โครงการ ๑ หลักสูตร ๑ ชุมชน ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม เกิดจากการขับเคลื่อนภารกิจเร่ือง “การ บรกิ ารงานวชิ าการแกช่ มุ ชน” ของมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม โดยมกี ารจดั การเรยี นการสอน ท่ีมุ่งเน้นการพัฒนานิสิตสู่การเป็นบัณฑิต ท่ีพึงประสงค์ภายใต้หลักปรัชญาของ มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม คอื “ผมู้ ีปัญญา พึงเป็นอยู่เพ่ือมหาชน” ซึ่งประกอบด้วย แนวคิดหลักสำ�คัญคือ “นิสิตกับการช่วย เหลอื สังคมและชุมชน” โดยการบรู ณาการ ผา่ นภารกจิ หลกั ส�ำ คญั ๆ ของมหาวทิ ยาลยั ทมี่ งุ่ สรา้ งกระบวนการเรยี นรแู้ บบมสี ว่ นรว่ ม หรือการ “เรียนรู้คู่บริการ” ระหว่าง “มหาวิทยาลัยกับชุมชน” และเน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง และเชื่อมประสาน ให้เกิดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับภาคี เครอื ขา่ ยตา่ งๆ อยา่ งหลากหลาย กวา้ งขวาง และมีประสทิ ธิภาพ
จดหมายข่าว ‘งานวชิ าการรบั ใช้สังคม’ ปีท่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ ประจำ�เดอื นกนั ยายน-ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เจ้าของ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม สำ�นักงาน กองสง่ เสรมิ การวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ ท่ีปรึกษาอาวโุ ส ศ.ดร.สัมพนั ธ์ ฤทธเิ ดช ทปี่ รึกษา รศ.ดร.ประยุกต์ ศรีวิไล ผศ.ดร.ฉนั ทนา เวชโอสถศกั ดา ผศ.ดร.กนกพร รัตนสธุ ีระกลุ ดร.สุมลวรรณ ช่มุ เช้ือ ดร.มลฤดี เชาวรตั น์ อาจารย์กนกกุล มาเวียง นางฉววี รรณ อรรคะเศรษฐงั บรรณาธกิ าร นายบรรจง บุรินประโคน ผู้ชว่ ยบรรณาธกิ าร นายปรชี า ศรบี ุญเศษ กองบรรณาธิการ นางณัฐกฤตา อุทัยแสน นางวัชญา ออ่ นนางใย นางเมษา ศรสี มนาง นายสถาพร กินณรินทร์
อยากฝากถึงอาจารย์ นักวิจัย ทกุ ทา่ น นอกจากหนา้ ทหี่ ลกั คอื สอน และทำ�วจิ ัยอยา่ งเขม้ แขง็ แล้ว อยาก ให้ทุกท่านเลง็ เห็นถงึ ความสำ�คญั ของการ บริการวิชาการ การบำ�รุงศิลปวัฒนธรรม การพัฒนาชุมชน ให้ถือคติท่ีว่าการที่ มหาวิทยาลัยจะเจริญเข้มแข็งได้ ชุมชน ต้องเข้มแข็งด้วย จึงจะนำ�ไปสู่การพัฒนา ท่ยี ่ังยนื ศาสตราจารย์ ดร.สัมพันธ์ ฤทธิเดช อธิการบดีมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม
4 I จดหมายข่าว ‘งานวชิ าการรบั ใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ กนั ยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑
บรรณาธกิ าร “โครงการโรงเรยี นผสู้ งู อายตุ น้ แบบ” ถอื เปน็ โครงการบรกิ ารวชิ าการ ของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม ที่ได้กำ�หนดพื้นท่ี Area Based ในชุมชน อบต.เหลา่ ดอกไม้ ทงั้ น้ี เพื่อให้เกิดเป็นโครงการบูรณาการของมหาวิทยาลัย มหาสารคาม อันเป็นโครงการท่ีได้รับโจทย์ความต้องการจากชุมชน ดังท่ี นางฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง ผู้อำ�นวยการกองส่งเสริมการวิจัยและบริการ วชิ าการ กวา่ ถึงโครงการดงั กลา่ วว่า 'เกดิ จากการที่มผี นู้ ำ�ชมุ ชนไดเ้ ดินทางมา หาเรา แล้วก็บอกกับเราว่า อยากให้มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ได้ให้ความ ช่วยเหลือในเรื่องของการตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งเราก็เห็นว่าในปัจจุบันน้ี ผู้สูงอายุในชนบทก็มีจำ�นวนค่อนข้างเยอะ ทำ�ให้เราคิดว่าเราจะช่วยชุมชน ได้อย่างไร ตรงนกี้ ็ถือเป็นเป้าประสงค์หน่ึงของมหาวทิ ยาลยั ทีจ่ ะตอบสนอง นโยบายของประเทศ ในเรอื่ งของผสู้ งู อายทุ ม่ี จี �ำ นวนมากยง่ิ ขน้ึ เรากม็ องเหน็ วา่ ปญั หาหรอื สงิ่ ทช่ี มุ ชนอยากไดเ้ ปน็ เรอื่ งทดี่ ี เรากไ็ ดร้ บั ฟงั ปญั หาจากชมุ ชน แลว้ เรากเ็ ร่มิ หาผ้เู ชี่ยวชาญ ทม่ี ีความรู้ มีความเชยี่ วชาญ เพอื่ ท่จี ะกอ่ ตั้งโรงเรียน ต้นแบบ ซึ่งสถานท่ีท่ีเราลง เราก็ได้กำ�หนดให้เป็นพ้ืนที่ Area Based เพื่อ จะพัฒนาให้เป็นเขตพ้ืนท่ีบริการวิชาการของมหาวิทยาลัยมหาสารคาม นั่น กค็ ือ อบต.เหลา่ ดอกไม'้
6 I จดหมายขา่ ว ‘งานวิชาการรบั ใชส้ งั คม’ ปีท่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ จนในทีส่ ุดชุมชน อบต.เหล่าดอกไม้ ได้กลายมาเป็นชุมชนโรงเรยี น ผสู้ งู อายตุ น้ แบบ และกลายเปน็ ทศี่ กึ ษาดงู านขอหนว่ ยงานราชการ องคก์ รตา่ งๆ ทส่ี นใจการโรงเรยี นผสู้ ูงอายุ อนั ถอื เปน็ ความสำ�เรจ็ หนงึ่ ของโครงการบรกิ าร วิชาการของมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม มหาวทิ ยาลยั เพื่อสงั คมและชุมชน ด้วยความรกั มนี าคม ๒๕๖๒ บรรจง บุรินประโคน
เพราะมหาวทิ ยาลยั เป็นสว่ นหนง่ึ ของชุมชน
8 I จดหมายข่าว ‘งานวชิ าการรบั ใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ กนั ยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑
พหนู ํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผมู้ ีปญั ญา พงึ เปน็ อยเู่ พอ่ื มหาชน’ I 9 เพราะมหาวทิ ยาลยั เปน็ ส่วนหนึง่ ของชมุ ชน
ส า ร บั ญ จดหมายข่าว ‘งานวชิ าการรบั ใช้สังคม’ ปีท่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ ประจ�ำ เดอื นกนั ยายน-ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ๑๓ I อมั พร โพธท์ิ อง / นายก อบต.ชน่ื ชม เรากอ็ ยากใหผ้ สู้ ูงอายขุ องเรา มีความเขม้ แข็ง ๑๙ I จรัส ชนิ เฮอื ง นายก อบต.เหล่าดอกไม้ กบั โครงการโรงเรียนผ้สู ูงอายุตน้ แบบ ๓๙ I รศ.ดร.ดรุณี รุจกรกานต์ กิจกรรมโรงเรยี นผู้สูงอายุแบบบูรณาการ
๕๒ I ฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐัง กับบทบาทของ กองส่งเสริมการวิจัยและบรกิ ารวชิ าการ ๕๑ I รศ.ดร.ประยกุ ต์ ศรีวไิ ล โครงการบูรณาการหนง่ึ หลักสตู รหนงึ่ ชมุ ชน ๕๙ I “โรงเรียนผู้สงู อายุ ตำ�บลชนื่ ชม”
