Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักสูตร สถ.61

หลักสูตร สถ.61

Published by benboriboon, 2022-05-16 06:07:06

Description: หลักสูตร สถ.61

Search

Read the Text Version

1 ประกาศโรงเรียนเทศบาลบา0 นหนองบัว เรอื่ ง การใช0หลกั สตู รโรงเรียนเทศบาลบ0านหนองบัว พทุ ธศักราช ๒๕๖๑ ฉบับปรบั ปรุงตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ สืบเน่ืองจาก คำสั่งกระทรวงศึกษาธิการที่ สพฐ. ๑๒๓๙/๒๕๖๐ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการเรียนรู้และ ตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ลงวันท่ี ๗ สิงหาคม ๒๕๖๐ เพื่อเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มีคุณภาพและ มาตรฐานระดับสากลสอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ และทัดเทียมกับนานาชาติ กระทรวงศึกษาธิการจึงประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสาระภูมิศาสตร์ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.๒๕๖๐) โดยมีเง่ือนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐาน การเรียนรู้และตัวชี้วัดในกลุ่มสาระการเรียนรู้ ดังกล่าว ตามกำหนดเวลาดงั น้ี ๑. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ให้ใช้ในชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ และ ๔ และชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ และ ๔ ๒. ปกี ารศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใชใ้ นช้ันประถมศึกษาปที ่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ และชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ๒ ๔ และ ๕ ๓. ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ใหใ้ ชใ้ นทุกชัน้ เรยี น ดังนั้น หลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวฉบับน้ี จึงเป็นหลักสูตรที่มีมาตรฐาน การเรียนร้แู ละตัวช้ีวดั ฯ (ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ.๒๕๖๐) สาระท้องถิน่ และความต้องการของชมุ ชน ผนวกกบั อัตลักษณ์ของโรงเรียน เป็นแนวทางในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาและจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี ศกั ยภาพในการแข่งขนั และดำรงชีวติ อยา่ งสร้างสรรคใ์ นประชาคมโลกตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง บัดนี้โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัวได้ดำเนินการพัฒนาหลักสูตรโรงเรียนเรียบร้อยแล้วและได้รับ ความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เมื่อวันที่ 13 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2561 จึงประกาศให้ใชห้ ลกั สตู รโรงเรยี นตงั้ แตบ่ ดั น้ีเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วันท่ี 15 เดือน พฤษภาคม พ.ศ.2561 (นางกณศิ นนั ท์ ดดี วง) ผอู้ ำนวยการสถานศกึ ษา โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบวั

2 ความนำ นับตั้งแต่ท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ให้ เป็นหลักสูตรแกนกลางของประเทศ เม่ือวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๑ สำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยสำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา ได้ดำเนินการติดตามผลการนำหลักสูตรไปสู่ การปฏิบัติอย่างต่อเนื่องในหลายรูปแบบ พบว่า มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดในบางกลุ่มสาระการเรียนรู้ ได้แก่ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซ่ึงเป็นเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนยังไม่เพียงพอต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงของ สถานการณ์ โลกที่เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะอย่างย่ิงการเปลี่ยนแปลงทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ซึ่งเป็นหัวใจของการวางรากฐานขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การพัฒนาศักยภาพคน ยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี ๒๑ ให้สามารถพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม ก้าวทันและทัดเทียมนานาชาติ ดังน้ันในปี พ.ศ.๒๕๕๙ กระทรวงศึกษาธิการโดยสำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ได้ดำเนินการให้มีการทบทวนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ โดยนำข้อมูลจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี ๑๒ (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๔) ยุทธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี (พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๗๙) เพ่ือเป็นการยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี คุณภาพและมาตรฐานระดับสากล สอดคล้องกับประเทศไทย ๔.๐ โลกในศตวรรษท่ี ๒๑ และทัดเทียมกับ นานาชาติ โดยกำหนดให้ปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนในกลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เฉพาะสาระภูมิศาสตร์ เป็นนโยบายสำคัญ เร่งด่วน โดยมีเงื่อนไขและระยะเวลาการใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัด ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าว ตามกำหนดเวลาดังนี้ ๑. ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ ใหใ้ ชใ้ นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ และ ๔ และช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ และ ๔ ๒. ปีการศึกษา ๒๕๖๒ ให้ใชใ้ นชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ และช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๑ ๒ ๔ และ ๕ ๓. ปีการศกึ ษา ๒๕๖๓ ให้ใชใ้ นทุกช้ันเรยี น โรงเรียนจึงได้ดำเนินการวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัดฯ ท่ีได้ประกาศให้ใช้มาจัดทำในส่วนที่เป็น คำอธิบายรายวิชาของกลุ่มสาระการเรียนรู้ดังกล่าวโดยได้รับความร่วมมือจากคณะครูผู้สอนจากกลุ่มสาระ การเรียนรู้คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม) เข้ามามีส่วนร่วมในการพิจารณาเนื้อหา ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะ และวิธีการจัดการเรียนการสอนใน คำอธิบายรายวชิ าทั้งน้ีในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ใช้แนวทางการกำหนดเน้ือหาแต่ละ ภาคเรียนสอดคล้องกับหนังสือเรียนของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท) เพื่อให้ การเรยี นรู้สาระภมู ศิ าสตรบ์ รรลุผลตามเป้าหมายทก่ี ำหนดไว้

