ษณะและค่านิยมที่ดเี ปน็ แบบอยา่ งได้ ร้อยละ 90-100 ผู้เรียนมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมทดี่ เี ป็นแบบอย่างได้ ร้อยละ 80-89 2 ผู้เรียนมีคุณลักษณะและคา่ นยิ มทด่ี เี ปน็ แบบอยา่ งได้ รอ้ ยละ 70-79 1 ผู้เรียนมคี ณุ ลักษณะและค่านิยมที่ดเี ปน็ แบบอยา่ งได้ ร้อยละ 60-69 ผู้เรียนมคี ณุ ลักษณะและคา่ นิยมท่ีดเี ป็นแบบอยา่ งได้ รอ้ ยละ 0-59 2) ความภมู ิใจในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย ระดบั เกณฑ์การพจิ ารณา คณุ ภาพ คำอธิบายระดบั คุณภาพ 5 ผเู้ รียนมีความภมู ใิ จในทอ้ งถิน่ เหน็ คุณคา่ ของความเปน็ ไทย มีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรม 4 ประเพณีและภูมปิ ญั ญาไทย รอ้ ยละ 90-100 ผเู้ รียนมคี วามภูมิใจในทอ้ งถ่นิ เหน็ คณุ ค่าของความเป็นไทย มีส่วนรว่ มในการอนรุ ักษว์ ัฒนธรรม 3 ประเพณีและภูมปิ ญั ญาไทย ร้อยละ 80-89 ผู้เรยี นมคี วามภมู ใิ จในทอ้ งถ่นิ เหน็ คณุ คา่ ของความเปน็ ไทย มีส่วนรว่ มในการอนรุ กั ษ์วัฒนธรรม 2 ประเพณแี ละภมู ปิ ัญญาไทย รอ้ ยละ 70-79 ผู้เรียนมีความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ เหน็ คุณค่าของความเปน็ ไทย มีสว่ นร่วมในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรม 1 ประเพณีและภมู ปิ ญั ญาไทย รอ้ ยละ 60-69 ผเู้ รียนมีความภมู ใิ จในทอ้ งถิ่น เหน็ คณุ ค่าของความเปน็ ไทย มีสว่ นรว่ มในการอนรุ กั ษ์วฒั นธรรม ประเพณแี ละภมู ปิ ญั ญาไทย รอ้ ยละ 0-59 3) การยอมรบั ทจ่ี ะอยรู่ ว่ มกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ระดับ เกณฑ์การพจิ ารณา คณุ ภาพ คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ 5 4 ผเู้ รียนสามารถอยรู่ ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 90-100 ผเู้ รยี นสามารถอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ร้อยละ 80-89 โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 21
คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คุณภาพ ผเู้ รียนสามารถอยรู่ ่วมกันบนความแตกตา่ งและหลากหลาย ร้อยละ 70-79 ผ้เู รยี นสามารถอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ร้อยละ 60-69 3 ผู้เรียนสามารถอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย รอ้ ยละ 0-59 2 1 4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม ระดบั เกณฑก์ ารพจิ ารณา คุณภาพ คำอธิบายระดบั คุณภาพ 5 ผู้เรียนมสี ุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คมทีด่ อี ยู่เสมอ รอ้ ยละ 90-100 4 ผู้เรยี นมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสังคมทด่ี ีอยู่เสมอ ร้อยละ 80-89 3 ผู้เรยี นมสี ขุ ภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คมท่ดี อี ยเู่ สมอ รอ้ ยละ 70-79 ผเู้ รียนมสี ขุ ภาวะทางร่างกาย และจิตสังคมที่ดอี ยู่เสมอ รอ้ ยละ 60-69 2 ผู้เรยี นมสี ุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คมท่ีดีอยเู่ สมอ ร้อยละ 0-59 1 ระดับคุณภาพ ระดับ 5 ยอดเยีย่ ม รอ้ ยละ 90.00 – 100.00 ระดับ 4 ดเี ลิศ รอ้ ยละ 80.00 – 89.99 ระดับ 3 ดี ร้อยละ 70.00 – 79.99 ระดับ 2 ปานกลาง รอ้ ยละ 60.00 – 69.99 ระดบั 1 กำลังพัฒนา ร้อยละ 00.00 – 59.99 มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ ระดบั 1) มเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพนั ธกิจที่สถานศกึ ษากำหนดชดั เจน คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา 5 คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ 4 มเี ปา้ หมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชัดเจน สอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของสถานศึกษา ความตอ้ งการชุมชน นโยบายรฐั บาล แผนการศกึ ษาแห่งชาติ เป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ตั ิ ทนั ต่อการ เปลี่ยนแปลง มีเป้าหมายวิสยั ทัศน์และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน สอดคล้องกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล 22
คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดับ คุณภาพ ความตอ้ งการชมุ ชน นโยบายรฐั บาล แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ เป็นไปได้ในการปฏบิ ตั ิ มีเป้าหมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพนั ธกจิ ทสี่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน สอดคล้องกบั บรบิ ทของสถานศกึ ษา 3 เป็นไปได้ในการปฏิบัติ เปา้ หมายวสิ ยั ทัศนแ์ ละพันธกิจทีส่ ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน เป็นไปได้ในการปฏิบัติ 2 เป้าหมายวสิ ัยทศั นแ์ ละพันธกจิ ที่สถานศกึ ษากำหนดไม่ชัดเจน 1 2) มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ระดับ เกณฑ์การพิจารณา คุณภาพ คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ 5 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศึกษาท่ีชัดเจน มปี ระสทิ ธิภาพ สง่ ผลตอ่ คุณภาพตามมาตรฐาน 4 การศึกษาของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมือของผ้เู กยี่ วขอ้ งทกุ ฝา่ ย มกี ารนำขอ้ มลู มาใชใ้ นการปรบั ปรงุ 3 พฒั นางานอยา่ งต่อเน่ือง และเป็นแบบอย่างได้ 2 มีระบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษาที่ชดั เจน มปี ระสทิ ธภิ าพ สง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐาน 1 การศกึ ษาของสถานศกึ ษา โดยความรว่ มมือของผเู้ กย่ี วข้องทกุ ฝ่าย มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาทช่ี ดั เจน สง่ ผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศกึ ษาของ สถานศึกษา มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษาทีส่ ง่ ผลต่อคณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษาแต่ไมส่ ง่ ผลตอ่ คณุ ภาพตามมาตรฐานการศึกษาของ สถานศกึ ษา 3) ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทีเ่ นน้ คณุ ภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสตู รสถานศึกษา และทกุ กลุม่ เป้าหมาย เกณฑก์ ารพจิ ารณา คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คณุ ภาพ ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่เี นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศึกษาและทกุ กลมุ่ เป้าหมาย 5 เชือ่ มโยงกับชวี ิตจรงิ และเป็นแบบอยา่ งได้ ดำเนนิ งานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รยี นรอบด้านตามหลกั สตู รสถานศกึ ษาและทุกกล่มุ เป้าหมาย 4 โรงเรียนบ้านตะกดุ ภิบาล 23
คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คุณภาพ เช่ือมโยงกบั ชวี ติ จรงิ ดำเนนิ งานพฒั นาวชิ าการทเี่ นน้ คุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษาและทุกกลุ่มเปา้ หมาย 3 ดำเนินงานพัฒนาวชิ าการทเ่ี น้นคุณภาพผเู้ รียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 2 ดำเนินงานพฒั นาวิชาการทเ่ี น้นคณุ ภาพผเู้ รียนตามหลักสูตรสถานศกึ ษา 1 4) พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามเชย่ี วชาญทางวิชาชพี เกณฑ์การพิจารณา คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ ระดบั คณุ ภาพ พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวิชาชีพตรงตามความต้องการของครูและสถานศกึ ษา และ 5 จดั ให้มชี มุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชีพเพื่อพฒั นางาน พัฒนาครูและบคุ ลากรให้มีความเชยี่ วชาญทางวชิ าชีพตรงตามความตอ้ งการของครแู ละสถานศึกษา 4 พัฒนาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ 3 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามรู้ความสามารถตามมาตรฐานตำแหนง่ 2 พัฒนาครแู ละบุคลากรให้มคี วามรคู้ วามสามารถตามหน้าทที่ ไี่ ด้ครบทกุ คน 1 5) จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นร้อู ยา่ งมคี ณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คุณภาพ จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี ออ้ื ต่อการจดั การเรยี นรอู้ ย่างมคี ุณภาพ มคี วามปลอดภยั 5 และกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนใฝเ่ รียนรู้ทว่ั ถงึ ทกุ กลมุ่ เป้าหมาย จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อ้อื ตอ่ การจัดการเรียนรู้อยา่ งมคี ณุ ภาพ และมคี วามปลอดภัย 4 จดั สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสงั คมทเ่ี อ้ือตอ่ การจัดการเรยี นรู้อยา่ งมีคุณภาพ 3 จัดสภาพแวดลอ้ มทางกายภาพและสังคมทด่ี ี 2 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมไม่ดี และไมก่ ระตนุ้ ใหผ้ ูเ้ รยี นใฝเ่ รียนรู้ 1 โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 24
6) จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้ เกณฑ์การพิจารณา คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คุณภาพ จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื สนบั สนุนการบรหิ ารจัดการและการจัดการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกบั 5 สภาพของสถานศึกษา ทนั สมยั นำไปประยกุ ตใ์ ช้ได้ จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การและการจัดการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ 4 สภาพของสถานศกึ ษา จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและการจดั การเรียนรู้ 3 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทมี่ คี วามถูกตอ้ ง ครบถว้ น 2 จัดระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศทมี่ ีความถูกตอ้ ง 1 ระดับคุณภาพ ค่าเฉลี่ย 4.01-5.00 ระดบั 5 ยอดเย่ยี ม ค่าเฉลีย่ 3.01-4.00 ระดบั 4 ดเี ลิศ คา่ เฉลย่ี 2.01-3.00 ระดบั 3 ดี คา่ เฉลย่ี 1.01- 2.00 ระดบั 2 ปานกลาง คา่ เฉล่ยี 0.00-1.00 ระดบั 1 กำลงั พัฒนา มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผ้เู รยี นเปน็ สำคญั 1) จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ใน ชวี ิตได้ เกณฑ์การพจิ ารณา คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ ระดบั คณุ ภาพ จดั การเรยี นรผู้ า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชวี้ ดั ของหลกั สูตร 5 สถานศกึ ษา มีแผนการจดั การเรยี นรทู้ สี่ ามารถนำไปจดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ใน ชีวิตได้ มนี วตั กรรมในการจดั การเรยี นร้แู ละมีการเผยแพร่ รอ้ ยละ 90-100 จดั การเรียนรผู้ า่ นกระบวนการคิดและปฏบิ ตั จิ รงิ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ช้ีวัดของหลกั สตู ร 4 สถานศึกษา มแี ผนการจัดการเรยี นร้ทู ส่ี ามารถนำไปจดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น ชวี ิตได้ มีนวตั กรรมในการจัดการเรียนรู้และมีการเผยแพร่ รอ้ ยละ 80-89 โรงเรียนบา้ นตะกุดภบิ าล 25
คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คณุ ภาพ จัดการเรยี นรผู้ ่านกระบวนการคิดและปฏิบัตจิ รงิ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้วี ัดของหลกั สตู ร สถานศึกษา มีแผนการจัดการเรียนรู้ทสี่ ามารถนำไปจดั กิจกรรมไดจ้ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 3 ชวี ิตได้ มีนวัตกรรมในการจดั การเรยี นรู้และมีการเผยแพร่ รอ้ ยละ 70-79 จดั การเรียนร้ผู า่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวชี้วัดของหลกั สตู ร 2 สถานศกึ ษา มแี ผนการจดั การเรยี นรู้ทส่ี ามารถนำไปจดั กจิ กรรมไดจ้ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใช้ใน ชีวติ ได้ มีนวัตกรรมในการจัดการเรยี นรแู้ ละมกี ารเผยแพร่ รอ้ ยละ 60-69 1 จัดการเรียนรผู้ ่านกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ ตามมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ช้ีวัดของหลกั สตู ร สถานศกึ ษา มแี ผนการจัดการเรียนร้ทู สี่ ามารถนำไปจัดกจิ กรรมไดจ้ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ น ชวี ิตได้ มีนวตั กรรมในการจดั การเรยี นรู้และมกี ารเผยแพร่ รอ้ ยละ 0-59 2) ใช้สื่อ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ เ่ี อ้อื ต่อการเรียนรู้ ระดบั เกณฑก์ ารพิจารณา คุณภาพ คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ 5 ใช้สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ รวมทั้งภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินทเี่ ออื้ ตอ่ การเรียนรูโ้ ดยสรา้ ง 4 โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง รอ้ ยละ 90-100 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ รวมทั้งภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินทเี่ อื้อต่อการเรียนรู้โดยสร้าง 3 โอกาสให้ผเู้ รียนได้แสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ร้อยละ 80-89 ใช้สอ่ื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ รวมท้งั ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถิน่ ทเี่ อือ้ ตอ่ การเรยี นรโู้ ดยสร้าง 2 โอกาสใหผ้ เู้ รยี นไดแ้ สวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง ร้อยละ 70-79 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ รวมทง้ั ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่ินทเี่ อื้อต่อการเรยี นรู้โดยสร้าง 1 โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แสวงหาความรดู้ ้วยตนเอง ร้อยละ 60-69 ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรู้ รวมทัง้ ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นทเ่ี อ้ือต่อการเรยี นรู้โดยสรา้ ง โอกาสใหผ้ เู้ รียนได้แสวงหาความร้ดู ้วยตนเอง ร้อยละ 0-59 โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 26
3) มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก ระดับ เกณฑก์ ารพจิ ารณา คุณภาพ คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ 5 มกี ารบรหิ ารจดั การชัน้ เรยี นเชงิ บวก เดก็ รกั ทจ่ี ะเรยี นรู้ และเรยี นรู้ร่วมกนั อย่างมีความสขุ 4 รอ้ ยละ 90-100 มีการบรหิ ารจดั การชั้นเรยี นเชงิ บวก เดก็ รักทจ่ี ะเรียนรู้ และเรียนรูร้ ่วมกนั อย่างมคี วามสุข 3 ร้อยละ 80-89 มกี ารบรหิ ารจัดการช้นั เรยี นเชงิ บวก เดก็ รกั ทจี่ ะเรยี นรู้ และเรียนรู้ร่วมกันอยา่ งมคี วามสุข 2 รอ้ ยละ 70-79 มีการบรหิ ารจัดการชั้นเรยี นเชงิ บวก เด็กรักทจ่ี ะเรียนรู้ และเรยี นรู้ร่วมกันอยา่ งมีความสุข 1 รอ้ ยละ 60-69 มีการบรหิ ารจดั การชัน้ เรียนเชงิ บวก เดก็ รักทจี่ ะเรยี นรู้ และเรยี นรรู้ ว่ มกันอยา่ งมีความสขุ รอ้ ยละ 0-59 4) ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ และนำผลมาพัฒนาผเู้ รียน ระดับ เกณฑ์การพิจารณา คณุ ภาพ คำอธิบายระดบั คณุ ภาพ 5 ตรวจสอบและประเมินผเู้ รียนอยา่ งเปน็ ระบบ มีข้นั ตอนโดยใชเ้ คร่ืองมอื และวธิ ีการวัดและประเมินผลที่ 4 เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ให้ขอ้ มลู ย้อนกลบั แกผ่ เู้ รยี น และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน รอ้ ย ละ 90-100 3 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ มขี ัน้ ตอนโดยใช้เครื่องมอื และวธิ ีการวัดและประเมนิ ผลท่ี 2 เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรยี นรู้ ให้ขอ้ มูลยอ้ นกลบั แกผ่ เู้ รียน และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น รอ้ ย ละ 80-89 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเปน็ ระบบ มีขนั้ ตอนโดยใชเ้ ครื่องมอื และวิธีการวดั และประเมินผลที่ เหมาะสมกับเป้าหมายในการจัดการเรียนรู้ ใหข้ ้อมูลย้อนกลบั แก่ผเู้ รียน และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น รอ้ ย ละ 70-79 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอย่างเปน็ ระบบ มีขน้ั ตอนโดยใช้เครื่องมอื และวิธีการวดั และประเมินผลที่ เหมาะสมกบั เป้าหมายในการจดั การเรียนรู้ ให้ข้อมลู ยอ้ นกลบั แก่ผเู้ รียน และนำผลมาพฒั นาผเู้ รียน รอ้ ย ละ 60-69 โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบาล 27