12 I จดหมายข่าว ‘งานวิชาการรบั ใช้สงั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เราก็อยาก ให้ผู้สูงอายุของ เรามีความเขม้ แขง็ สู่การมีส่วนร่วม สู่การทำ�กิจกรรม เพราะว่าผ้สู ูงอายุ เป็ นบคุ คลสำ�คัญ
สัมภาษณพ์ ิเศษ / รอบร้วั มมส เร่อื ง / เรียบเรียง / ภาพ : กองบรรณาธิการ อมั พร โพธิ์ทอง / นายก อบต.ช่ืนชม เราก็อยากให้ผู้สูงอายขุ องเรามีความเขม้ แขง็ จริงๆ แล้วเราก็ไปทุกท่ี เหน็ ผสู้ งุ อายขุ องเรามสี ขุ ภาพแขง็ แรง เพ่ือศึกษาดูงานเก่ียว ท่ีไปอยากให้โรงเรียนผู้สูง กบั การท�ำ โรงเรยี นผสู้ งู อายุ เพอ่ื ทจ่ี ะ ผสู้ งู อายุได้จบั กล่มุ กนั ทำ�กจิ กรรมให้ นำ�มาปรับปรงุ นำ�มาบริหารโรงเรียน ดี เพอ่ื จะเป็นเครือข่าย ไปสโู่ รงเรยี น ผู้สูงอายใุ น อบต.ชนื่ ชม ผู้สูงอายุต้นแบบของเทศบาลของ ส�ำ หรบั ทีม่ ากเ็ พราะว่าเป็น เราตอ่ ไป เพราะวา่ กิจกรรมผสุ้ ูงอายุ โครงการทด่ี ี อยากใหผ้ สู้ งู อายมุ จี ติ ใจ โดยสว่ นใหญแ่ ลว้ ผสู้ งู อายทุ า่ นจะเปน็ รา่ เรงิ เดอื นหนงึ่ พบกนั สองครงั้ เปน็ สง่ิ ปราชญช์ าวบา้ น เพราะอาชพี ทท่ี า่ นท�ำ ทีด่ ีทที่ างผุบ้ รหิ ารได้ปรึกษาหารอื กัน มา มีหลายอาชพี ไม่ว่าจะเป็นเครอ่ื ง เพ่ือร่วมมือกันพัฒนา เพราะอยาก จกั สาน เร่อื งถกั ทอตา่ งๆ รวมท้งั ยงั
14 I จดหมายขา่ ว ‘งานวิชาการรบั ใช้สงั คม’ ปีที่ ๕ ฉบบั ที่ ๓ กันยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เราก็อยากให้ผู้สูงอายุของ เรามีความเขม้ แขง็ สู่การมีส่วนร่วม สู่การทำ�กิจกรรม เพราะว่าผู้สูง อายุเป็ นบุคคลสำ�คัญ เมื่อก่อนน้ี ท่านให้หลายๆ อย่างกับบุตรหลาน เมื่อก่อนท่านให้สตางค์ ให้บตุ รหลาน ไปเรยี น ต่อไปในอนาคตลูกหลานต้อง เอาสตางค์ ให้ท่านไปเรยี น ไปรว่ มเขา้ กลุ่ม นี่ก็คือโครงการท่ีพวกเรา ไม่ว่า จะเป็ นทางผ้บู รหิ ารก็ดี หลายๆ ส่วน ก็มีความคาดหวังว่าให้ โครงการของ เรา การขบั เคลื่อนกิจกรรมต่างๆ ของ เราได้ ไปสู่ท่ีอื่นๆ อำ�เภอช่ืนชมของเรามี โรงเรยี นผสู้ ูงอายุครบท้ัง ๔ ตำ�บล ไม่ ว่าจะเป็ นทางเจา้ หน้าท่ีทางอำ�เภอก็ดี ท่านก็ยินดีด้วย
พหนู ํ ปณฺ ฑโิ ต ชเี ว ‘ผู้มปี ญั ญา พึงเปน็ อยเู่ พ่อื มหาชน’ I 15 มผี สู้ งู อายทุ ม่ี คี วามเปน็ ศลิ ปนิ อยดู่ ว้ ย ไปเรยี น ตอ่ ไปในอนาคตลกู หลานตอ้ ง สว่ นหนง่ึ เพอื่ ใหโ้ ครงการนขี้ บั เคลอ่ื น เอาสตางคใ์ หท้ า่ นไปเรยี น ไปรว่ มเขา้ ไปส่ตู �ำ บลอื่นๆ ต่อไปในอนาคต กล่มุ นีก่ ค็ ือโครงการท่ีพวกเรา ไมว่ ่า องค์กรส่วนท้องถ่ินของ จะเปน็ ทางผ้บู ริหารก็ดี หลายๆ สว่ น เหล่าดอกไม้ ที่ท่านเข้ามาแนะนำ� กม็ คี วามคาดหวงั วา่ ใหโ้ ครงการของเรา ท่านเข้ามาขับเคล่ือนให้ อบต.ชื่นชม การขบั เคลอ่ื นกจิ กรรมตา่ งๆ ของเรา ได้ขับเคล่ือนโรงเรียนผู้สุงอายุ ไม่ว่า ไดไ้ ปสู่ทอ่ี ่ืนๆ อ�ำ เภอชื่นชมของเรามี จะเป็นท่านนายก จรัส ชิณเฮือง โรงเรียนผู้สูงอายุครบท้ัง 4 ตำ�บล ทัง้ เจา้ หน้าที่ฯ นักพัฒนาชุมชน ทาง ไมว่ า่ จะเปน็ ทางเจา้ หนา้ ทท่ี างอ�ำ เภอ เจา้ หนา้ ทข่ี อง อบต. เหลา่ ดอกไม้ ทา่ น กด็ ี ทา่ นกย็ นิ ดีดว้ ย มาแนะนำ�ว่าอยากให้ อบต.ชื่นชมขับ แตข่ น้ั ตอนตา่ งๆ กต็ อ้ งคอ่ ย เคลอื่ นไปพรอ้ มกบั ทา่ น เพราะวา่ อบต. เปน็ ค่อยไป ทงั้ ผูบ้ รหิ าร ผนู้ �ำ ท้องถ่ิน เหลา่ ดอกไม้ ทา่ นสำ�เรจ็ เพราะเป็น ตอ้ งเอาใจใส่ ชว่ ยกนั เสยี สละคนละไม่ โรงเรยี นผสู้ งู อายทุ ป่ี ระสบความส�ำ เรจ็ ละมอื มาชว่ ยกนั ขบั เคลอ่ื นใหโ้ รงเรยี น ไมว่ า่ จะเปน็ การประกอบอาชพี ไมว่ า่ สูงอายไุ ด้พฒั นาต่อไป จะเปน็ การประชมุ การของบประมาณ สำ�หรับที่ผ่านมากระผมก็ ต่างๆ เพราะท่านได้ประสบความ ขอขอบคุณทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นทาง สำ�เรจ็ มาแลว้ ไม่ว่าจะเปน็ การอาชพี มหาวิทยาลัยมหาสารคามก็ดี ทาง การทำ�พานบายศรสี ขู่ วัญ อบต.เหล่าดอกไม้ก็ดี หลายๆ คณะ สำ�หรับทางเราก็หวังจะ ที่เข้ามาร่วม ทุกภาคส่วน มีส่วนขับ พัฒนา อบต.ช่ืนชมของเราต่อไป เคลอื่ นให้ อบต.ผสุ้ งุ อายปุ ระสบความ ซ่ึงเราตอ้ งขอบคุณทา่ นนายกจสั และ ส�ำ เรจ็ ในภายภาคหนา้ กห็ วงั วา่ โครงการ เจา้ หนา้ ทที่ ใี่ หค้ �ำ แนะน�ำ ดแู ลพวกเรา นจี้ ะเปน็ โครงการทดี่ ี ทใ่ี หผ้ สู้ งู อายไุ ด้ เราก็อยากให้ผู้สูงอายุของ มกี �ำ ลงั ใจ มสี ขุ ภาพกายใจแขง็ แรง ได้ เรามีความเข้มแข็ง สู่การมีส่วนร่วม พบปะพูดคุยกนั ท�ำ กิจกรรมร่วมกนั สู่การทำ�กิจกรรม เพราะว่าผู้สูงอายุ รบั ประทานอาหารร่วมกนั ถือวา่ เปน็ เป็นบุคคลสำ�คัญ เม่ือก่อนนี้ท่านให้ ความสขุ ของผสู้ งู อายุ ก�ำ ลงั ใจเทา่ นน้ั หลายๆ อย่างกับบุตรหลาน เม่ือ แหละที่จะทำ�ให้ผู้สูงอายุมีกำ�ลังใจ ก่อนท่านให้สตางค์ให้บุตรหลาน ท่านลำ�บากมานานแล้ว จึงอยากให้
16 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใช้สังคม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ท่านได้พักผ่อน ผ่อนคลายจากการ อยากใหโ้ ครงการนข้ี บั เคลอ่ื น งาน มกี �ำ ลังใจตอ่ ส่ตู ่อไป ไปได้อย่าง อยากขอบคุณท่านายก ส�ำ หรบั พวกกระผมเอง และผู้ อบต.เหลา่ ดอกไม้ บรหิ าร พรอ้ มกบั เจา้ หนา้ ทท่ี เ่ี กยี่ วขอ้ ง ถา้ เรามกี ารขบั เคลอื่ นเครอื ทกุ คน กพ็ รอ้ มใจกนั ทจี่ ะขบั เคลอื่ นให้ ขา่ ยก็เพือ่ ส่กู ารมสี ว่ นร่วม โครงการนี้ไดป้ ระสบผลสำ�เร็จ บรรลุ เมื่อก่อนให้ตังค์บุตรหลาน ตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ ในอนาคต ไปเรียน ต่อไปเราต้องให้ตังค์ทา่ นไป ขา้ งหนา้ กห็ วงั วา่ โรงเรยี นผสู้ งู อายขุ อง เรยี นบา้ ง อยากใหม้ โี รงเรยี นผสู้ งู อายุ เราจะประสบผลสำ�เร็จ เป็นโรงเรียน ครบั ทัง้ สี่ต�ำ บล ๏ ต้นแบบของโรงเรียนผ้สู งู อายุตอ่ ไป
พหนู ํ ปณฺ ฑโิ ต ชเี ว ‘ผ้มู ปี ัญญา พงึ เปน็ อยู่เพ่อื มหาชน’ I 17