3 วสิ ยั ทัศน์ หลักสูตรโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว พุทธศักราช ๒๕๖๑ จัดทำขึ้นตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลังของชาติให้เป็นมนุษย์ท่ีมี ความสมดุลท้ังด้านร่างกายความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก ยึดม่ันใน การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีความรู้และทักษะพ้ืนฐาน รวมทั้ง เจตคติท่ีจำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพและการศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ บนพ้นื ฐานความเชอ่ื วา่ ทุกคนสามารถเรยี นรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ พันธกจิ ของโรงเรียน ๑. จัดการเรียนการสอนตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ดว้ ย กระบวนการเรยี นรทู้ เี่ น้นผ้เู รยี นเปน็ สำคัญ ๒. ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนมีจิตสำนึกความรัก และรับใช้ เป็นสมาชิกที่ดีของบ้าน โรงเรียน ชมุ ชน และพลโลก ๓. พัฒนา สอ่ื เทคโนโลยแี ละวัสดอุ ุปกรณด์ า้ นการศึกษาให้ทันสมัยและพอเพยี ง ๔. ปลกู จติ สำนกึ ใหผ้ ้เู รียนตระหนกั และเหน็ คณุ คา่ ความเป็นมนุษยต์ ามหลกั ธรรมทางศาสนาท่ีตนนบั ถือ ๕. สร้างความสัมพันธ์กับชุมชนให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการและมีการดำเนินการตาม โครงการ/งานและกจิ กรรม ครอบคลุมมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน จุดหมาย หลักสูตรโรงเรยี นเทศบาลบ้านหนองบวั มงุ่ พฒั นาผูเ้ รยี นให้เป็นคนดี มีปญั ญา มคี วามสขุ มี ศกั ยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ จึงกำหนดจุดหมายเพ่อื ใหเ้ กิดกบั ผู้เรียน เมือ่ จบการศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐานดงั น้ี ๑. มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมท่ีพึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถอื ยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๒. มคี วามรู้ ความสามารถในการส่ือสาร การคดิ การแก้ปญั หา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที กั ษะชีวติ ๓. มสี ุขภาพกายและสุขภาพจติ ทด่ี ี มีสุขนสิ ัย และรักการออกกำลงั กาย ๔. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอนั มพี ระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นประมขุ ๕. มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนาส่ิงแวดล้อม มจี ติ สาธารณะท่มี งุ่ ทำประโยชนแ์ ละสร้างสิ่งท่ดี ีงามในสงั คม และอยู่รว่ มกนั ในสังคมอยา่ งมีความสุข