คำอธบิ ายระดบั คณุ ภาพ ระดับ คุณภาพ ตรวจสอบและประเมินผเู้ รยี นอย่างเป็นระบบ มีข้ันตอนโดยใชเ้ ครื่องมอื และวธิ กี ารวัดและประเมนิ ผลท่ี เหมาะสมกบั เปา้ หมายในการจัดการเรยี นรู้ ใหข้ ้อมูลยอ้ นกลบั แก่ผเู้ รียน และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น รอ้ ย 1 ละ 0-59 5) มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และใหข้ ้อมูลสะทอ้ นกลบั เพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ ระดับ การจดั การเรียนรู้ คุณภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา 5 คำอธบิ ายระดบั คุณภาพ 4 มีชมุ ชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาชพี ระหว่างครแู ละผเู้ ก่ยี วข้องเพื่อพฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรียนรู้ ครู และผเู้ กี่ยวขอ้ งมกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรู้และใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพื่อพฒั นาและปรับปรงุ การจดั การ 3 เรียนรู้ ร้อยละ 90-100 มชี ุมชนแห่งการเรียนรทู้ างวิชาชพี ระหว่างครูและผู้เก่ียวข้องเพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การเรยี นรู้ 2 ครู และผเู้ กย่ี วขอ้ งมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรับปรงุ การจัดการ เรียนรู้ ร้อยละ 80-89 1 มชี มุ ชนแหง่ การเรยี นรู้ทางวิชาชีพระหวา่ งครูและผเู้ กยี่ วข้องเพ่อื พฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการเรยี นรู้ ครู และผเู้ กย่ี วข้องมกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพ่ือพฒั นาและปรบั ปรงุ การจัดการ เรยี นรู้ รอ้ ยละ 70-79 มีชุมชนแห่งการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพระหว่างครูและผเู้ ก่ยี วขอ้ งเพอื่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรียนรู้ ครู และผเู้ กีย่ วข้องมกี ารแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การจดั การ เรยี นรู้ ร้อยละ 60-69 มชี มุ ชนแหง่ การเรียนรูท้ างวชิ าชพี ระหวา่ งครูและผเู้ ก่ยี วข้องเพ่ือพฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ครู และผเู้ กย่ี วขอ้ งมกี ารแลกเปลีย่ นเรยี นรแู้ ละใหข้ อ้ มลู สะทอ้ นกลบั เพอื่ พฒั นาและปรับปรงุ การจดั การ เรียนรู้ รอ้ ยละ 0-59 ระดับคณุ ภาพ ระดับ 5 ยอดเยยี่ ม ร้อยละ 90.00 – 100.00 ระดบั 4 ดเี ลศิ รอ้ ยละ 80.00 – 89.99 ระดับ 3 ดี ระดบั 2 ปานกลาง ร้อยละ 70.00 – 79.99 ระดับ 1 กำลงั พัฒนา ร้อยละ 60.00 – 69.99 รอ้ ยละ 00.00 – 59.99 โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล 28
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั แนบท้ายประกาศโรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล เร่อื ง ใหใ้ ช้มาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน ระดบั ปฐมวยั และระดบั การศึกษาขึ้นพน้ื ฐาน เพ่ือการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ฉบบั ลงวนั ท่ี 15 เดอื นมถิ นุ ายน พ.ศ. 2564 ............................. มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั พ.ศ.2564 มจี ำนวน 3 มาตรฐาน ไดแ้ ก่ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของเด็ก มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ มาตรฐานที่ 3 การจัดประสบการณท์ เ่ี นน้ เด็กเป็นสำคญั แตล่ ะมาตรฐานมีรายละเอยี ด ดงั น้ี มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรยี น ๑.๑ มีพฒั นาการดา่ นรา่ งกาย แขง็ แรง มสี ุขนิสยั ท่ดี ี และดแู ลความปลอดภยั ของตนเอง ได้ ๑.๒ มพี ัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ๑.๓ มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเปน็ สมาชิกที่ดขี องสังคม ๑.๔ มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มีทักษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรไู้ ด้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 2.1 มหี ลกั สตู รครอบคลมุ พฒั นาการทง้ั 4 ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถิน่ 2.2 จัดครใู หเ้ พียงพอกับชนั้ เรยี น 2.3 สง่ เสรมิ ให้ครมู คี วามเช่ยี วชาญดา้ นการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดล้อมและส่อื เพ่อื การเรียนรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ใหบ้ รกิ ารสื่อเทคโนโลยสี ารสนเทศและสอื่ การเรยี นรเู้ พอื่ สนบั สนุนการจัด ประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบรหิ ารคณุ ภาพท่เี ปิดโอกาสใหผ้ ู้เกี่ยวข้องทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ ม มาตรฐานท่ี 3 การจดั ประสบการณ์ท่เี นน้ เด็กเปน็ สำคญั 3.1 จัดประสบการณ์ทสี่ ง่ เสริมให้เด็กมพี ฒั นาการทกุ ด้านอย่างสมดลุ เตม็ ศักยภาพ 3.2 สรา้ งโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบตั ิอยา่ งมีความสุข 3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี อื้อตอ่ การเรยี นรู้ ใชส้ ือ่ และเทคโนโลยีท่เี หมาะสมกบั วัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำผลการประเมินพัฒนาการเดก็ ไป ปรบั ปรงุ การจัดประสบการณแ์ ละพฒั นาเดก็ โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 29
ระดบั การศกึ ษาปฐมวยั คา่ เปา้ หมาย มาตรฐาน มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ระดับดีเลิศ ระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก ๑.๑ มพี ฒั นาการดา้ นร่างกาย แข็งแรง มีสขุ นิสัยทด่ี ี และดูแลความความปลอดภัยของ ร้อยละ ๘๐ ร้อยละ ๘๕ ตนเองได้ ร้อยละ ๘๕ ๑. เดก็ มนี ำ้ หนกั ส่วนสงู ตามเกณฑม์ าตรฐาน รอ้ ยละ ๘๕ ๒. เด็กสามารถเคลอ่ื นไหวรา่ งกายคล่องแคล่ว ทรงตัวได้ดี ร้อยละ ๘๕ ๓. เด็กสามารถใชม้ อื และตาประสานสมั พันธ์ไดด้ ี ๔. เด็กสามารถดแู ลสขุ ภาพอนามยั สว่ นตนและปฏบิ ตั ิจนเปน็ นสิ ยั ระดับดเี ลิศ ๕. เดก็ สามารถปฏบิ ตั ิตนตามขอ้ ตกลงเก่ียวกบั ความปลอดภัย หลกี เลีย่ งสภาวะที่ รอ้ ยละ ๘๕ เสี่ยงตอ่ โรค ส่งิ เสพติด และระวงั ภยั ต่อบคุ คล สภาพแวดล้อม และสถานการณ์ท่ี รอ้ ยละ ๘๕ เสยี่ งอนั ตราย ๑.๒ มพี ฒั นาการดา้ นอารมณ์จติ ใจ ควบคุมและแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ รอ้ ยละ ๘๐ ๑. เดก็ รา่ เรงิ แจม่ ใส แสดงอารมณค์ วามรสู้ กึ ได้เหมาะสม ๒. เดก็ รจู้ กั ยบั ย้งั ช่ังใจ อดทนในการรอคอย ยอมรบั และพอใจในความสามารถ รอ้ ยละ ๘๕ และผลงานของตนเองและผู้อื่น ระดบั ดเี ลิศ ๓. เดก็ มจี ิตสำนึกและคา่ นยิ มทด่ี ี มคี วามม่ันใจ กลา้ พูด กลา้ แสดงออก ร้อยละ ๘๕ รอ้ ยละ ๘๕ ช่วยเหลอื แบ่งปัน เคารพสทิ ธิ รหู้ น้าทร่ี บั ผิดชอบ อดทนอดกลั้น ซื่อสตั ย์ ร้อยละ ๘๕ สจุ ริต มีคณุ ธรรม จริยธรรมตามทส่ี ถานศกึ ษากำหนด รอ้ ยละ ๘๕ ๔. ร้อยละของเดก็ ช่ืนชมและมีความสุขกบั ศิลปะ ดนตรี และการเคลอื่ นไหว ๑.