18 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑
สมั ภาษณพ์ ิเศษ / รอบรวั้ มมส เรือ่ ง / เรยี บเรยี ง / ภาพ : กองบรรณาธกิ าร จรสั ชินเฮือง นายก อบต.เหลา่ ดอกไม้ กับโครงการโรงเรียนผ้สู งู อายตุ น้ แบบ “ที่มาทไ่ี ป” จะประกอบอาชีพเกษตรกร โดยมี ก่อนอ่ืนกระผมต้องขอ ความยากจนเป็นพ้ืนฐานหลัก จาก เกร่ินถึง อบต.เหล่าดอกไม้ก่อนว่า การทสี่ �ำ รวจดู วา่ ประชาชนมพี น้ื ฐาน ชุมชน อบต.เหลา่ ดอกไม้ น้ันเป็นชุม อาชีพท่ียากจน ก็เนื่องจากว่า ส่วน ชนเลก็ ๆ ซง่ึ มงี บประมาณนอ้ ยในการ ใหญ่คนในชุมชนจะประกอบอาชีพ ดำ�เนินงาน โดยประชาชนส่วนใหญ่ เกษตรกร อาศัยการเพาะปลูกพืช ตามฤดูกาลเป็นหลักกค็ ือ ข้าว ออ้ ย
20 I จดหมายขา่ ว ‘งานวิชาการรับใชส้ งั คม’ ปีที่ ๕ ฉบับท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ในฐานะท่ีผมเป็นผู้บริหาร ความรู้ วิชาการ การสนับสนุนงบ ทอ้ งถนิ่ คอื เปน็ นายก อบต.เหลา่ ดอกไม้ ประมาณ ตลอดจนบุคลากร เพ่อื มา กระผมก็มีความคิดว่า ส่ิงที่จะทำ�ให้ ช่วยให้คำ�แนะนำ� อบต.เหล่าดอกไม้ ประชาชนมคี วามอยดู่ ขี นึ้ จากเดมิ ทย่ี งั เพอ่ื บรหิ ารชุมชนเพอ่ื ใหม้ ีความสขุ ก็ ยากจนอยู่ จงึ อยากใหเ้ ขามคี วามสขุ ขน้ึ เลยไดเ้ ขา้ ไปในมหาวทิ ยาลยั เพอ่ื ชกั ชวน ก็ต้องมีนโยบาย หรือหาเครือข่าย คณะตา่ งๆ และไดช้ แี้ จงวา่ อบต.เหลา่ เพ่ือให้คนมาร่วมคิดร่วมทำ� อบต. ดอกไม้ มีประชากรอยู่ 6000 กว่า เหล่าดอกไม้ กเ็ ลยคิดถึงสถาบนั การ คน มหี มบู่ า้ นอยู่ 11 หม่บู ้าน จะทำ� ศกึ ษาทอ่ี ยู่ในพน้ื ที่ของพวกเรา ก็คือ อยา่ งไรเพอ่ื ใหป้ ระชาชนมคี วามสขุ ตาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ซึ่งเป็น อตั ภาพ และตามทเี่ ขาอยูใ่ นปจั จบุ ัน มหาวิทยาลัยที่สามารถจะให้เร่ือง เพื่อให้ชีวิตดีย่ิงขึ้น จึงได้ไปปรึกษา
พหูนํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผมู้ ีปัญญา พงึ เป็นอยเู่ พอื่ มหาชน’ I 21 หารือกับอธิการบดี ท่านอธิการจึง “การมาถงึ ของมหาวทิ ยาลยั มอบหมายใหค้ ณะตา่ งๆ มารว่ มรบั ฟงั มหาสารคาม” กล่าวคือได้ไปชี้แจงกับมหาวิทยาลัย ทุกคณะ ก็มีหลายคณะฯ ที่สนใจ เข้าร่วมกิจกรรมในชนบทของ อบต. การมาถงึ ของมหาวทิ ยาลยั เหล่าดอกไม้ เลยได้ให้แนวนโยบาย มหาสารคาม ทำ�ให้ต่ืนเต้นต่ืนตา วา่ สง่ิ ทช่ี าวบา้ นชมุ ชนหรอื อบต.เหลา่ ตน่ื ใจ ทำ�ใหท้ าง อบต.เหลา่ ดอกไม้ ดอกไม้ ใหค้ วามสนใจมอี ะไรบา้ ง ทา่ น มคี วามกระตอื รอื รน้ ในเรอ่ื งตา่ งๆ ไม่ นากยกฯ ก็บอกว่าสิง่ ทช่ี าวบ้านหรือ ว่าจะเป็นด้านสังคม เยาวชน ด้าน ชุมชนเข้าในคือ หนึ่ง ผู้สูงอายุ สอง ผูส้ ูงอายุ เรื่องของผูต้ ิดเชอื้ โรคเอดส์ อาชีพ ท่ีจะสามารถประกอบอาชีพ แม้แต่คนพิการ ส่ิงเหล่าน้ีล้วนเป็น ได้ในท้องถ่ิน และสามารถมีรายได้ ปญั หาส�ำ คญั ของคนอยา่ งยง่ิ โดยอาศยั พอทจี่ ะเลยี้ งตวั เองได้ สามกค็ อื เรอ่ื ง ความร่วมมือของคนในท้องถ่ินด้วย สงั คม คอื เรอื่ งเดก็ แวน้ เดก็ ทอ้ งกอ่ น โดยอาศัยบุคลากร คนในสำ�นักงาน แตง่ ทอ้ งไม่พร้อม เปน็ ตน้ และกก็ าร ที่สำ�คัญคือบุคลากรในมหาวิทยาลัย ทะเลาะวิวาทเวลางานบุญงานบอล ซงึ่ เป็นตน้ แบบของเรา ซ่ึงเป็นปัญหาสำ�หรับชุมชนในท้อง ถ่ินพอสมควร และกม็ ีหลายคณะให้ ข้อคิดในการจัดกิจกรรม สะท้อนให้ “เมื่อมหาวิทยาลัยลงมา เห็นว่าตำ�บลเหล่าดอกไม้จะเริ่มต้น ชว่ ยชมุ ชนเป็นอยา่ งไรบา้ ง” อย่างไร และจะใช้บุคลากร รวมถึง งบประมาณเทา่ ไหร่ ซง่ึ เป็นสิง่ ทที่ าง มหาวิทยาลัยได้ให้ความรู้เป็นอย่าง หลังจากที่มหาวิทยาลัยลง ย่ิง โดยที่ทางเราลงทุนน้อย และเรา มากท็ �ำ ใหช้ ุมชนมีความกระตอื รอื ร้น สามารถถงึ เอาคนในมหาวทิ ยาลยั มา ยิ่งขึน้ โดยเฉพาะเรอ่ื งผู้สงู อายุ เร่อื ง ร่วมกิจกรรม ด้านสขุ ภาวะ ผสู้ งู อายุ อาชพี หรอื แมแ้ ตเ่ รอื่ งของกจิ กรรมทาง ไดด้ ียง่ิ ขนึ้ นัน่ คือจดุ เร่ิมต้น สงั คม เรื่องปลอดเหล้า งานบุญ งาน บอล งานบวช เป็นตน้ ปญั หาตา่ งๆ เม่ือมคี นมาชว่ ยเราแกป้ ัญหา ก็ท�ำ ให ้
22 I จดหมายข่าว ‘งานวิชาการรบั ใช้สงั คม’ ปีท่ี ๕ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ อบต.เหลา่ ดอกไม้ ดยี ิ่งข้ึน โดยอาศัก เราจึงอยากที่จะอนุรักษ์ป่าโคกข่าว คนในพ้นื ทจ่ี ัดการตัวเอง เพอ่ื ใหเ้ ขารู้ ให้อดุ มสมบรู ณ์ ก็เลยมจี ิตอาสาทจ่ี ะ และปฏบิ ตั หิ นา้ ทใี่ หด้ ขี นึ้ เรอื่ งการจด ลงพืน้ ทีด่ แู ลปา่ ของเราเอง โดยคณะ บญั ชคี รวั เรอื น กท็ �ำ ใหร้ วู้ า่ การทำ�บญั ชี ต่างๆ ของ มมส กไ็ ดล้ งพน้ื ทร่ี ่วมกนั รายรับรายจ่ายเป็นยังไง การใช้จ่าย ไม่ว่าจะเป็น คณะเภสชั ศาสตร์ คณะ ที่ไม่ถูกวิธีก็ทำ�ให้ เกิดปัญหาหนี้สิน การท่องเท่ียวและการโรงแรม คณะ เกิดการยากจน ก็จากส่ิงเหล่านน้ี สาธารณสขุ ศาสตร์ เพอ่ื เปน็ การบรู ณา ท�ำ ใหป้ ระชาชนมคี วามคดิ ทเี่ ปลย่ี นไป การปา่ ใหด้ ยี ง่ิ ขน้ึ จากทล่ี งมากท็ �ำ ใหป้ า่ และน่ีคืสิ่งท่ีทางเราภาคภูมิใจท่ี อุดมสมบูรณข์ นึ้ มากมาย แลว้ เราคิด มหาวทิ ยาลยั ลงมา ว่าจะทำ�ใหป้ ่าโคกขา่ ว เปน็ พื้นทีท่ ่อง เทย่ี วเชงิ นเิ วศ คณะการทอ่ งเทย่ี วและ กจิ กรรมทเ่ี ปน็ ประโยชนก์ บั เรา การโรงแรม โดยมีคณะแพทยศาสตร์ มากกค็ อื กจิ กรรมผสู้ งู อายุ เนอื่ งจาก คณะเภสัชศาสตร์ ท่ีจะมาดูแลเรื่อง ชมุ ชนเหล่าดอกไมม้ จี ำ�นวนผู้สูงอายุ พืชสมุนไพร แม้แต่คณะส่ิงแวดล้อม มาก จากประชากร 6200 คน มีผสู้ ูง คณะสาธารณสุขศาสตร์ กถ็ ือวา่ ทาง อายุ 1200 คน ซง่ึ เปน็ อตั ราทมี่ ากพอ เรา อบต.