4 สมรรถนะสำคญั ของผู้เรียน โรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว ใช้แนวทางในการพัฒนานักเรียนเช่นเดียวกับหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พ.ศ.๒๕๕๑ ซ่ึงมุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้ และจะช่วยให้ ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ ๕ ประการดังน้ี ๑. ความสามารถในการส่ือสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษา ถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและ ประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและ ลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจน การเลือกใชว้ ธิ กี ารสื่อสาร ท่ีมีประสิทธภิ าพโดยคำนงึ ถึงผลกระทบทม่ี ีตอ่ ตนเองและสงั คม ๒. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ สารสนเทศเพอ่ื การตัดสินใจเก่ยี วกบั ตนเองและสงั คมไดอ้ ย่างเหมาะสม ๓. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ท่ีเผชิญได้ อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรม และข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการ เปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสนิ ใจท่ีมีประสิทธภิ าพ โดยคำนึงถงึ ผลกระทบทเ่ี กิดข้ึนตอ่ ตนเอง สงั คมและส่งิ แวดลอ้ ม ๔. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำ กระบวนการต่างๆ ไปในการดำเนิน ชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเน่ือง การทำงาน และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วย การสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรม ไมพ่ งึ ประสงค์ทส่ี ่งผลกระทบต่อตนเองและผูอ้ ืน่ ๕. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือกและใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร การ ทำงานการแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

5 คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ หลกั สตู รโรงเรียนเทศบาลบา้ นหนองบัว จึงกำหนดคุณลักษณะพงึ ประสงคด์ งั น้ี ๑. รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์ ตัวช้ีวัด ๑.๑ เปน็ พลเมอื งดขี องชาติ ๑.๒ ธำรงไวซ้ ง่ึ ความเป็นชาติไทย ๑.๓ ศรทั ธา ยึดมนั่ และปฏบิ ตั ติ นตามหลกั ศาสนา ๑.๔ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ ๒. ซอ่ื สัตย์สจุ รติ ตวั ชี้วัด ๒.๑ ประพฤตติ รงตามความเป็นจริงตอ่ ตนเองทัง้ ทางกาย วาจา ใจ ๒.๒ ประพฤตติ รงตามความเปน็ จริงตอ่ ผู้อ่นื ท้งั ทางกาย วาจา ใจ ๓. มวี ินยั ตัวชวี้ ดั ๓.๑ ปฏบิ ตั ติ ามขอ้ ตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบข้อบงั คบั ของครอบครวั โรงเรียน และสังคม ๔. ใฝเ่ รยี นรู้ ตวั ชีว้ ดั ๔.๑ ตัง้ ใจ เพยี รพยายามในการเรยี นและเข้ารว่ มกิจกรรมการเรยี นรู้ ๔.๒ แสวงหาความรจู้ ากแหล่งเรียนร้ตู ่างๆ ทงั้ ภายในและภายนอกโรงเรียนด้วย การเลอื กใชส้ อื่ อย่างเหมาะสม สรปุ เปน็ องคค์ วามรู้ และสามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ ๕. อย่อู ย่างพอเพียง ตัวชว้ี ดั ๕.๑. ดำเนนิ ชีวิตอย่างพอประมาณ มีเหตผุ ล รอบคอบ มีคณุ ธรรม ๕.๒ มีภูมิคมุ้ กันในตวั ทดี่ ี ปรับตัวเพอ่ื อยู่ในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ๖. มงุ่ ม่ันในการทำงาน ตวั ช้วี ัด ๖.๑ ตั้งใจและรบั ผิดชอบในหน้าทก่ี ารงาน ๖.๒ ทำงานดว้ ย ความเพยี รพยายามและอดทนเพอ่ื ให้งานสำเรจ็ ตามเป้าหมาย ๗. รักความเปน็ ไทย ตัวชว้ี ดั ๗.๑ ภาคภูมใิ จในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทยและมี ความกตญั ญูกตเวที ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการส่ือสารไดอ้ ย่างถูกตอ้ งเหมาะสม ๗.๓ อนรุ กั ษ์ และสบื ทอดภมู ิปัญญาไทย ๘. มจี ติ สาธารณะ ตวั ชว้ี ดั ๘.๑ ชว่ ยเหลอื ผอู้ ่นื ดว้ ยความเตม็ ใจโดยไมห่ วังผลตอบแทน ๘.๒ เข้าร่วมกิจกรรมทีเ่ ป็นประโยชน์ตอ่ โรงเรียน ชมุ ชน และสังคม ๙. คา่ นิยมของคนไทย ๑๒ ประการ