๓ มีพัฒนาการด้านสงั คม ช่วยเหลอื ตนเอง และเป็นสมาชกิ ทดี่ ขี องสงั คม รอ้ ยละ ๘๕ ๑. เด็กช่วยเหลอื ตนเองในการปฏบิ ัติกจิ วตั รประจำวนั ร้อยละ ๘๕ ๒. เดก็ มีวินยั ในตนเอง ประหยัดและพอเพยี ง ๓. เดก็ มีสว่ นร่วมดแู ลรกั ษาสง่ิ แวดลอ้ มในและนอกหอ้ งเรียน ระดับดเี ลศิ ๔. เดก็ มีมารยาทตามวัฒนธรรมไทย เชน่ การไหว้ การยิม้ ทกั ทาย และมี สมั มาคารวะกบั ผู้ใหญ่ ๕. เด็กยอมรบั หรือเคารพความแตกต่างระหวา่ งบคุ คล เช่น ความคิด พฤติกรรม พืน้ ฐานครอบครวั เชอ่ื ชาติ ศาสนา วฒั นธรรม ๖. เด็กเลน่ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ ได้ แกไ้ ขข้อขดั แยง้ โดยปราศจากการใช้ ความรนุ แรง ๑.๔ มีพัฒนาการดา้ นสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มที ักษะการคิดพ้ืนฐานและแสวงหาความรู้ได้ โรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล 30
มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน ๑. เด็กสนทนาโต้ตอบและเลา่ เรอื่ งให้ผู้อื่นเขา้ ใจ รอ้ ยละ ๘๐ ๒. เดก็ ตั้งคำถามในในส่งิ ทต่ี นเองสนใจหรอื สงสัยและพยายามค้นหาคำตอบ ร้อยละ ๘๐ ๓. เด็กอ่านนทิ านและเลา่ เร่ืองทต่ี นเองอา่ นไดเ้ หมาะสมกับวยั รอ้ ยละ ๘๐ ๔. เดก็ มคี วามสามารถในการคิดรวบยอด การคิดเชิงเหตุผลทางคณิตศาสตร์ ร้อยละ ๘๐ และวิทยาศาสตร์ การคิดแก้ปัญหาและสามารถตดั สินใจในเรอ่ื งงา่ ยๆ ได้ ๕. เดก็ สรา้ งสรรคผ์ ลงานตามความคิดและจนิ ตนาการ เชน่ งานศลิ ปะ ร้อยละ ๘๕ การเคล่ือนไหวทา่ ทาง การเลน่ อสิ ระ ๖. เดก็ ใช้สือ่ เทคโนโลยี เชน่ แวน่ ขยาย แมเ่ หลก็ กลอ้ งดจิ ติ อล เป็นเครื่องมอื รอ้ ยละ ๘๕ ในการเรียนรู้และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ระดบั ดีเลศิ ๒.๑ มีหลกั สูตรครอบคลมุ พฒั นาการทงั้ ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถิ่น ระดบั ดเี ลิศ ๑. สถานศึกษามหี ลักสตู รสถานศกึ ษาที่ยดื หยุ่น และสอดคลอ้ งกบั หลักสูตร ระดบั ดเี ลศิ การศกึ ษาปฐมวยั ๒. สถานศกึ ษาออกแบบการจดั ประสบการณ์ทเ่ี ตรยี มความพร้อมและไมเ่ รง่ รัด ระดับดเี ลิศ วชิ าการ เน้นการเรียนรผู้ ่านการเลน่ และการปฏบิ ัติ ตอบสนองความ ตอ้ งการและความแตกต่างของเดก็ ปกตแิ ละกลมุ่ เป้าหมายเฉพาะและ สอดคล้องกบั วถิ ีชีวิตของครอบครวั ชมุ ชนและท้องถ่นิ ๒.๒ จัดครูใหเ้ พยี งพอกับชั้นเรยี น ระดับดเี ลศิ สถานศึกษาจดั ครใู ห้เหมาะสมกบั ภาระการเรียนการสอนหรือจดั ครทู จ่ี บ การศึกษาปฐมวยั หรือผา่ นการอบรมการศกึ ษาปฐมวัยอยา่ งพอเพียงกบั ช้นั เรยี น ๒.๓ ส่งเสริมใหค้ รูมคี วามเช่ยี วชาญด้านการจัดประสบการณ์ ระดบั ดเี ลิศ ๑. สถานศกึ ษาพฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถในการวเิ คราะห์ ระดบั ดเี ลศิ และออกแบบหลกั สูตรสถานศกึ ษามที ักษะในการจัดประสบการณ์และ ประเมนิ พฒั นาการณเ์ ด็ก ใชป้ ระสบการณส์ ำคญั ในการออกแบบการจัดกจิ กรรม ๒. สถานศึกษาสง่ เสรมิ ใหค้ รมู กี ารสังเกตและประเมนิ พฒั นาการเด็กเปน็ รายบุคคล ระดบั ดเี ลิศ ๓. สถานศกึ ษาส่งเสรมิ ให้ครมู ีปฏิสมั พันธท์ ดี่ กี บั เด็กและครอบครวั ระดับดเี ลิศ ๒.๔ จัดสภาพแวดลอ้ มและสื่อเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภยั และพอเพียง ระดบั ดเี ลศิ ๑. สถานศกึ ษาจดั สภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรยี นท่คี ำนงึ ถงึ ความปลอดภัย ระดับดเี ลิศ ๒. สถานศึกษาส่งเสรมิ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้เป็นรายบคุ คลและกลุ่ม เลน่ แบบ ระดับดเี ลิศ รว่ มมือร่วมใจ โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 31
มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา คา่ เปา้ หมาย มาตรฐาน ๓. สถานศึกษาจัดให้มมี มุ ประสบการณ์หลากหลาย มสี ื่อการเรียนรู้ ระดับดเี ลิศ เชน่ ของเล่น หนังสอื นทิ าน ส่อื จากธรรมชาติ ส่ือสำหรับเดก็ มดุ ลอด ปีนป่าย สื่อเทคโนโลยี สือ่ เพื่อการสบื เสาะหาความรู้ ๒.๕ ใหบ้ รกิ ารสอ่ื เทคโนโลยีสารสนเทศและส่อื การเรยี นรู้เพ่อื สนบั สนุนการจัดประสบการณ์ ระดบั ดเี ลิศ สถานศกึ ษาอำนวยความสะดวก และใหบ้ รกิ ารส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ วสั ดุ และอุปกรณเ์ พอื่ สนบั สนุนการจัดประสบการณ์และพฒั นาครู ๒.๖ มีระบบบรหิ ารคณุ ภาพท่ีเปดิ โอกาสใหผ้ ูเ้ กีย่ วขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ว่ นร่วม ระดับดเี ลศิ ๑. สถานศึกษากำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษาทสี่ อดคลอ้ งกบั ระดบั ดเี ลิศ มาตรฐานการศกึ ษาปฐมวัย และอัตลักษณท์ ี่สถานศึกษากำหนดจดั ทำ แผนพัฒนาการศกึ ษาของสถานศึกษาท่ีสอดรบั กับมาตรฐานที่สถานศึกษา กำหนดและดำเนินการตามแผน ๒. สถานศกึ ษามกี ารประเมินผลและการตรวจสอบคุณภาพภายใน ระดบั ดเี ลศิ สถานศกึ ษา ติดตามผลการดำเนินงานและจดั ทำรายงานผลการประเมนิ ตนเองประจำปี นำผลการประเมินไปปรับปรงุ และพัฒนาคุณภาพ สถานศกึ ษา โดยผ้ปู กครองและผ้เู กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ยมสี ่วนรว่ มและจัดสง่ รายงานผลการประเมนิ ตนเองใหห้ น่วยงานตน้ สงั กัด มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็นสำคญั ระดบั ดีเลิศ ๓.๑ จัดประสบการณท์ ีส่ ง่ เสรมิ ใหเ้ ดก็ มีพฒั นาการทุกด้านอยา่ งสมดลุ เตม็ ศักยภาพ ระดบั ดเี ลศิ ๑. ครวู ิเคราะห์ข้อมลู เดก็ เปน็ รายบุคคล ระดับดเี ลศิ ๒. ครูจัดทำแผนการจดั ประสบการณจ์ ากการวเิ คราะหม์ าตรฐานคุณลกั ษณะ ระดับดเี ลศิ ทีพ่ งึ ประสงค์ในหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยมกี ิจกรรมทส่ี ่งเสริมพฒั นาการ ของเด็กครบทุกด้านทงั้ ด้านรา่ งกาย ด้านอารมณ์ จติ ใจ ด้านสงั คม และด้านสตปิ ญั ญา ไม่เนน้ การพฒั นาด้านใดด้านหนึ่งเพียงด้านเดยี ว ๓.๒ สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดร้ บั ประสบการณต์ รง เลน่ และปฏิบัติอย่างมคี วามสุข ระดับดเี ลิศ ๑. ครูจดั ประสบการณท์ เ่ี ชื่อมโยงกบั ประสบการณ์เดมิ ระดับดเี ลศิ ๒. ครใู หเ้ ดก็ มโี อกาสเลอื กทำกจิ กรรมอย่างอิสระตามความตอ้ งการ ความสนใจ ระดบั ดเี ลิศ ความสามารถ ตอบสนองต่อวธิ กี ารเรยี นรขู้ องเดก็ เป็นรายบคุ คลหลากหลาย รูปแบบ จากแหล่งเรยี นรูท้ หี่ ลากหลาย เดก็ ได้เลอื กเลน่ เรยี นรู้ ลงมอื กระทำ และสร้างองค์ ความร้ดู ว้ ยตนเอง โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 32
มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน ๓.๓ จดั บรรยากาศท่เี อ้ือตอ่ การเรียนรูใ้ ช้สื่อและเทคโนโลยที ่ีเหมาะสมกบั วัย ระดับดเี ลิศ ๑. ครูจดั หอ้ งเรียนสะอาด อากาศถ่ายเท ปลอดภัย มพี ืน้ ท่ีแสดงผลงานเด็ก ระดบั ดเี ลศิ พ้ืนท่ีสำหรบั มุมประสบการณแ์ ละการจัดกจิ กรรม เด็กมีสว่ นร่วมในการ จัดสภาพแวดล้อมในหอ้ งเรยี น เชน่ ป้ายนิเทศ การดแู ลต้นไม้ เปน็ ตน้ ๒. ครใู ชส้ อื่ เทคโนโลยที เ่ี หมาะสมกับกับชว่ งอายุ ระยะความสนใจ ระดบั ดเี ลิศ และวถิ ีการเรยี นรู้ของเดก็ เชน่ กลอ้ งดจิ ิตอล คอมพิวเตอรส์ ำหรับการ เรยี นรู้กลมุ่ ย่อย ส่อื กระตุน้ ที่ใหค้ ิดและหาคำตอบ ๓.๔ ประเมนิ พฒั นาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมนิ พฒั นาการเด็กไป ระดับดเี ลศิ ปรับปรงุ การจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาการเด็ก ๑. ครูประเมินพฒั นาการเดก็ จากกจิ กรรมและกจิ วัตรประจำวันด้วยเคร่ืองมอื ระดับดเี ลิศ และวธิ กี ารท่ีหลากหลาย ไม่ใชแ้ บบทดสอบ วเิ คราะหผ์ ล การประเมิน พัฒนาการเด็ก โดยผปู้ กครองและผเู้ กีย่ วข้องมสี ่วนรว่ ม ๒. ครนู ำผลการประเมินทไ่ี ดไ้ ปพฒั นาคุณภาพเดก็ และแลกเปลยี่ นเรยี นรู้การ จัด ระดับดเี ลิศ ประสบการณ์ทมี่ ีประสทิ ธิภาพ ตารางเทียบเคียง ระดบั คุณภาพ คา่ รอ้ ยละ ระดับกำลงั พัฒนา น้อยกว่ารอ้ ยละ 60.00 ระดบั ปานกลาง ร้อยละ 60.00 - 69.99 ร้อยละ 70.00 - 79.99 ระดบั ดี ร้อยละ 80.00 - 89-99 ระดบั ดเี ลิศ รอ้ ยละ 90.00 ข้ึนไป ระดบั ยอดเยี่ยม โรงเรยี นบา้ นตะกุดภิบาล 33