เหลา่ ดอกไม้ กไ็ ดบ้ รู ณาการ สมควร ปญั หาเหลา่ นเี้ ราอยากใหผ้ สู้ งู เขา้ กบั มหาวทิ ยาลยั มหาสารคามไดด้ ี อายมุ ีสุขภาพทด่ี ี และมีอาชพี ท่เี ลยี้ ง มาก ทำ�ให้พวกเรามคี วามภาคภมู ใิ จ ตวั เองได้ เปน็ ผู้จัดการตัวเองใหไ้ ด้ นี่ ว่าตรงนคี้ อื ปา่ ของพวกเรา และะเรา คอื สิ่งที่เราภาคภมู ใิ จ เร่อื งผสู้ งู อายุ ก็อยากจะทำ�ให้ป่าตรงน้ีเป็นสมบัติ เร่อื งทสี่ อง เรอ่ื งป่าโคกข่าว ของชาติ เพ่ือลูหหลานของเราต่อไป ก็เป็นเร่ืองท่ีสำ�คัญ เป็นเร่ืองป่าไม้ท่ี ในภายภาคหน้า ถือเป็นการบูรณา อยใู่ นพนื้ ทขี่ องอ�ำ เภอชนื่ ชม โดยพนื้ ที่ การกับมหาวิทยาลัยได้ดีเยี่ยม และ ปา่ โคกข่าวจะครอบคลุมสามพื้นที่ 3 อกี ปญั หาหนงึ่ ของ อบต.เหลา่ ดอกไม้ ต�ำ บล ดว้ ยกนั คอื เหลา่ ดอกไม้ ชนื่ ชม กค็ อื ขยะ ขยะทางเรากไ็ มม่ ที ท่ี งิ้ กต็ อ้ ง หนองกุง ต่อไปถึงคำ�เข่ือนแก้วของ จา้ งคนอนื่ ไปทงิ้ ให้ คา่ จา้ งท้งิ กไ็ มเ่ บา กาฬสินธ์ุด้วย ป่าโคกข่าวน้ันเป็น ตอนน้ีค่าจ้างท้ิงก็ไม่เบา ก็กิโลกรัม ป่าไม้ทมี่ ีความอดุ มสมบรู ณ์ แต่กถ็ กู ละ 1 บาท เราจึงมีความคิดว่าจะ ทอดทงิ้ มานาน คนลกั ลอบตดั ไม้ ทาง แยกขยะ คือเร่ิมจากต้นทางก่อน เรามแี กส๊ ชวี ภาพ
พหนู ํ ปณฺ ฑโิ ต ชเี ว ‘ผมู้ ีปญั ญา พึงเปน็ อยเู่ พ่อื มหาชน’ I 23 อยากจะชมเชยวา่ มหาวทิ ยาลยั มหาสารคามเปน็ แหลง่ วชิ าการ แหลง่ มหาสารคาม เป็นแหล่งเรียนรู้ เป็น บคุ ลากร และแหลง่ งบประมาณทส่ี �ำ คญั มหาวทิ ยาลยั เพอ่ื ชมุ ชนจรงิ ๆ ชว่ ยเหลอื ด้วย กอ็ ยากจะชกั ชวนวา่ น่ีเปน็ แหล่ง ชมุ ชนจรงิ ๆ และจากภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทีส่ ำ�คัญส�ำ หรับทุกชมุ ชน ของเราก็ได้นำ�มาบูรณาการร่วมกัน ทำ�ให้ชุมชนของเรากลายเป็นชุมชน ต้นแบบ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองการจำ�กัด หลักการท�ำ งาน ขยะจากต้นทาง การทำ�แก๊สชีวภาพ เราต้องสำ�รวจตัวเองก่อน จากขยะ เรอ่ื งผสู้ ูงอายุ ก็ถอื ว่าไดร้ บั ว่าเรามีทรัพยากรอะไรบ้างที่อยู่ใน ประโยชน์มากมาย จงึ อยากใหช้ ุมชน ท้องถ่ินของเรา เราก็มีคน บุคลากร สนใจในการเข้ารว่ มกบั มหาวทิ ยาลยั มีภูมิปัญญาท้องถิ่น เราสำ�รวจให้ มหาสารคาม เพราะวา่ มหาวิทยาลยั
24 I จดหมายข่าว ‘งานวชิ าการรับใชส้ ังคม’ ปีท่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ รู้ ทุกครัวเรือนเรามีข้อมูล เราจึงมี เหลอื สงิ่ เหลา่ น้ี บอกตรงๆ วา่ เราตอ้ ง ข้อมูลทุกด้าน ไม่ว่าจะเป็นด้านคน ชว่ ยเหลอื ตนเองกอ่ นโดยการมแี นวทาง ดา้ นอาหาร ดา้ นอาชพี ดา้ นทรพั ยส์ นิ ทชี่ ดั เจน โดยทางมหาวทิ ยาลยั อาจเปน็ ต่างๆ เพราะทาง อบต.เหลา่ ดอกไม้ ผ้มู าบอกกล่าวเป็นแนวความคดิ เป็น เราลงไปในพน้ื ที่ชมุ ชนทุกที่ ตรงไหน ทฤษฎี ใหพ้ วกเราท�ำ และจากการที่ มปี ญั หาเรากแ็ กไ้ ขดว่ น เราตอ้ งลงพนื้ พวกเราได้รับความรู้นำ�มาประพฤติ ทตี่ รงนนั้ โดยประสานงานกบั ทกุ ภาค ปฏิบัติตามก็เป้นผลให้ชุมชนเหล่า สว่ น โดยใชบ้ คุ ลาการของเราลงพน้ื ท่ี ดอกไมข้ องเราเปน็ ชมุ ชน เปน็ ต�ำ บลท่ี และหากไมม่ คี วามร้เู ราก็ส่งบคุ ลากร สามารถชว่ ยเหลอื ตนเองได้ เปน็ ต�ำ บล ของเราไปอบรมเพอ่ื มาพัฒนาชุมชน ทจี่ ากคนทย่ี ากจนกค็ ่อยมอี าชพี การ ของเราต่อไป และท่ีสำ�คัญเวลาเรา เปน็ อยทู่ ดี่ ขี น้ึ สามารถเปน็ ตน้ แบบให้ มีปัญหาเราก็แจ้งทางมหาวิทยาลัย กับชมุ ชนอ่นื ๆ เพอ่ื ใหท้ างมหาวทิ ยาลยั ไดเ้ ขา้ มาชว่ ย
พหูนํ ปณฺ ฑิโต ชีเว ‘ผมู้ ปี ัญญา พึงเปน็ อย่เู พอื่ มหาชน’ I 25 อยากให้ฝากบอก อบต. อดุ รธานกี ม็ าศกึ ษาดงู าน และกไ็ ดน้ �ำ ภายนอก สง่ิ ทม่ี าศกึ ษาดงู านไปปฏบิ ตั ชิ มุ ชนเขา ไดท้ กุ ตำ�บล ก็อยากชักชวนทกุ ตำ�บล หรือชุมชนใกล้เคียงมาศึกษาดูงานที่ เมื่อเราร่วมมือกับทาง อบต.เหล่าดอกไม้ เพื่อนำ�ไปพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เรม่ิ ตั้งแต่ ชุมชนของตัวเอง ๏ การลงพน้ื ทกี่ ท็ �ำ ใหเ้ รามชี วี ติ ทดี่ ขี น้ึ มี สุขภาพรา่ งกายดขี น้ึ ผู้สงู อายุ คนใน ชุมชนมีการช่วยเหลือตัวเองได้ดีขึ้น สง่ิ เหล่านี้ และในฐานะทผี่ มเปน็ นายก อบต.เหลา่ ดอกไม้ เหน็ ชมุ ชนใกลเ้ คยี ง มีความสนใจอยากเข้ามารว่ ม แรกๆ เราก็ชักชวนในอำ�เภอเราก่อน ทั้งส่ี ต�ำ บลกไ็ ดข้ ยบั เขา้ มา เปน็ ลกู ขา่ ยบา้ ง ใหเ้ ราเปน็ ทปี่ รกึ ษาบา้ ง ใหเ้ ราไปเปน็ วทิ ยากรใหบ้ า้ ง จนเดย๋ี วนก้ี ข็ ยบั มาหา เราทง้ั สต่ี �ำ บล กถ็ อื ไดว้ า่ เปน็ โครงการ ของทางอ�ำ เภอชน่ื ชมเลย โดยทงั้ สต่ี �ำ บล เราไดร้ ว่ มมอื กนั ท�ำ ทกุ กจิ กรรม ไมว่ า่ จะเปน็ กจิ กรรมผสู้ งู อายุ กจิ กรรมสภา เด็กและเยาวชน กิจกรรมเร่ืองขยะ กจิ กรรมเรอื่ งปา่ โคกขา่ ว กจิ กรรมเรอื่ ง ผตู้ ดิ เชอ้ื กเ็ ปน็ การขยายผลท�ำ รว่ มกนั ทัง้ อำ�เภอ ส่งิ เหล่านท้ี �ำ ให้อำ�เภอใกล้ เคียงท่อี ย่ตู ิดกัน เชน่ อำ�เภอเชียงยืน อำ�เภอกระนวน ขอนแก่น อำ�เภอ ซำ�สงู จังหวดั ขอนแก่น ก็ได้ส่งคนมา สอบถาม มาศกึ ษาดงู าน แมแ้ ตจ่ งั หวดั
26 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑
พหนู ํ ปณฺ ฑโิ ต ชเี ว ‘ผ้มู ปี ัญญา พงึ เปน็ อยู่เพ่อื มหาชน’ I 27
28 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ กันยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ รศ.ดร.ดรณุ ี รุจกรกานต์ คณบดี คณะพยาบาลศาสตร์
สัมภาษณพ์ ิเศษ / รอบรว้ั มมส เรอื่ ง / เรียบเรียง / ภาพ : กองบรรณาธิการ รศ.ดร.ดรุณี รจุ กรกานต์ กิจกรรมโรงเรยี นผู้สูงอายแุ บบบรู ณาการ โดยกจิ กรรมทท่ี �ำ วนั น้ที ำ�ไมถงึ ทำ�เคร่ืองออกกำ�ลงั กาย ก็เพราะทำ� จากปญั หาทเี่ ราไดล้ งพนื้ ทเี่ พอ่ื ส�ำ รวจ ศกึ ษาสถานการณก์ พ็ บวา่ ชาวบา้ นเขา ทานผงชรู สเยอะ เราจงึ ตง้ั โจทยว์ า่ ท�ำ อยา่ งไรผสู้ งู อายจุ ะ \"ทานขา้ วอรอ่ ย\" โดยไมไ่ ดใ้ ช้ผงชูรส ทำ�อยา่ งไรผ้สู ูง อายุถึงจะรับประทานใช้ผักต่างๆ ที่ มอี ยใู่ นชมุ ชน เช่น ตะไคร้ ใบมะกรดู ขมนิ้ ขงิ ใบผงชรู ส (ใบไชยา) ใบหมอ่ น ก็จะนำ�มาปนกันคลุกกันเพื่อให้ กลายเป็นผงนวั