6 โครงสร้างหลกั สูตรสถานศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน การจัดหลักสูตรของโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว กำหนดตามโครงสร้างหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพ้นื ฐาน พ.ศ ๒๕5๑ ดงั น้ี ระดับการศกึ ษา หลักสตู รของโรงเรียนเทศบาลบา้ นหนองบวั จดั ระดับการศึกษาเป็น ๒ ระดบั ดังน้ี ๑. ระดับประถมศึกษา (ช้ันประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๖) การศึกษาระดับน้ีเป็นช่วงแรกของการศึกษา ภาคบังคับมุ่งเน้นทักษะพื้นฐานด้านการอ่านการเขียน การคิดคำนวณ ทักษะการคิดพื้นฐาน การติดต่อส่ือสาร กระบวนการเรียนรู้ทางสังคมและพื้นฐานความเป็นมนุษย์ การพัฒนาคุณภาพชีวิต อย่างสมบูรณ์และสมดุลท้ัง ในด้านรา่ งกาย สตปิ ญั ญา อารมณ์ สงั คมและวฒั นธรรม โดยเนน้ การจดั การเรยี นร้แู บบบูรณาการ ๒. ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ – ๓) เป็นช่วงสุดท้ายของการศึกษาภาคบังคับ มุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้สำรวจความถนัดและความสนใจของตนเอง ส่งเสริมการพัฒนาบุคลิกภาพ ส่วนตน มีทักษะ ในการคิดวิจารณญาณ คิดสร้างสรรค์ และคิดแก้ปัญหา มีทักษะในการดำเนินชีวิต มีทักษะการใช้เทคโนโลยี เพื่อเป็นเคร่ืองมือในการเรียนรู้ มีความรับผิดชอบต่อสังคม มีความสมดุล ทั้งด้านความรู้ ความคิด ความดีงาม และมีความภูมิใจในความเปน็ ไทย ตลอดจนใชเ้ ปน็ พื้นฐานในการประกอบอาชพี หรือการศกึ ษาต่อ การจัดเวลาเรียน ๑. ระดับชั้นประถมศึกษา (ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ – ๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายปี โดยมเี วลาเรยี นวันละ ไมเ่ กนิ 6 ชั่วโมง ๒. ระดับชน้ั มธั ยมศึกษา (ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ – ๖) จัดเวลาเรียนเป็นรายภาค มเี วลาเรยี นวันละ ไมเ่ กิน๖ ชว่ั โมง คดิ นำ้ หนกั ของรายวิชาทเี่ รยี นเป็นหนว่ ยกิต ใช้เกณฑ์ ๔๐ ชัว่ โมงตอ่ ภาคเรยี น มีค่านำ้ หนกั วิชา เทา่ กบั ๑ หนว่ ยกิต (นก.) กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ การกำหนดโครงสร้างเวลาเรยี นพน้ื ฐานและเพ่ิมเติม โรงเรียนดำเนนิ การ ดงั น้ี ระดับประถมศกึ ษา จดั ใหแ้ ต่ละชน้ั ปีเรยี นในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้พื้นฐาน ชัน้ ปีละ ๘๔๐ ชวั่ โมง โดยมเี วลาเรยี นใน กลุม่ สาระการเรยี นรพู้ ื้นฐาน รวมทั้งสิน้ ๕,๐๔๐ ช่วั โมง จดั เวลาเรยี นในรายวิชาเพิม่ เติม ชน้ั ปลี ะ 120 ช่ัวโมง รวมท้งั สน้ิ 720 ช่ัวโมง และกิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น จำนวน 120 ช่ัวโมง รวมท้งั ส้ิน 720 ชั่วโมง ท้งั นี้รวมเวลา เรยี นทงั้ หมด 1,080 ช่ัวโมง / ปี (รวมเวลาเรยี นในระดบั ประถมศกึ ษา 6,480 ชวั่ โมง) ระดับมธั ยมศึกษา จดั โครงสร้างเวลาเรียนพ้นื ฐานเป็นไปตามที่หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานพทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ กำหนดและสอดคลอ้ งกับเกณฑก์ ารจบหลกั สูตร