1.3 สถานศึกษามกี ารกำหนดเป้าประสงค์ด้านคุณภาพการจัดการศึกษาในระยะ 3-5 ปี และ สอดคลอ้ งกบั วิสัยทัศน์ พนั ธกิจ ค่านยิ ม และความโดดเดน่ เฉพาะของสถานศึกษา การกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาข้นั พน้ื ฐาน เพื่อการประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล เรือ่ ง กำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน เพ่ือการประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ............................................................. ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน / ประเดน็ การพจิ ารณา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปีการศกึ ษา 2562 2563 2564 มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดีเลิศ ดเี ลศิ ดเี ลิศ ประเด็นหลกั ที่ 1 ผลสัมฤทธ์ิทางวชิ าการของผู้เรียน ดีเลิศ ดีเลิศ ดเี ลศิ 1) มีความสามารถในการอา่ น การเขยี น การส่ือสาร และการคดิ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ดเี ลศิ คำนวณ 2) มีความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ คดิ อย่างมีวิจารณญาณ ดีเลิศ ดเี ลศิ ดีเลศิ อภิปรายแลกเปล่ียน ความคดิ เห็น และแก้ปญั หา 3) มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม ดีเลศิ ดีเลศิ ดี 4) มคี วามสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร ดเี ลศิ ดีเลศิ ดเี ลิศ 5) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสูตรสถานศึกษา ดเี ลศิ ดีเลิศ ดีเลศิ 6) มคี วามรู้ ทักษะพนื้ ฐาน และเจตคติทด่ี ีตอ่ งานอาชพี ดเี ลศิ ดเี ลศิ ดีเลศิ ประเด็นหลกั ท่ี 2. คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผ้เู รยี น 1) การมคี ุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดตี ามทสี่ ถานศึกษากำหนด ดีเลิศ ดเี ลิศ ดีเลิศ 2) ความภมู ใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเปน็ ไทย ดีเลศิ ดีเลศิ ดเี ลศิ 3) การยอมรับท่จี ะอยรู่ ่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดเี ลิศ 4) สขุ ภาวะทางร่างกาย และจติ สังคม ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจดั การ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ดเี ลศิ 2.1 มเี ป้าหมายวิสัยทศั น์และพนั ธกจิ ทส่ี ถานศกึ ษากำหนดชดั เจน ดีเลศิ ดเี ลศิ ดีเลศิ 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจัดการคณุ ภาพของสถานศกึ ษา ดเี ลศิ ดีเลศิ ดเี ลิศ โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 34
คา่ เปา้ หมาย มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ปีการศกึ ษา ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา 2562 2563 2564 2.3 ดำเนินงานพฒั นาวชิ าการทีเ่ น้นคณุ ภาพผเู้ รียนรอบดา้ นตาม ดเี ลิศ ดีเลิศ ดเี ลศิ หลกั สตู รสถานศกึ ษา และทกุ กลมุ่ เปา้ หมาย 2.4 พฒั นาครูและบุคลากรใหม้ ีความเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดเี ลิศ 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเี่ อ้อื ต่อการจดั การ ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดีเลิศ เรยี นรู้อยา่ งมีคณุ ภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนบั สนนุ การบรหิ าร ดเี ลศิ ดเี ลศิ ดเี ลศิ จัดการและ การจัดการเรียนรู้ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรยี น ดเี ลศิ ดีเลิศ ดเี ลิศ เปน็ สำคัญ 3.1 จดั การเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบัตจิ รงิ และสามารถ ดีเลิศ ดเี ลิศ ดเี ลศิ นำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ 3.2 ใช้ส่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรียนรู้ทเ่ี ออ้ื ต่อการ ดมี าก ดีมาก ดเี ลศิ เรียนรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรียนเชงิ บวก ดีมาก ดมี าก ดีเลศิ 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมา ดีมาก ดมี าก ดเี ลศิ พฒั นาผเู้ รียน 3.5 มกี ารแลกเปล่ียนเรยี นรูแ้ ละให้ข้อมลู สะทอ้ นกลบั เพอ่ื พฒั นา ดีมาก ดีมาก ดีเลิศ และปรบั ปรงุ การจัดการเรียนรู้ หมายเหตุ การกำหนดค่าเป้าหมาย ในมาตรฐานที่ 1 และ 3 กำหนดเป็นร้อยละ เทียบระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพ่ือให้สอดคล้องกบั การประเมิน ดงั นี้ รอ้ ยละ 90.00 – 100.00 ระดับ 5 ยอดเย่ียม รอ้ ยละ 80.00 – 89.99 ระดับ 4 ดีเลศิ ร้อยละ 70.00 – 79.99 ระดับ 3 ดี ร้อยละ 50.00 – 69.99 ระดบั 2 ปานกลาง รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 ระดับ 1 กำลังพัฒนา ส่วนการกำหนดค่าเป้าหมาย ในมาตรฐานที่ 2 กำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ โรงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล 35
เพอ่ื ให้สอดคลอ้ งกบั การประเมนิ ดังน้ี ระดบั 5 ยอดเยี่ยม ระดบั 4 ดีเลิศ ค่าเฉล่ยี 4.01-5.00 ระดับ 3 ดี คา่ เฉล่ยี 3.01-4.00 คา่ เฉลยี่ 2.01-3.00 ระดบั 2 ปานกลาง ระดบั 1 กำลังพัฒนา คา่ เฉลี่ย 1.01- 2.00 ค่าเฉลี่ย 0.00-1.00 การกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ระดบั ปฐมวัย มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพของเด็ก ๑.1) มีพฒั นาการด้านร่างกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ทีด่ ี และดูแลความปลอดภยั ของตนเองได้ ๑.2) มีพัฒนาการดา้ นอารมณ์ จติ ใจ ควบคมุ และแสดงออกทางอารมณไ์ ด้ ๑.๓) มพี ัฒนาการดา้ นสงั คม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชกิ ที่ดขี องสงั คม ๑.4) มพี ัฒนาการดา้ นสตปิ ัญญา สือ่ สารได้ มที กั ษะการคดิ พนื้ ฐาน และแสวงหาความรูไ้ ด้ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ 2.1 มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทงั้ ๔ ดา้ น สอดคล้องกบั บรบิ ทของท้องถิ่น 2.2 จัดครใู หเ้ พียงพอกบั ชัน้ เรยี น 2.3 ส่งเสรมิ ใหค้ รูมคี วามเชยี่ วชาญด้านการจัดประสบการณ์ 2.4 จัดสภาพแวดลอ้ มและสอ่ื เพอ่ื การเรยี นรู้ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ให้บริการส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศและส่อื การเรียนร้เู พื่อสนบั สนุนการจัดประสบการณ์ 2.6 มรี ะบบบริหารคณุ ภาพทเี่ ปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ ก่ียวขอ้ งทกุ ฝ่ายมสี ่วนรว่ ม มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ เ่ี น้นเดก็ เป็นสำคัญ 3.1 จัดประสบการณ์ทีส่ ง่ เสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการทกุ ด้านอยา่ งสมดุลเต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสให้เดก็ ไดร้ บั ประสบการณ์ตรง เล่นและปฏบิ ัติอย่างมคี วามสขุ 3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี อือ้ ต่อการเรียนรูใ้ ชส้ อื่ และเทคโนโลยที ีเ่ หมะสมกับวัย 3.4 ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและนำผลการประเมินพัฒนาการเด็กไปปรับปรุง การจดั ประสบการณ์และพัฒนาเด็ก โรงเรยี นบ้านตะกุดภิบาล 36
การกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั เพ่อื การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศกึ ษา แนบทา้ ยประกาศโรงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล เร่อื ง กำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ระดบั ปฐมวัย เพือ่ การประกันคณุ ภาพภายในของสถานศึกษา ………………………………………………. ค่าเปา้ หมาย มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ปีการศกึ ษา ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา 2562 2563 2564 มาตรฐานที่ 1 ของเดก็ ดเี ลศิ ดเี ลศิ ดีเลศิ 1.1 มพี ฒั นาการด้านรา่ งกาย แขง็ แรง มีสุขนสิ ยั ที่ ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลศิ ดี และดูแลความปลอดภัยของตนเองได้ 1.2 มพี ฒั นาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคมุ และ ดีเลศิ ดีเลิศ ดเี ลิศ แสดงออกทางอารมณ์ได้ 1.3 มีพฒั นาการด้านสงั คม ชว่ ยเหลือตนเอง และ ดเี ลิศ ดเี ลศิ ดเี ลิศ เป็นสมาชิกท่ดี ขี องสงั คม 1.4 มีพฒั นาการด้านสตปิ ญั ญา สอื่ สารได้ มี ดเี ลิศ ดเี ลศิ ดีเลิศ ทักษะการคิดพ้ืนฐาน และแสวงหาความรู้ได้ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการ ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดีเลศิ จดั การ 2.1 มหี ลักสตู รครอบคลุมพฒั นาการทัง้ ๔ ด้าน ดีเลิศ ดเี ลศิ ดีเลศิ สอดคลอ้ งกบั บริบทของทอ้ งถนิ่ 2.2 จดั ครูให้เพยี งพอกบั ชั้นเรียน ดีเลศิ ดีเลศิ ดเี ลิศ 2.3 สง่ เสรมิ ใหค้ รมู คี วามเช่ียวชาญดา้ นการจัด ดีเลิศ ดีเลศิ ดีเลศิ ประสบการณ์ 2.4 จดั สภาพแวดล้อมและสอ่ื เพอื่ การเรียนรู้ ดเี ลิศ ดีเลิศ ดีเลศิ อยา่ งปลอดภัย และเพียงพอ 2.5 ใหบ้ รกิ ารสอื่ เทคโนโลยสี ารสนเทศและสือ่ การ ดเี ลิศ ดเี ลิศ ดเี ลิศ เรียนร้เู พ่อื สนบั สนนุ การจดั ประสบการณ์ 2.6 มีระบบบริหารคุณภาพทเี่ ปดิ โอกาสให้ ดเี ลศิ ดีเลศิ ดีเลิศ ผู้เก่ียวขอ้ งทุกฝ่ายมสี ่วนรว่ ม โรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภบิ าล 37
มาตรฐาน / ประเด็นการพจิ ารณา ปกี ารศกึ ษา ค่าเปา้ หมาย ปีการศึกษา 2562 ปีการศึกษา 2564 มาตรฐานที่ 3 การจดั ประสบการณท์ ี่เนน้ เด็กเป็น ดเี ลศิ ดเี ลิศ สำคัญ 2563 3.1 จดั ประสบการณท์ ่สี ง่ เสรมิ ให้เดก็ มพี ฒั นาการ ดีเลิศ ดีเลิศ ดีเลศิ ทุกดา้ นอย่างสมดลุ เต็มศักยภาพ 3.2 สร้างโอกาสใหเ้ ดก็ ไดร้ ับประสบการณต์ รง เลน่ ดเี ลิศ ดเี ลศิ ดเี ลศิ และปฏบิ ตั ิอยา่ งมคี วามสุข 3.3 จดั บรรยากาศทเ่ี ออ้ื ตอ่ การเรยี นรใู้ ชส้ ่อื และ ดีเลิศ ดีเลศิ ดีเลศิ เทคโนโลยีที่เหมะสมกับวัย 3.4 ประเมินพฒั นาการเดก็ ตามสภาพจรงิ และนำ ดีเลศิ ดีเลิศ ดเี ลิศ ผลการประเมนิ พฒั นาการเดก็ ไปปรบั ปรุงการจัด ประสบการณแ์ ละพัฒนาเด็ก ดีเลศิ การกำหนดคา่ เปา้ หมาย 1. ศึกษาข้อมูลเดิม ผลการประเมินต่างๆทผี่ า่ นมา เพ่อื เป็นข้อมลู ฐานในการกำหนดคา่ เปา้ หมาย 2. การกำหนดค่าเป้าหมาย แต่ละมาตรฐาน ควรกำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพื่อให้ สอดคล้องกับการประเมิน ดังน้ี รอ้ ยละ 90.00 – 100.00 ระดบั 5 ยอดเย่ยี ม รอ้ ยละ 80.00 – 89.99 ระดับ 4 ดีเลิศ ร้อยละ 70.00 – 79.99 ระดับ 3 ดี รอ้ ยละ 50.00 – 69.99 ระดบั 2 ปานกลาง รอ้ ยละ 00.00 – 49.99 ระดับ 1 กำลังพฒั นา 3. การกำหนดค่าเป้าหมาย ในแต่ละประเด็นพิจารณา จะกำหนดเป็นระดับคุณภาพ หรือ เปน็ รอ้ ยละ ตามความเหมาะสมกับบรบิ ทของสถานศกึ ษา 1.4 สถานศึกษามกี ารกำหนดและทบทวน ปรับเปล่ียนเป้าหมายคุณภาพรายปที ี่แสดงถึงความท้า ทายต่อการพัฒนาคุณภาพตาม มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาโดยการมสี ่วนร่วมของบุคลากรทุกฝ่าย ของสถานศกึ ษาและผทู้ ม่ี ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบาล 38
การกำหนดคา่ เปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน เพ่อื การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา แนบท้ายประกาศโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล เรื่อง กำหนดค่าเปา้ หมายตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา ปีการศึกษา 2563 ระดับการศึกษาขนั้ พื้นฐาน เพือ่ การประกนั คณุ ภาพภายในของสถานศึกษา มาตรฐาน / ประเด็นการพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ปีการศึกษา2563 มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของผูเ้ รยี น ดีเลศิ ดเี ลิศ ประเดน็ หลักท่ี 1 ผลสัมฤทธท์ิ างวชิ าการของผู้เรียน ดีเลศิ 1) มีความสามารถในการอ่าน การเขยี น การส่อื สาร และการคดิ คำนวณ ดีเลิศ 2) มคี วามสามารถในการคดิ วิเคราะห์ คดิ อย่างมวี จิ ารณญาณ อภิปรายแลกเปลยี่ น ความคดิ เหน็ ดีเลิศ และแกป้ ญั หา ดเี ลิศ 3) มีความสามารถในการสร้างนวัตกรรม ดเี ลิศ ดีเลิศ 4) มีความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สาร ดีเลิศ 5) มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา ดีเลิศ ดีเลิศ 6) มีความรู้ ทักษะพ้นื ฐาน และเจตคตทิ ดี่ ตี อ่ งานอาชีพ ดเี ลิศ ประเด็นหลักที่ 2. คณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค์ของผเู้ รยี น ดเี ลิศ ดเี ลิศ 1) การมีคุณลกั ษณะและค่านยิ มที่ดตี ามทสี่ ถานศกึ ษากำหนด ดีเลิศ 2) ความภูมใิ จในทอ้ งถน่ิ และความเป็นไทย ดีเลิศ 3) การยอมรับทีจ่ ะอยรู่ ว่ มกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย ดเี ลศิ 4) สุขภาวะทางรา่ งกาย และจิตสงั คม ดเี ลศิ มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดีเลิศ ดีเลิศ 2.1 มเี ป้าหมายวิสัยทศั นแ์ ละพันธกจิ ทส่ี ถานศึกษากำหนดชดั เจน 2.2 มรี ะบบบรหิ ารจดั การคณุ ภาพของสถานศึกษา 2.3 2.3 ดำเนนิ งานพัฒนาวชิ าการทเ่ี นน้ คณุ ภาพผเู้ รยี นรอบดา้ นตามหลักสตู รสถานศกึ ษา และทุก กลุ่มเปา้ หมาย 2.4 พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเชย่ี วชาญทางวชิ าชพี 2.5 จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทเ่ี ออื้ ต่อการจดั การเรียนร้อู ยา่ งมคี ณุ ภาพ 2.6 จดั ระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื สนับสนุนการบรหิ ารจัดการและ การจัดการเรยี นรู้ โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 39
มาตรฐาน / ประเดน็ การพิจารณา ค่าเปา้ หมาย ปีการศกึ ษา2563 มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั ดีเลศิ 3.1 จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏิบตั จิ รงิ และสามารถนำไปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวติ ได้ ดีเลิศ 3.2 ใชส้ ื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรทู้ เี่ ออื้ ต่อการเรียนรู้ ดมี าก 3.3 มกี ารบรหิ ารจดั การชน้ั เรยี นเชงิ บวก ดมี าก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผเู้ รียนอยา่ งเป็นระบบ และนำผลมาพฒั นาผเู้ รยี น ดีมาก 3.5 มกี ารแลกเปลี่ยนเรยี นรแู้ ละใหข้ ้อมลู สะทอ้ นกลบั เพอ่ื พฒั นาและปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ ดมี าก หมายเหตุ การกำหนดค่าเป้าหมาย ในมาตรฐานที่ 1 และ 3 กำหนดเป็นร้อยละ เทียบระดับคุณภาพ 5 ระดบั เพ่ือให้สอดคล้องกับการประเมิน ดงั นี้ ร้อยละ 90.00 – 100.00 ระดบั 5 ยอดเยย่ี ม ร้อยละ 80.00 – 89.99 ระดบั 4 ดเี ลิศ ร้อยละ 70.00 – 79.99 ระดบั 3 ดี ร้อยละ 50.00 – 69.99 ระดับ 2 ปานกลาง ร้อยละ 00.00 – 49.99 ระดับ 1 กำลงั พฒั นา ส่วนการกำหนดค่าเป้าหมาย ในมาตรฐานที่ 2 กำหนดเป็น ระดับคุณภาพ 5 ระดับ เพื่อให้ สอดคล้องกับการประเมนิ ดงั นี้ ค่าเฉลี่ย 4.01-5.00 ระดับ 5 ยอดเย่ียม ค่าเฉลีย่ 3.01-4.00 ระดับ 4 ดีเลิศ ค่าเฉลี่ย 2.01-3.00 ระดับ 3 ดี คา่ เฉลี่ย 1.01- 2.00 ระดับ 2 ปานกลาง คา่ เฉลี่ย 0.00-1.00 ระดบั 1 กำลงั พฒั นา ๑.๕ สถานศึกษามกี ารนำผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ผลการประเมินคุณภาพภายนอก และผล การประเมินการจัดการศึกษาของทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมาเป็นข้อมูลฐาน (Baseline data) ในการ กำหนดเป้าหมายความสำเรจ็ ของการดำเนนิ งานและเปา้ ประสงคข์ องสถานศกึ ษา โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 40