30 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบบั ท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ รศ.ดร.ดรณุ ี รจุ กรกานต์ คณบดี คณะพยาบาลศาสตร์
พหูนํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผูม้ ีปัญญา พึงเป็นอยเู่ พือ่ มหาชน’ I 31 บทสัมภาษณ์คณะบดีคณะ พยาบาล พอเรามสี โลแกนแบบนแี้ ลว้ พยาบาลศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั เรากแ็ บง่ งานกนั ระหวา่ งอาจารยน์ สิ ติ มหาสารคาม ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ ของผสู้ งู อายใุ น ชุมชน แล้วก็ท�ำ การประเมนิ จากผู้สงู อายจุ �ำ นวน 53 คน คอื ผสู้ งู อายเุ กอื บ กิจกรรมโรงเรียนผู้สูงอายุ ทง้ั หมดทยี่ งั คงอยใู่ นหมบู่ า้ น กม็ ที งั้ ที่ มีการบูรณาการหลายอย่าง และ ตดิ บา้ น ทง้ั ตดิ เตยี ง ซงึ่ ตดิ เตยี งกม็ นี อ้ ย นอกจากน้ัน ในโครงการของเรา ลงแล้ว และติดสังคม ซึ่งที่มานี้ก็คือ เรากไ็ ดใ้ ชค้ �ำ ของกรมอนามยั ทพ่ี ดู กนั ตดิ สงั คม โดยสว่ นหนง่ึ กเ็ ปน็ นกั เรยี น ว่า \"ผู้สูงอายุ ไม่ลม้ ไม่ลืม ไมซ่ ึมเศรา้ ในโรงเรียนผู้สูงอายุของเรา แล้วเรา กนิ ขา้ วอรอ่ ย\" เรากน็ �ำ ค�ำ นมี้ าใชใ้ นการ ก็จะแบ่งนิสิต เพื่อไปลงพ้ืนท่ีในการ ทำ�โครงการของเรา ร่วมกันกับคณะ สัมภาษณ์สำ�รวจในแต่ละหมู่บ้าน สถาปตั ยกรรม คณะวศิ วกรรมศาสตร์ ทม่ี ผี ูส้ ูงอายุ แลว้ จงึ นำ�ปญั หาท่ีไดม้ า และเราก็แบ่งงานกัน ภายใต้ประโยค วิเคราะห์แล้วก็ทำ�ประชาคม ก่อนที่ ดังกล่าว เช่น \"ไม่ล้ม\" เราให้คณะ จะคืนข้อมูลท่ีเราจัดทำ�คืนสู่ชุมชน สถาปัตยกรรมศาสตร์ ไปออกแบบ กพ็ บวา่ ผสู้ งู อายขุ องชมุ ชนบา้ นแหยง่ ว่าจะทำ�อย่างไรเพื่อให้ผู้สูงอายุไม่ หมทู่ ่ี 9 กบั หมทู่ ่ี 25 มปี ญั หา ในดา้ น ล้ม ไม่ลื่น แล้วก็ คำ�ว่า \"ไม่ลืม\" ก็ สขุ ภาพ เชน่ ขอ้ เขา่ เสอ่ื ม โรคกระเพาะ มอบให้คณะวิศวกรรมศาสตร์ ไป อาหาร โรคความดันโลหิตสูง โรค ซง่ึ คณะวศิ วกรรมศาสตร์ เขากม็ รี ายวชิ า ซมึ เศร้า และจากการลงพืน้ ที่เราก็ได้ หนึง่ หลักสูตรหนึ่งชมุ ชนของเขา แลว้ สำ�รวจบ้านเขาด้วยว่าเป็นอย่างไร เขากแ็ บง่ นสิ ติ มากลมุ่ หนงึ่ กบั อาจารย์ มีห้องนำ้� ห้องนอน ท่ีอยู่อาศัยเป็น ออกมาท�ำ รว่ มกนั กบั เรา แลว้ เขากไ็ ป อยา่ งไร แลว้ เรากส็ ง่ ขอ้ มลู ใหก้ บั คณะ ออกแบบวา่ จะให้ไม่ลมื อยา่ งไร หรือ สถาปตั ยกรรมศาสตร์ แลว้ เรากช็ เี้ ปา้ ลืมแล้วจะช่วยทำ�อย่างไร เช่น หา ใหว้ า่ บา้ นหลงั ไหนควรจะไดร้ บั การปรบั ส่ิงของที่ลืมเจอ ขอความช่วยเหลือ สภาพอยา่ งไร เพอ่ื ทผ่ี สู้ งู อายจุ ะไดไ้ ม่ ไดอ้ ยา่ งไร ค�ำ วา่ ไมซ่ มึ เศรา้ \" กจ็ ะเปน็ ลม้ อยา่ งเชน่ หอ้ งน�ำ้ แตด่ ว้ ยเรามงี บ คณะพยาบาล นิสิตคณะพยาบาล ประมาณนอ้ ยกค็ ดั บา้ นไว้ 4 หลงั เชน่ ก็รับมา \"กินข้าวอร่อย\" ก็เป็นคณะ ห้องนำ้� หลงั จากท่เี ราลงพ้นื ทสี่ ำ�รวจ
32 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑
พหูนํ ปณฺ ฑิโต ชีเว ‘ผ้มู ีปญั ญา พึงเป็นอยู่เพือ่ มหาชน’ I 33 เพราะเป็นโครงการต่อเน่ือง จากปีท่ีแล้ว เราก็ทำ�โครงการหนึ่ง หลกั สตู รหนง่ึ ชมุ ชน โครงการ \"บดั ดี้ สูงวยั ใส่ใจสุขภาพ\" คือ เราก็จับ เอานสิ ติ เปน็ บดั ดกี่ บั ผสู้ งู อายุ แลว้ มา ฝึกอบรมเรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพ เขา กจ็ ะจบั คกู่ นั เปน็ บดั ดกี้ นั เพอื่ ไปดแู ล สขุ ภาพ ไปใหค้ �ำ ปรกึ ษา ดแู ลผสู้ งู อายุ เรากเ็ ลยตงั้ เปน็ โครงการ \"บดั ดสี้ งู วยั ใสใ่ จสขุ ภาพ\" จากโครงการดงั กลา่ ว ก็ถือวา่ เปน็ โครงการทีป่ ระสบความ ส�ำ เรจ็ โดยดไู ดจ้ ากหลงั ปดิ โครงการ ผู้สูงอายุก็ชอบ \"ผู้สูงอายุได้เรียน รู้จากนิสิต นิสิตก็ได้เรียนรู้จากผู้ สงู อาย\"ุ
34 I จดหมายขา่ ว ‘งานวิชาการรับใชส้ ังคม’ ปีที่ ๕ ฉบบั ท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เรากจ็ ะใหส้ ถาปนกิ ไปดแู ลว้ ออกแบบ พืน้ ทใี่ นการเลือก ว่าจะปรับบ้านให้เหมาะสมกับผู้สูง อายอุ ย่างไร เพราะเปน็ โครงการตอ่ เนอื่ ง วันน้ันไปนั่งบ้านยาย จากปีท่ีแล้ว เราก็ทำ�โครงการหนึ่ง ทองจันทร์ มีนิสิตเดินผ่าน ยายก็ หลกั สูตรหน่ึงชุมชน โครงการ \"บัดดี้ ตะโกนเรียก วา่ ท�ำ ไมไม่แวะบ้านยาย สูงวัย ใสใ่ จสุขภาพ\" คอื เราก็จบั เอา ยายกจ็ �ำ ได้ อาจารยก์ โ็ วยวายวา่ ท�ำ ไม นิสิตเป็นบัดดี่กับผู้สูงอายุ แล้วมา ไม่แวะบ้านยาย (อันแสดงถึงความ ฝึกอบรมเร่ืองการดูแลสุขภาพ เขาก็ ผกู พนั ระหวา่ งชมุ ชนกบั มหาวทิ ยาลยั จะจับคู่กันเป็นบัดด้ีกัน เพื่อไปดูแล และสายใยอันดีงามของชุมชนต่อ สขุ ภาพ ไปใหค้ �ำ ปรกึ ษา ดแู ลผสู้ งู อายุ มหาวทิ ยาลยั ) เราก็เลยตัง้ เปน็ โครงการ \"บัดด้สี ูงวัย
พหนู ํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผมู้ ปี ญั ญา พงึ เปน็ อยเู่ พ่อื มหาชน’ I 35 ใส่ใจสุขภาพ\" จากโครงการดังกล่าว และปหี นา้ อาจยา้ ยพน้ื ทไี่ ปพน้ื ท่ี ก็ถือว่าเป็นโครงการที่ประสบความ อืน่ เพือ่ ท�ำ โครงการดงั กลา่ ว สำ�เร็จ โดยดไู ด้จากหลังปดิ โครงการ ผสู้ งู อายกุ ช็ อบ \"ผสู้ งู อายไุ ดเ้ รยี นรจู้ าก นิสิต นิสิตก็ได้เรียนรู้จากผู้สูงอายุ\" เราบรู ณาการเขา้ กบั รายวชิ า ซ่ึงนิสิตเองก็จะเป็นนิสิตช่วงต้นๆ เราก็ทดลอง Service Learning นิสิตที่ไม่เคยข้ึนบ้านคนอ่ืน ก็ไม่รู้ เข้ากับรายวิชา ทำ�อย่างไรให้นิสิต จะทำ�อย่างไร ผู้สูงอายุก็จะแนะนำ� มีความสัมพันธ์กับชุมชนในเรื่อง เปน็ ผชู้ ่วยพานิสิตลงชุมชน เช่น การ Service Learning เปน็ Community ทกั ทายกนั กเ็ ลยจดั โครงการดงั กลา่ ว Engatement to Service Learning ต่อเน่อื งมา โดยปนี ้ใี ช้พนื้ ทเี่ ดิม กค็ ดิ วา่ จะประเมนิ จากโครงการน้ี นสิ ติ โดยกจิ กรรมทท่ี �ำ วนั นที้ �ำ ไม ก็ได้เยอะ นี่นสิ ิตเพ่ิงขน้ึ ปีสอง ถงึ ท�ำ เครอ่ื งออกก�ำ ลงั กาย