รายงานการประเมินคณุ ภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ. ๒๕๕๔ –๒๕๕๘) การศึกษาปฐมวัยและระดบั การศกึ ษาปฐมวยั การศกึ ษาปฐมวัย ดา้ น ระดับคณุ ภาพ 1. ผลการจดั การศึกษา ดีมาก 2. การบริหารจัดการศกึ ษา ดีมาก 3. การจดั การเรยี นการสอนที่เนน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ดมี าก 4. การประกันคุณภาพภายใน ดมี าก การศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดบั คุณภาพ ดา้ น ดีมาก ดีมาก 1. ผลการจดั การศึกษา ดีมาก 2. การบรหิ ารจัดการศึกษา ดมี าก 3. การจัดการเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั 4. การประกันคณุ ภาพภายใน จดุ เด่น 1. สถานศกึ ษามีการวิเคราะหผ์ ลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนและได้กำหนดเปน็ เป้าหมายทางการเรยี น โดยใชข้ อ้ มลู ฐาน 3 ปยี ้อนหลงั เป็นเป้าหมายคณุ ภาพนักเรยี นให้พฒั นาสูงขึ้น 2. ผเู้ รยี นมคี ุณธรรม จติ อาสา 3. การบรหิ ารจดั การศกึ ษา และการมีส่วนร่วมของผเู้ ก่ยี วขอ้ ง 4. จดั แหลง่ เรียนร้ภู ายในได้เหมาะสม มสี อื่ ด้านเทคโนโลยที ท่ี ันสมยั 5. ครมู คี วามตงั้ ใจมงุ่ มน่ั ในการพฒั นาการสอน 6. นกั เรยี นมีส่วนร่วมในการจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ มทเี่ ออ้ื ตอ่ การเรยี นรู้ จุดที่ควรพฒั นา 1. ผลการประเมินระดบั ชาตสิ าระการเรียนรคู้ ณิตศาสตรแ์ ละวิทยาศาสตร์ในการสอบ O -NET 2. กิจกรรมทมี่ ุ่งเนน้ ยกระดบั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรยี น 3. กจิ กรรมดา้ นการอ่าน การเขยี น คำนวณใหก้ บั นักเรียนเรยี นร่วม 4. ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ ของนกั เรียน 5. การพฒั นาความสามารถภาษาองั กฤษของนกั เรียน 6. ความสามารถในการใชส้ อ่ื เทคโนโลยขี องครู โรงเรียนบา้ นตะกุดภิบาล 41
ผลการประเมนิ คุณภาพภายใน ปี 2562 - 2564 ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน ระดบั การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน ปีการศกึ ษา 2562 สรปุ ผลการประเมนิ ภาพรวม กำลังพัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลศิ ยอดเยย่ี ม มาตรฐาน/ตัวบง่ ช้ี ระดบั คณุ ภาพ มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดเี ลิศ 1.1 ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผเู้ รียน ดเี ลิศ 1.2 คุณลักษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผเู้ รยี น ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ ดเี ลิศ มาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนทเ่ี นน้ ผู้เรียนเป็นสำคญั ดีเลศิ ระดบั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ปกี ารศึกษา 2563 ยอดเยย่ี ม สรุปผลการประเมนิ ภาพรวม ระดบั คุณภาพ ดีเลิศ กำลังพฒั นา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ดีเลิศ ดเี ลศิ มาตรฐาน/ตัวบง่ ชี้ ดีเลิศ ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเู้ รยี น 1.1 ผลสมั ฤทธิท์ างวชิ าการของผ้เู รียน 1.2 คุณลักษณะท่พี ึงประสงคข์ องผเู้ รียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเี่ น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ ระดบั การศึกษาข้ันพื้นฐาน ปีการศึกษา 2564 ยอดเยย่ี ม สรปุ ผลการประเมนิ ภาพรวม ระดับคุณภาพ ดเี ลิศ กำลงั พัฒนา ปานกลาง ดี ดเี ลิศ ดเี ลศิ ดีเลิศ มาตรฐาน/ตัวบ่งช้ี ดีเลศิ มาตรฐานที่ 1 คณุ ภาพของผเู้ รยี น ดีเลิศ 1.1 ผลสัมฤทธิท์ างวิชาการของผเู้ รยี น 1.2 คุณลกั ษณะท่ีพึงประสงค์ของผเู้ รยี น มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สำคัญ โรงเรยี นบ้านตะกดุ ภิบาล 42
ขั้นตอนการการนำผลการประเมินคุณภาพภายใน ผลการประเมินคุณภาพภายนอก และผล การประเมนิ การจดั การศึกษาของทกุ หนว่ ยงานทีเ่ กยี่ วขอ้ งมาเปน็ ขอ้ มลู ฐาน (Baseline data) ทบทวนวิเคราะห์ ผลการประเมินภายนอกรอบสาม/ผลการประเมนิ คณุ ภาพ ภายใน นาผลการวเิ คราะหม์ าเป็ น(Baseline data) กาหนดเป้ าหมายใหส้ อดคล้องกบั บริบทและความเป็ นไปได้ ดาเนนิ การจดั ทามาตรฐาน 3 มาตรฐาน 1. มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน 2. มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ 3. มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรยี นการสอนทเี่ นน้ ผเู้ รยี นเป็ นสาคญั คุณภาพภายใน การให้ความเหน็ ชอบ ประกาศใหใ้ ช้ โรงเรียนบ้านตะกดุ ภบิ าล 43
องคป์ ระกอบท่ี 2 การขับเคลอ่ื นคณุ ภาพสู่มาตรฐาน ๒.๑ ผู้บริหารสถานศึกษาเปน็ ผู้นำการขับเคลื่อนคุณภาพ และสื่อสาร สร้างความตระหนกั ใหบ้ คุ ลากร ท่เี กย่ี วข้องทกุ ฝา่ ยและผมู้ ีส่วนไดส้ ่วนเสยี มคี วามรู้ ความเข้าใจในกระบวนการขับเคล่ือน คุณภาพและเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างทั่วถึงและต่อเนื่อง การดำเนินงานกระบวนการพัฒนา คุณภาพโรงเรยี นบา้ นตะกดุ ภิบาล ไดม้ ีขั้นตอนการดำเนินงานดงั ตอ่ ไปน้ี ๑. ประกาศค่าเป้าหมายแบบมีส่วนร่วม ประชุมครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้มีความ เข้าใจในกระบวนการขับเคล่อื นคุณภาพการศกึ ษา และเปา้ ประสงค์ทีก่ ำหนดไว้ ๒. สร้างบุคลากรแกนนำของโรงเรียน เช่น ครูวิชาการ บริหารงาน โดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน ตามแนวคิดการปฏิรูปการศึกษาและการกระจายอำนาจทางการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ โดยการเปดิ โอกาสให้ทุกคนมสี ว่ นร่วมในการคิดริเรม่ิ วางแผนพัฒนาตนเอง และองค์กรด้วยความสามารถ และเตม็ ใจอย่างย่งิ ๓. กำหนดนโยบายในการบริหารสถานศึกษาให้มีคุณภาพสูงสุดโดยให้มีความสอดคล้องกั บ วิสัยทัศน์ของสถานศึกษา และเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในโรงเรียน ผู้ปกครอง คณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพื้นฐานและชุมชนในการพัฒนาผู้เรียน ทั้งด้านคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมอันพึง ประสงค์ สง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ทางวิชาการ โดยการวางแผนพัฒนาการศึกษา ๔. จัดทำและพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา จัดทำระบบประกันคุณภาพการศึกษา ส่งเสริม สนับสนุนและให้ความสำคัญในการให้ครูจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน และส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนเกิดการพัฒนากระบวนการจัดกา รเรียนรู้ พัฒนา สื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา สนับสนุนให้ครูผู้สอนจัดกิจกรรมการเรียนการสอน โดยใชส้ ือ่ ทห่ี ลากหลายตลอดจนการใช้แหล่งเรยี นรู้ตา่ ง ๆ ๒.๒ สถานศึกษาออกแบบระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษาสู่มาตรฐาน การศึกษา ตามที่กำหนดไว้ โดยครอบคลุมภาระงาน บทบาทหน้าที่และสอดคล้องกับสภาพการ เปลย่ี นแปลง การดำเนนิ งาน สถานศึกษาได้ออกแบบระบบการบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษาสูม่ าตรฐานการศึกษา ตามทก่ี ำหนดไว้ โดยการมีส่วนรว่ มของบคุ ลากรทเ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ฝ่ายและผู้มสี ่วนได้สว่ นเสีย ซึ่งเป็นการเปิด โอกาสให้ผู้ทีม่ ีส่วนเกี่ยวข้องได้มสี ่วนร่วมในการบริหาร ตัดสินใจ และร่วมจัดการศึกษาทั้ง ครู ผู้ปกครอง ตัวแทนศิษย์เก่า และตัวแทนนักเรียนการที่บุคคลมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา จะเกิดความรู้สึกเป็น เจา้ ของและจะรบั ผดิ ชอบในการจัดการศึกษามากข้นึ ซึ่งสถานศึกษาได้จัดทำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา เพื่อสนับสนุนการพัฒนาคุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและบรรลุตามเป้าประสงค์ที่กำหนดไว้ นอกจากนี้ยังได้จัดทำ โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภิบาล 44
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาระยะ ๓ ปี โดยกำหนดยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และแผนงานโครงการทีส่ อดคล้อง และครอบคลุมทุกมาตรฐาน ตัวบ่งชี้และเป้าหมายของสถานศึกษาโดยบริหารงานวงจรคุณภาพ PDCA (Demming Cycle) ที่เน้นให้ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายร่วมกำหนดปัญหาแนวทางการแก้ปัญหา ตรวจสอบ และ ปรับปรุงการดำเนินงานภายใต้ระบบการบริหารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กภายใต้แนวคิด “TAKUD 5G MODEL” ระบบการบรหิ ารจัดการโรงเรยี นขนาดเล็กภายใต้แนวคิด “TAKUD 5G MODEL” โรงเรยี นบา้ นตะกุดภบิ าล 45
T = Team work “ทำงานเปน็ ทมี ” ทีมงานที่ดี หมายถึง คุณลักษณะโดยอาศัยการทำงานเป็นทีม การทำงานที่ดี ที่มีคุณภาพผ่าน มีการตั้งคณะกรรมการ ที่มีความชำนาญ ความถนัดในแต่ละภารกิจใหท้ ุกคนในทีมงานมเี ปา้ หมายในภารกิจ ร่วมกันเพื่อให้บคุ ลากรในองค์กรเปน็ ส่วนหนึ่งของความสำเร็จ มีจิตสำนึกและรู้สึกภาคภูมิใจร่วมกันในท่ีสดุ การประสานงานในทีมงานอย่างเปน็ ระบบทุกขั้นตอนในแตล่ ะภารกิจย่อยที่ไดร้ บั มอบหมายในภารกิจร่วมกัน เพ่ือให้บคุ คลากรในองค์กรเป็นส่วนหนงึ่ ของความสำเร็จ มีจิตสำนกึ และภาคภมู ใิ จร่วมกันในท่ีสดุ A = Assignment “มีความรบั ผิดชอบ” กำหนดผู้รับผิดชอบ เป็นการกำหนดผู้รับผิดชอบกระจายความรับผิดชอบตามโครงสร้าง การปฏิบตั ิงาน โดยแบง่ ความรบั ผดิ ชอบตามหน้าที่ เชน่ ฝา่ ยวิชาการประกอบดว้ ย ผ้ปู ระสานงานโครงการ ครูผู้สอน ฝ่ายบริหารงานบคุ คลและธุรการ ฝ่ายบริหารงานแผนงานและงบประมาณ ฝ่ายกิจการนักเรียน ฝา่ ยบรหิ ารทั่วไป ทั้งนีเ้ พอ่ื กระจายความรับผดิ ชอบ ตามความรูค้ วามสามารถและหนา้ ทที่ ่ไี ดร้ บั มอบหมาย อนั กอ่ ประโยชน์สงู สดุ ต่อทางราชการ K = KPI (Key Performance Indicator) “ตัง้ กรอบเปา้ หมาย” กรอบเป้าหมาย วิสัยทัศน์) หมายถึง ภาพของหน่วยงานในอนาคตที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องใน หนว่ ยงานน้นั ๆ อยากเห็น ตอ้ งการให้เปน็ และรว่ มกันจนิ ตนาการข้ึน โดยตั้งอยูบ่ นพ้ืนฐานความเปน็ จรงิ ใน ปัจจบุ ัน เช่อื มโยงวตั ถปุ ระสงค์ ภารกจิ คา่ นิยม และความเชื่อ บ่งบอกให้เหน็ ถงึ ทศิ ทางการดำเนินงานของ หน่วยงานอย่างชัดเจน ประกอบไปด้วยพลังที่ท้าทาย ทะเยอทะยาน เต็มไปด้วยความมุ่งมั่นที่จะกระทำ ภารกิจนั่นใหล้ ลุ ่วง สอดแทรกดว้ ยกลยทุ ธ์ในการตัดสินใจกำหนดทศิ ทางและทางอยูร่ อดของหน่วยงาน U = Understanding “เข้าใจร่วมกนั ” ศึกษาสภาพแวดล้อมหรือบริบท (Context Evaluation) หมายถึง การสร้างความเข้าใจ การประสานงานด้วยความนอบน้อมกับกรรมการสถานศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชน เพื่อให้ได้ข้อมูลสภาพ ปจั จุบันปัญหา ความตอ้ งการ สภาพพน้ื ฐานของนกั เรยี น ชุมชน ทีแ่ ทจ้ รงิ D = Development “พัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง” พัฒนา หมายถงึ การพัฒนาบุคลากรเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการดำเนินกิจกรรมตามแผนท่ี กำหนดไว้ให้แก่คณะกรรมการแต่ละชุดด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสัมมนา การศึกษาดูงาน การพัฒนาบุคลากรให้เปน็ ไปตามความต้องการของบคุ ลากร และที่สำคัญต้องมีการพัฒนาสื่อเทคโนโลยี ด้าน ICT ให้มีสมรรถนะทีส่ ามารถเป็นเครื่องมือสำหรับบคุ ลากรในการสบื คน้ ข้อมูลตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ ภาระงานที่ปฏิบัติ ซึ่งฝ่ายบริหารต้องจัดให้มีและนับว่าเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในการส่งเสริมสนับสนุน ให้มีการพัฒนาบุคลากร จนมีความรู้ความสามารถในการที่จะนำไปพัฒนาภาระงานของตนตลอดจน โรงเรียนบา้ นตะกดุ ภบิ าล 46
ทมี งานได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ ผลผลติ ทีไ่ ด้ คือ ทีมงานทีม่ ีคณุ ภาพสูง (High Quality Team) คณุ ภาพการบรหิ าร “ 5G” ประกอบด้วย รูปแบบการบริหารงานแบบ 5G โดยในแต่ละองค์ประกอบมกี ารทำงานท่สี อดคล้องสัมพันธ์กนั มีแนวทางการตำเนนิ งานท่ีชัดเจน 1. G1: Good Government (หลักธรรมภิบาล) คือ หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป็นหลักการที่นำมาใช้บริหารงาน ช่วยสร้างสรรค์และส่งเสริมองค์กรให้มีศักยภาพและประสิทธิภาพ ประกอบด้วย หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักการมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ หลกั ความค้มุ คา่ 2. G2 : Good Organization (องค์กรที่ดี) มีการบริหารจัดการทั้งระบบที่ดีโดยบริหารงาน แบง่ เปน็ 5 กล่มุ บรหิ ารงาน มีนโยบายในการขบั เคลอ่ื นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงในสถานศึกษา โดยครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาและผู้เกี่ยวขอ้ งของสถานศกึ ษาไดม้ ีส่วนรว่ มในการกำหนดนโยบายต่างๆ และมีการจัดทำแผนปฏิบัติราชการประจำปีที่สอดคล้องกับนโยบาย การดำเนินงานภายในโรงเรียน บ้านตะกุดภิบาล มีกระบวนการวางแผนจากผู้บริหารสถานศึกษาและผู้เกี่ยวข้อง มีการดำเนินงาน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ในแต่ละกิจกรรม และมีการติดตามผลการดำเนินงานอย่างต่อเนื่องว่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ เกิดปัญหาและอุปสรรคอย่างไร เมื่อดำเนินการเสร็จสิ้นจะมีการสรุปผล ของแต่ละกจิ กรรมอยา่ งสม่ำเสมอ เสนอตอ่ ผบู้ ริหารทราบ 3. G3: Good Moral (มีคุณธรรม จริยธรรม) ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษามี คณุ ธรรม จรยิ ธรรมสามารถเป็นแบบอย่างท่ดี ี พร้อมทั้งส่งเสรมิ ให้นกั เรยี นมีคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ มี ความรับผิดชอบต่อสังคมไทยและสังคมโลก ความอบอุ่นภายในโรงเรียนบ้านตะกุดภิบาล เป็นดั่งเช่น ครอบครัวนกั เรียนให้ความเคารพนับถือคณะครู 4. G4 : Good Environment (ส่งิ แวดล้อมท่ีดี) โรงเรยี นมีการจัดสภาพแวดล้อมที่ดีสะอาด ร่มรื่น สวยงามเอื้อต่อการเรียนรู้ มีการเน้นกิจกรรม 5ส. ภายในโรงเรียนอย่างเข้มแข็งโดยทีมงานสภา นกั เรยี นเปน็ แกนนำ มกี ารบริหารจดั การขยะในโรงเรยี นโดยเน้นใหน้ กั เรียนนำ กลบั มาใชใ้ หมแ่ ละแยกขยะ ใหถ้ ูกตอ้ ง มกี ารให้บรกิ ารจัดการขยะภายในโรงเรยี น 5. G5 : Good Achievement (ความสำเร็จที่ดี) มีความสำเร็จของงานในทุกด้าน อย่างมีประสิทธิภาพส่งผลใหส้ ถานศึกษา บุคลากร นกั เรยี นได้รับรางวัลต่างๆ มากมาย นักเรียนเป็นคนเก่ง คนดี มีทักษะอาชพี และอยู่ในสังคมไดอ้ ยา่ งมีความสขุ โรงเรยี นบ้านตะกุดภบิ าล 47
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128