กเ็ พราะท�ำ โครงการหน่ึงหลักสูตรหน่ึง จากปญั หาทเ่ี ราไดล้ งพน้ื ทเี่ พอื่ สำ�รวจ ชมุ ชนดีอยา่ งไร ศกึ ษาสถานการณก์ พ็ บวา่ ชาวบา้ นเขา ทานผงชรู สเยอะ เราจงึ ตงั้ โจทยว์ า่ ท�ำ อย่างไรผู้สูงอายุจะ \"ทานข้าวอร่อย\" ถ้าให้เด็กลงพ้ืนท่ีหรือทำ� โดยไม่ได้ใช้ผงชูรส ทำ�อย่างไรผู้สูง โครงการจากนิสิตท่ีเรียนจากปีต้นๆ อายุถึงจะรับประทานใช้ผักต่างๆ ที่ เด็กก็จะดี และเราก็จะทำ�โครงการ มีอย่ใู นชมุ ชน เชน่ ตะไคร้ ใบมะกรดู ผ่านปรัชญาของมหาวิทยาลัยท่ีว่า ขมนิ้ ขงิ ใบผงชรู ส (ใบไชยา) ใบหมอ่ น \"ผู้มีปัญญา พึงเป็นอยู่เพ่ือมหาชน\" ก็จะนำ�มาปนกันคลุกกันเพื่อให้ ถามวา่ คณะพยาบาลมวี ชิ าทเ่ี กย่ี วกบั กลายเป็นผงนัว แบ่งเป็น 6 กลุ่ม ชมุ ชนไหม กต็ อบวา่ มแี ตถ่ า้ จะใหด้ เี ดก็ นิ เชน่ สมุนไพร จะท�ำ อยา่ งไรเพ่อื ให้รุ้ สติ คสรไดล้ งไปสมั ผสั พน้ื ทชี่ มุ ชนจรงิ ๆ สึกสดชื่น เช่น ทำ�สบู่ท่ีดมแล้วทำ�ให้ ด้วย เพราะปรชั ญาของมหาวิทยาลยั คลายความซมึ เศรา้ การออกก�ำ ลงั กาย เป็นเรอื่ งทส่ี ำ�คญั เพราะว่าเดก็ เข้าใจ นิสิตก็ประดิษฐ์เร่ืองออกกำ�ลังกาย กจ็ ะท�ำ ใหเ้ ดก็ มจี ติ ส�ำ นกึ และอาจารย์ งา่ ยๆ อาจตอ่ ยอดสผู่ ลติ ภณั ฑภ์ ายใน ควรจะถอดความจากปรัชญา เวลา ชมุ ชนต่อไปในอนาคต เช่น ทำ�ผงนัว นสิ ติ จบไปก็จะเข้าใจ
36 I จดหมายข่าว ‘งานวิชาการรับใชส้ งั คม’ ปที ี่ ๕ ฉบับท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ชุมชน ผา่ นปรชั ญาของมหาวทิ ยาลยั รายวิชาหนึ่งหลักสูตรหน่ึงชุมชน แต่ ถ้าเราไม่สร้างตรงน้ีเด็กนิสิตอาจไม่ รายวชิ าหนึ่งหลกั สตู รหนง่ึ ชมุ ชนอาจ สัมผัสถึงปรัชญาของมหาวิทยาลัยท่ี จบเทอม แต่โครงการบรกิ ารวชิ าการ มีต่อชุมชน การพยาบาลชุมชน ซ่ึงก็ อาจดำ�เนินการต่อ จากนั้นเราก็คุย เปน็ เรอ่ื งทด่ี ี วา่ ผปู้ ว่ ยมาอยา่ งไร กจ็ ะ กันกับชาวบ้านวา่ เราเรม่ิ จากนีด้ ีไหม ได้รู้ท่ีมาท่ีไปว่าผู้ป่วยเขาอยู่อย่างไร จากวดั เพอ่ื เปน็ การสรา้ งกระบวนการ เช่น ผู้ป่วยติดบ้าน ทำ�ไมท้องเสีย เรียนรู้ เช่น การสร้างห้องน้ำ� เป็น ทำ�ไมหกล้ม นิสิตก็จะเข้าใจบริบท ห้องน้ำ�แห้งได้ไหม ทำ�อย่างไรที่ให้ผู้ ชุมชนและให้ความรู้กับชุมชน คนไข้ สงู อายุ ไม่ลืน่ หกล้ม และอาจจะท�ำ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง ท่นี ัง่ ผสู้ ูงอายุ ก็ออกแบบโดยเรมิ่ จาก วัดก่อน และก็เริ่มจากบ้านบางหลัง เป็นบ้านตัวอย่าง ประตู ห้องนอน โครงการพัฒนาต้นแบบ ก็คิดว่าเป็นเหมือนการเร่ิมบุกเบิก จรงิ ๆ คอื เราจะท�ำ โครงการ ซ่ึงทางเราก็เร่ิมสร้างบ้านท่ีเป็นมิตร พัฒนาชุมชนต้นแบบให้เป็นมิตรกับ กับผ้สู ูงอายุ เช่น ทา่ ขอนยาง ผู้สูงอายุ ตรงนี้ก็เป็นส่วนหนึ่งของ
พหูนํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผู้มปี ญั ญา พงึ เปน็ อยเู่ พ่อื มหาชน’ I 37 ท่ีจริงก็มีอุปสรรค การลง ชุมชน เรามาลงในพ้ืนท่ี ชมุ ชน หากเรามาท�ำ อะไรท่ี ขดั กบั ชมุ ชนกถ็ อื วา่ เรอื่ งไมด่ ี การถ่ายทอดของผู้สูงอายุ ความรู้ไปสู่ชุมชน ได้เติมเต็มความรู้ กับผู้สูงอายุ ก็เชิญกันมาโรงเรียน รว่ มกนั กม็ าเปน็ สบู่ ท�ำ ใหผ้ สู้ งู อายมุ คี วามสขุ จากซมึ เศรา้ เขากจ็ ะเตรยี มตวั ถา้ เราบอก ก็ไม่ซมึ เศรา้ มีเพื่อนผ้สู ูงอายุดว้ ยกนั ว่าเราจะไปเย่ียมบ้าน เพราะวัดเป็น ถ้าพูดถึงนิสิตของเราก็มา ท่รี วมศูนย์ ชว่ ยซงึ่ ปแี รกๆ เรากเ็ กณฑน์ สิ ติ มาชว่ ย ตอ่ มากใ็ ชน้ สิ ติ จติ อาสาลงพน้ื ทชี่ มุ ชน ชาวบา้ นก็มีความสขุ อยากให้ผู้สูงอายุมีทักษะ การดูแล ที่จริงก็มีอุปสรรค การลง สุขภาพผู้สูงอายุ เด็กนิสิตก็ไปสอน ชุมชน เรามาลงในพื้นท่ีชุมชน หาก ที่บ้านเลย ลูกหลานก็เรียนรู้อยู่กับ เรามาทำ�อะไรท่ีขัดกับชุมชนก็ถือว่า เราดว้ ยเลย เพอื่ น�ำ เอาองคค์ วามรไู้ ป เรอ่ื งไมด่ ี เรียนรู้ร่วมกัน นิสิตก็ได้นำ�เอาองค์
38 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑
พหนู ํ ปณฺ ฑโิ ต ชเี ว ‘ผู้มปี ัญญา พงึ เปน็ อยู่เพือ่ มหาชน’ I 39 เราท�ำ งานโดยไมแ่ ยง่ ชาวบา้ น กัน แต่เราต่างร่วมมือกันช่วยเหลือ ผู้สงู อายุ ท�ำ อะไรกท็ �ำ ใหเ้ หน็ เปน็ รปู ธรรม ทำ�อย่างไรใหม้ หาวิทยาลยั อยู่ ร่วมกบั ชุมชนรอบข้าง ชุมชนเป็นแหล่งเรียนรู้ ของเรา การเรยี นรแู้ คใ่ นหอ้ งเรยี นเปน็ สิ่งที่จำ�กัดมาก แต่เราเรียนรู้จาก ชมุ ชน เราเรยี นจากประสบการณจ์ รงิ เราสามารถนำ�เอาองค์ความรู้ไปต่อ ยอดได้ เป็นการเรียนรู้ตลอดชีวิต เปน็ การเรียนรจู้ ากประสบการณ์จริง ก็เป็นโชคดขี องนิสิตที่ได้เรยี นรตู้ ัง้ แต่ เริ่มแรก \"ถ้าเราเอาความรู้มาให้เขา ตัวเราก็เหมือนแก้วเต็มนำ้� ตัวเรานีพ่ รอ้ มท่ีจะมาเรียนรู้\"
40 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ ังคม’ ปที ี่ ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ เรากไ็ ดร้ ใู้ นวถิ ชี วี ติ ของชาว บ้าน ในเร่ืองอาหารการกิน วิถีประจ�ำ วัน ก็เหมอื นเป็น กจิ กรรมการผอ่ นคลายพวก หนูดว้ ย เราเหมือนได้กลบั มาบา้ น ชมุ ชนก็เสมอื นบ้าน นิสิต วิถีชีวิตของชาวบ้าน ในเร่ืองอาหาร การเรยี นรจู้ ากเรอ่ื งจรงิ กน็ ำ� การกิน วิถีประจำ�วัน ก็เหมือนเป็น กิจกรรมการผ่อนคลายพวกหนูด้วย เอาไปปรับใช้ การมาลงชุมชนได้สม พนั ธภาพกบั ชาวบา้ น ไดค้ ยุ ไดส้ มั ผสั เราเหมือนได้กลับมาบ้าน ชุมชนก็ ในเร่ืองของการส่ือสาร เราก็ได้รู้ใน เสมอื นบา้ น ๏
42 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑
สัมภาษณพ์ เิ ศษ / รอบรว้ั มมส เรอ่ื ง / เรยี บเรยี ง / ภาพ : กองบรรณาธิการ ฉวีวรรณ อรรคะเศรษฐงั กบั บทบาทของ กองส่งเสริมการวจิ ยั และบริการวิชาการ กองส่งเสริมการวิจัย งานสนบั สนนุ ซง่ึ มหี นา้ ทใ่ี นการจดั หา และบริการวิชาการ นักวิชาการท่ีมีองค์ความรู้ทางด้าน มหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม ด้วยพันธ วชิ าการ เทคโนโลยี มนี วตั กรรม รวมถงึ กจิ หลกั ของเราสว่ นหนงึ่ กค็ อื ในเรอื่ ง มนี สิ ติ ในมอื ทจ่ี ะไปชว่ ยชาวบา้ นชว่ ย ของการบริการวิชาการแก่สังคม โดย ชุมชน ให้เขามีความรู้ รวมถึงเรื่องท่ี กองส่งเสริมการวิจัยและบริการ จะน�ำ ไปพฒั นาอาชพี เพอ่ื ใหส้ ามารถ วิชาการนั้น ถือได้ว่าเราเป็นหน่วย สร้างรายได้ให้แก่ตัวเอง ครอบครัว
44 I จดหมายขา่ ว ‘งานวิชาการรับใช้สังคม’ ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ส่วนตัวของนิสิตก็ถือว่าเป็น ผู้ช่วย เป็นลูกทีม ให้กับอาจารย์ ในการทจี่ ะไปชว่ ยชมุ ชน สง่ิ ทไ่ี ดก้ ค็ อื ประสบการณท์ ดี่ ี ไดฝ้ กึ จติ อาสา ได้ ฝกึ การทำ�งานการพูดคุย เวลาอยู่ ในหอ้ งเรยี นกจ็ ะเปน็ บรรยากาศหนง่ึ แตเ่ มอื่ เราไดล้ งพน้ื ที่ เราไดเ้ อาองค์ ความรู้จากห้องเรียนไปให้ชาวบ้าน มนั กจ็ ะเปน็ อกี บรรยากาศหนึ่ง ให้มีรายได้เพ่ิมข้ึน มีคุณภาพชีวิต อะไรบ้าง จากนั้นเราก็จะมาประชมุ ทด่ี ขี น้ึ อนั นกี้ ถ็ อื เปน็ เปา้ ประสงคห์ ลกั ด�ำ เนนิ การจดั หานกั วชิ าการ แลว้ จงึ ลง ของงานบริการวชิ าการ เพราะฉะนั้น ไปแกป้ ญั หาให้กบั ชมุ ชนนนั้ ไม่วา่ จะ ในฐานะท่ีกองส่งเสริมการวิจัยและ เปน็ เรอ่ื งใดใดกต็ าม ดว้ ยศาสตรส์ าขา บริการวิชาการ เป็นหน่วยส่งเสริม ของมหาวทิ ยาลยั มหาสารคามมคี อ่ น สนับสนุน เราก็จะเช่ือมโยงกัน ข้างเยอะ เกือบทุกสาขาวิชา เพราะ ระหว่างนโยบายจากมหาวิทยาลัย ฉะนนั้ ไมว่ า่ จะเปน็ ปญั หาเรอื่ งใด เรา พอรับนโยบายจากทางมหาวทิ ยาลัย สามารถทจี่ ะชว่ ยเหลอื ได้ ทางเรากจ็ ะ มา เราก็จะประสานงานกับนักวิจัย ท�ำ หนา้ ทใี่ นการประสาน ซงึ่ เปน็ หนา้ ที่ นักวิชาการ ตามความต้องการของ หลักในการประสานงานกับอาจารย์ ชุมชน ว่าส่ิงท่ีชุมชนต้องการให้ นกั วชิ าการ รวมถงึ นสิ ติ ทเี่ รามงุ่ หวงั วา่ มหาวิทยาลัยช่วยเหลือน้ันมีเรื่อง จากโครงการบรกิ ารวชิ าการเราจะให้
พหนู ํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผ้มู ปี ญั ญา พึงเปน็ อยเู่ พอื่ มหาชน’ I 45 นิสิต ได้ฝึกการมีจิตสาธารณะ ท่ีจะ เชี่ยวชาญ เพื่อท่ีจะก่อตั้งโรงเรียน ไปช่วยชมุ ชน เพื่อใหเ้ ขาได้ มโี อกาส ต้นแบบ ซึ่งสถานที่ที่เราลง เราก็ได้ ได้ไปสัมผัสการลงพ้ืนท่ี เพื่อที่จะ กำ�หนดให้เป็นพื้นที่ Area Based ได้เรียนรู้ ถือเป็นประสบการณ์ เกิด เพือ่ จะพฒั นาให้เปน็ เขตพื้นท่ีบริการ ความทรงจ�ำ ทดี่ ี เพือ่ ท่ใี นอนาคตเม่อื วชิ าการของมหาวทิ ยาลยั มหาสารคาม เขาสำ�เร็จการศึกษา เขาจะได้นำ�เอา นนั่ กค็ อื อบต.เหลา่ ดอกไม้ ซง่ึ ขอ้ ดขี อง องคค์ วามรตู้ ลอดจนประสบการณไ์ ป อบต.เหล่าดอกไม้ก็คือ มีผู้นำ�ชุมชน ชว่ ยเหลอื ชมุ ชนและสงั คมได้ ซง่ึ ถอื เปน็ ท่ีเข้มแข็ง แล้วก็มีชุมชนที่ให้ความ คณุ สมบตั หิ นงึ่ ของนสิ ติ มหาวทิ ยาลยั รว่ มมอื เป็นอย่างดี เราก็ไดฟ้ อรม์ ทีม มหาสารคาม “การเปน็ ทพี่ งึ่ ของสงั คม ขน้ึ มา แลว้ กไ็ ดม้ กี ารพบปะพดู คยุ กนั และชมุ ชน” ท่ีควรมดี ้วย หลายคร้งั จนในที่สดุ เรากส็ ามมารถ ตั้งโรงเรยี นผู้สงู อายุ ของ อบต.เหล่า ดอกไม้ได้ จากกิจกรรมของ อบต. “โครงการโรงเรยี นผ้สู ูงอายุ เหลา่ ดอกไม้ ทม่ี โี รงเรยี นผสู้ งู อายุ เรา ตน้ แบบ” เกดิ จากการทม่ี ผี นู้ �ำ ชมุ ชนได้ กไ็ ดล้ งพืน้ ที่ ในฐานะท่เี ราเป็นหน่วย เดนิ ทางมาหาเรา แลว้ กบ็ อกกบั เราวา่ งานรับผิดชอบหลัก เราก็ได้ลงพื้นที่ อยากให้มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เพอ่ื ไปดวู า่ ผลของการจดั ตงั้ โรงเรยี น ได้ให้ความช่วยเหลือในเรอ่ื งของการ ผสู้ งู อายเุ ปน็ อยา่ งไร กพ็ บวา่ ชาวบา้ น ต้ังโรงเรียนผู้สูงอายุ ซึ่งเราก็เห็นว่า หรอื ผสู้ งู อายมุ คี วามสขุ มาก อารมณด์ ี ในปัจจุบันนี้ ผู้สูงอายุในชนบทก็มี สุขภาพแข็งแรงขึ้น มีอาชีพใหม่ๆ จำ�นวนคอ่ นข้างเยอะ ทำ�ให้เราคิดว่า เกดิ ขนึ้ ถือว่าเปน็ โรงเรียนผู้สงู อายทุ ่ี เราจะชว่ ยชมุ ชนไดอ้ ยา่ งไร ตรงนก้ี ถ็ อื ประสบผลส�ำ เรจ็ เพราะวา่ หลงั จากนนั้ เปน็ เปา้ ประสงคห์ นง่ึ ของมหาวทิ ยาลยั ก็มี ชมุ ชนหรือ อบต.อ่นื ๆ มาศึกษา ทจ่ี ะตอบสนองนโยบายของประเทศ ดูงานมากมายใน อบต.เหล่าดอกไม้ ในเร่ืองของผู้สูงอายุท่ีมีจำ�นวนมาก ซงึ่ องคป์ ระกอบตา่ งๆ หรอื ความส�ำ เรจ็ ยิ่งขึ้น เราก็มองเห็นวา่ ปัญหาหรอื ส่งิ เหลา่ นน้ั กไ็ มไ่ ดเ้ กดิ จากมหาวทิ ยาลยั ทีช่ มุ ชนอยากไดเ้ ปน็ เร่อื งทด่ี ี เรากไ็ ด้ มหาสารคามเพียงอยา่ งเดียว แต่เกิด รับฟงั ปญั หาจากชมุ ชน แลว้ เราก็เร่มิ จากชุมชน ดว้ ยตัวของชมุ ชนเองด้วย หาผู้เชี่ยวชาญ ท่ีมีความรู้ มีความ เพราะฉะนนั้ เมอ่ื สองสว่ นนไ้ี ดเ้ ขา้ กนั
46 I จดหมายขา่ ว ‘งานวิชาการรับใชส้ งั คม’ ปีท่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กันยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑ กท็ �ำ ใหโ้ รงเรยี นผสู้ งู อายปุ ระสบความ หนองกุง ซง่ึ ทาง อบต.กไ็ ด้แจง้ ความ สำ�เร็จ เราก็เลยยกโรงเรียนผู้สูงอายุ ประสงค์มาแล้ว ว่าจากท่ีเห็น อบต. ของ อบต.เหลา่ ดอกไม้ เปน็ “โรงเรยี น เหลา่ ดอกไม้ อบต.หนองกงุ เขาประสบ ผู้สูงอายตุ ้นแบบ” ความส�ำ เรจ็ จงึ อยากด�ำ เนนิ โครงการ ตาม ทางเราก็คงไดไ้ ปช่วย 2 อบต.นี้ โดยในปถี ดั มา เรากไ็ ดม้ กี าร ขยายผลไปยัง อบต.หนองกงุ ซึง่ ก็จะ พดู คยุ กนั ระหวา่ งหวั หนา้ ราชการตา่ งๆ ทำ�ให้มี โรงเรียนผู้สูงอายุเพ่ิมข้ึนอีก ทอี่ ยใู่ นอ�ำ เภอชน่ื ชมวา่ เราจะชว่ ยชมุ ชน หน่ึงโรงเรียนในปีน้ี สำ�หรับปัญหา ในเรือ่ งน้ี เพือ่ ให้เกดิ ประโยชน์ แล้วก็ และอปุ สรรคกค็ งจะเปน็ เรอ่ื งของระยะ เพอ่ื ทจี่ ะไดข้ ยายวงกวา้ งออกไป ซง่ึ เรา เวลา ทอี่ าจจะไมต่ รงกนั บ้าง หรือใน กเ็ หน็ วา่ โรงเรยี นผสู้ งู อายตุ น้ แบบของ เร่ืองของงบประมาณท่ีมีไม่เพียงพอ เหลา่ ดอกไม้ ใน อบต.อนื่ ๆ ในอ�ำ เภอ ซ่ึงทาง อบต.หรือทางมหาวิทยาลัย ชนื่ ชม ซงึ่ ในปถี ดั มากค็ อื ปี 2561 เรา เองก็คงต้องมีการบริหารจัดการร่วม ก็ได้ขยายพ้ืนท่ี เพ่ือก่อต้ังโรงเรียน กัน ช่วยเหลือกัน หาวิธีการ ถึงแม้ ผู้สูงอายุ ใน อบต.ช่ืนชม ซ่ึงเราก็ได้ จะมีงบประมาณน้อย เราก็อยากให้ ไปช่วยวางแผน พัฒนา จนสามารถ มีโรงเรียนผู้สูงอายุ เพ่ือที่จะให้เกิด จัดต้ังโรงเรียนได้ โดยมี อบต.เหล่า ประโยชน์แก่ชุมชน เพื่อท่ีจะให้ผู้สูง ดอกไม้มาชว่ ยเป็น “พ่เี ลยี้ ง” เป็นตน้ อายมุ โี อกาสพบปะกนั มคี ณุ ภาพชวี ติ แบบท่ีจะมาขยายผลให้เกิดโรงเรียน ท่ีดีขึ้น มอี าชพี เพ่ิมขนึ้ ส่ิงเหลา่ นคี้ อื ผ้สู ูงอายุท่ีมีคุณภาพ ส่งิ ท่ีทางเรามุง่ หว้งอยากจะใหเ้ ป็น จากผลท่ีได้จัดต้ังโรงเรียน งานบริการวิชาการเพื่อ ผสู้ งู อายอุ �ำ เภอ.ชนื่ ชม กท็ �ำ ใหผ้ สู้ งู อายุ สังคม ถือเป็นงานท่ีถ้าเปรียบเทียบ อำ�เภอช่ืนชม มีความสุขพอสมควร กบั บรบิ ทอนื่ ๆ ของอาจารย์ กค็ อื การ และสามารถทจ่ี ะเปน็ โรงเรยี นตน้ แบบ เรียนการสอน การวิจัย และก็อื่นๆ ใหแ้ ก่ โรงเรียนผูส้ ูงอายอุ ่ืนๆ งานบริการวิชาการถือเป็นงานท่ียุ่ง ยากมากท่สี ดุ เพราะวา่ องคป์ ระกอบ ซ่ึงในปีน้ีเราก็คงจะขยับ ของการท�ำ งานบริการวิชาการ ไม่ได้ โรงเรียนผู้สูงอายุ ไปอีก ไปท่ี อบต. ขนึ้ อยกู่ บั ตวั อาจารย์นกั วชิ าการ หรือ
พหนู ํ ปณฺ ฑิโต ชเี ว ‘ผ้มู ปี ัญญา พงึ เปน็ อยู่เพื่อมหาชน’ I 47 นกั วิจยั เท่าน้ัน แตจ่ ะตอ้ งมี ชาวบ้าน คมุ้ คา่ หนง่ึ คอื เราไดฝ้ กึ จติ อาสา สอง หรอื ชมุ ชน เขา้ มาเกี่ยวข้อง ซ่งึ ถา้ จะ เราได้ฝึกจิตสาธารณะ สามชุมชน ให้งานบริการวิชาการประสบความ ประชาชน ชาวบา้ นไดป้ ระโยชน์ ถอื วา่ ส�ำ เรจ็ ไดน้ น้ั มนั จะตอ้ งขนึ้ อยกู่ บั ชมุ ชน เราได้ ท�ำ บญุ ดว้ ย เพราะวา่ สง่ิ ทเี่ ราไป ในการใหค้ วามรว่ มมอื ดว้ ย ไมง่ น้ั งาน บริการวิชาการ เราก็คาดหวังว่าชาว กจ็ ะไม่สำ�เรจ็ จึงถอื เปน็ งานทีย่ ุ่งยาก บ้านจะได้ประโยชน์ ได้รับประโยชน์ กวา่ งานอนื่ ๆ เพราะว่าจะตอ้ งมกี าร สงู สุด ไมว่ ่าจะเป็นเศรษฐกิจ รายได้ ลงพนื้ ทห่ี ลายครงั้ เพอ่ื ทจี่ ะไดไ้ ปพบปะ สขุ ภาพ หรอื สงิ่ ต่างๆ ทีเ่ ขาต้องการ พดู คยุ เพอื่ ท�ำ ความเขา้ ใจ หรอื แมบ้ าง เรากจ็ ะไปชว่ ยเขาแกป้ ญั หาในฐานะผู้ ครง้ั ถงึ ขน้ั ตอ้ งมกี ารท�ำ ประชาพจิ ารณ์ มคี วามรู้ ผมู้ สี ตปิ ญั ญา เอาความรทู้ ี่ ประชาคม ซึง่ อุปสรรคกค็ งเยอะแยะ ไดไ้ ปใหช้ าวบา้ น ท�ำ ใหช้ าวบา้ นเกดิ ผล มากมายในการท�ำ งานบรกิ ารวชิ าการ ทีด่ ีตอ่ ชีวติ เขาเอง ซึง่ สิง่ ตา่ งๆ เหล่า ใหป้ ระสบผลสำ�เรจ็ เพราะถอื วา่ งานน้ี นท้ี ำ�ใหเ้ กดิ การพฒั นา เศรษฐกิจจาก องคป์ ระกอบไมไ่ ดข้ นึ้ อยกู่ บั นกั วชิ าการ เลก็ ๆ ขยับไประดับประเทศ เพียงคนเดียว ในส่วนของชุมชน เราก็ สว่ นตวั ของนสิ ติ กถ็ อื วา่ เปน็ อยากฝากว่า ส่ิงที่ทางมหาวิทยาลัย ผู้ช่วย เป็นลูกทีม ให้กับอาจารย์ ใน ทำ�ให้ ด้วยความตั้งใจ เราอยากจะ การที่จะไปช่วยชุมชน สิ่งท่ีได้ก็คือ ช่วยเหลอื อยากแกไ้ ขปญั หา กอ็ ยาก ประสบการณ์ท่ีดี ได้ฝึกจิตอาสา ได้ จะฝากให้ส่ิงท่ีทางมหาวิทยาลัยนำ� ฝกึ การทำ�งานการพูดคยุ เวลาอย่ใู น ไปให้ ก็อยากให้รักษา ให้เกิดความ หอ้ งเรยี นกจ็ ะเปน็ บรรยากาศหนง่ึ แต่ ย่ังยืน ไม่ใช่ว่าพอมหาวิทยาลัยออก เมอื่ เราไดล้ งพนื้ ที่ เราไดเ้ อาองคค์ วาม มาจากพื้นที่แล้ว ชุมชนหยุดทำ� เรา รจู้ ากหอ้ งเรยี นไปใหช้ าวบา้ น มนั กจ็ ะ ไม่อยากให้เป็นแบบนั้น เราอยากให้ เปน็ อกี บรรยากาศหนงึ่ เพราะฉะน้นั ชุมชนได้ดำ�เนินการต่อ ในส่ิงท่ีเรา มนั กจ็ ะท�ำ ใหเ้ กดิ ความทรงจ�ำ เกดิ จติ พาทำ� ในสิง่ ท่เี ราช่วยแกป้ ัญหา เพ่อื อาสา เวลาเราลงพื้นท่ีจริง อาจจะ ใหเ้ กดิ ความตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ กจ็ ะเกดิ ผลดี เจอปัญหาอุปสรรค อาทิ ฝนตก น้ำ� ตอ่ ชมุ ชนทง้ั หมด ทว่ ม หลายๆ อยา่ ง แตส่ ง่ิ ทไี่ ดก้ ถ็ อื วา่
48 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรบั ใชส้ งั คม’ ปีท่ี ๕ ฉบับที่ ๓ กนั ยายน - ธนั วาคม พ.ศ.๒๕๖๑ ก็ขอบคุณทุกคน ที่ให้ความ ร่วมมือ ด้วยความมุ่งหวังว่า ส่ิงต่างๆ เหล่าน้ี จะเกิดประโยชน์ต่อชุมชน เกิดประโยชน์ต่อตัวอาจารย์เอง ตัวนิสิต ซึ่งในที่สุดก็จะเป็นภาพรวม ในระดับประเทศ ว่าจากจุดเล็กๆ ท่ี เราทำ� สามารถทำ�ให้ชุมชนมีความ เจริญข้ึน ชาวบ้านมีรายได้มากข้ึน นิสิต ได้ฝึหประสบการณ์ ซึ่งส่ิงต่างๆ เหลา่ นเ้ี ราคดิ วา่ ทกุ คนไดร้ บั ผลประโยชน์ กันอย่างทั่วถ้วน ก็ขอเป็นกำ�ลังใจ ให้ส�ำ หรบั ผทู้ �ำ งานทุกทา่ น ท่ีกล่าวมาทั้งหลายทั้งปวง เจรญิ ขน้ึ ชาวบา้ นมรี ายไดม้ ากขน้ึ นสิ ติ กองสง่ เสรมิ การวจิ ยั และบรกิ ารวชิ าการ ได้ฝึกประสบการณ์ ซึ่งส่ิงต่างๆ ในฐานะตัวแทนของมหาวิทยาลัย เหลา่ นเี้ ราคดิ วา่ ทกุ คนไดร้ บั ผลประโยชน์ มหาสารคาม ก็ต้องขอขอบคุณ กันอย่างทั่วถ้วน ก็ขอเป็นกำ�ลังใจ อาจารย์ นักวิชาการ นักวิจัย นิสิต ให้สำ�หรับผู้ทำ�งานทุกท่าน ว่าทำ� และกช็ มุ ชนด้วย ก็ขอบคุณทุกคน ที่ ไปให้ชุมชนได้รับประโยชน์สูงสุด ใหค้ วามร่วมมือ ดว้ ยความมุง่ หวังว่า ตวั เรากไ็ ด้ประโยชนด์ ว้ ย และกค็ วาม ส่งิ ต่างๆ เหล่าน้ี จะเกดิ ประโยชนต์ อ่ หวังดีท้ังหลายทั้งปวงท่ีเราส่งไปให้ ชมุ ชน เกดิ ประโยชนต์ อ่ ตวั อาจารยเ์ อง กค็ งจะเปน็ บญุ เปน็ กศุ ล ซงึ่ กนั และกนั ตัวนิสิต ซงึ่ ในทสี่ ดุ กจ็ ะเปน็ ภาพรวม กห็ วังวา่ ทุกคนจะมชี วี ิตความเป็นอยู่ ในระดับประเทศ วา่ จากจุดเลก็ ๆ ที่ ที่ดี กข็ อขอบคณุ คะ ๏ เราทำ� สามารถทำ�ให้ชุมชนมีความ
50 I จดหมายขา่ ว ‘งานวชิ าการรับใชส้ งั คม’ ปที ่ี ๕ ฉบับท่ี ๓ กนั ยายน - ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๑
Search