7 สำหรับเวลาเรียนเพ่มิ เติมไดจ้ ัดเป็นรายวิชาเพิ่มเตมิ ปีละ 2.5 หน่วยกติ โดยพิจารณาถงึ ความ สอดคลอ้ งกบั ความพรอ้ มจุดเน้นของโรงเรียนและเกณฑ์การจบหลกั สูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี น หลักสูตรโรงเรียนเทศบาลบ้านหนองบัว ได้จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้านเพ่ือความเป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ท้ังร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพ่ือ สังคม สามารถจัดการตนเองได้ และอยู่รว่ มกับผู้อืน่ อย่างมคี วามสุข กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น แบ่งเปน็ ๓ ลกั ษณะ ดังนี้ ๑. กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตท้ังด้านการเรียน และอาชีพ สามารถปรับตน ได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็นกิจกรรมท่ีช่วยเหลือและให้คำปรึกษา แกผ่ ปู้ กครองในการมสี ว่ นรว่ มพัฒนาผเู้ รยี น ๒. กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมท่ีมุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำผู้ตามท่ีดี ความรับผิดชอบ การทำงานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมีเหตุผล การช่วยเหลือ แบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของ ผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและ ปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความเหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บรบิ ทของสถานศึกษาและทอ้ งถ่นิ กิจกรรมนกั เรยี นประกอบดว้ ย ๒.๑ กิจกรรมลกู เสือ เนตรนารี ๒.๒ กจิ กรรมชุมนุม ๓. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ เป็นกจิ กรรมที่สง่ เสริมให้ผเู้ รียนบำเพญ็ ตนใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อสงั คม ชุมชน และท้องถน่ิ ตามความ สนใจในลักษณะอาสาสมัคร เพ่อื แสดงถึงความรับผดิ ชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสงั คม มจี ิตสาธารณะ เช่น กจิ กรรมอาสาพฒั นาตา่ ง ๆ กจิ กรรมสรา้ งสรรคส์ ังคม กิจกรรมพัฒนาผู้เรยี นทีก่ ำหนดไว้ในช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ถงึ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๖ ปีละ ๑๒๐ ชัว่ โมง เป็นเวลาสำหรับปฏิบตั ิกิจกรรมแนะแนว กจิ กรรมนักเรยี นและกจิ กรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ โดย โรงเรยี นเทศบาลบ้านหนองบัว จัดสรรเวลาใหผ้ ู้เรยี นปฏิบัตกิ ิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ ดังน้ี ระดบั ประถมศึกษา (ป.๑ – ๖) รวม ๖ ปี จำนวน ๖๐ ชัว่ โมง ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น (ม.๑ – ๓) รวม ๓ ปี จำนวน ๔๕ ชว่ั โมง

8 ทั้งน้โี รงเรียนได้ใหก้ ิจกรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ เปน็ กจิ กรรมท่ีบูรณาการร่วมกับการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ใน ๘ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมแนะแนวและกิจกรรมนกั เรยี นด้วยเช่นกัน

9 โครงสร้างเวลาเรียน หลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน กำหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรยี น ดงั น้ี กลมุ่ สาระการ ระดับประถมศกึ ษา เวลาเรยี น ระดบั มธั ยมศกึ ษา เรียนร/ู้ กิจกรรม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ตอนปลาย — กลุม่ สาระการ จัดสรรเวลาไดต้ ามความ จัดสรรเวลาได้ตามความ จดั สรรเวลาได้ เรียนรู้ เหมาะสม เหมาะสม ตามความเหมาะสม ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม สุขศกึ ษาและพล ศึกษา ศิลปะ การงานอาชพี และ เทคโนโลยี ภาษาตา่ งประเทศ 840 ชว่ั โมง/ปี ๘8๐ รวม 3 ปี 1,640 120 ชัว่ โมง/ปี (๒2 นก.) ชวั่ โมง (41 นก.) รวมเวลาเรียน (พนื้ ฐาน) สถานศึกษากำหนด 120 ชว่ั โมง/ปี รวม 3 ปี 360 ชัว่ โมง — กจิ กรรมพัฒนา ผ้เู รยี น สถานศกึ ษากำหนด สถานศกึ ษากำหนด —รายวิชา / กจิ กรรมท่ี สถานศึกษาจดั เพมิ่ เตมิ ตามความพรอ้ ม และจดุ เน้น รวมเวลาเรยี น สถานศกึ ษากำหนด สถานศกึ ษากำหนด สถานศึกษากำหนด ทงั้ หมด หมายเหตุ คำส่งั สพฐ.ที่ 922/2561 เรอ่ื ง การปรบั ปรุงโครงสรา้ งเวลาเรยี นตามหลักสตู รแกนกลาง การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช 2551 สัง่ ณ วนั ท่ี 3 พฤษภาคม 2561

10 โครงสรางหลก้สตรสถัานูศกษา โรึงเรยนเทศีบาลบานหนองบ้ ว ั ปการศกษาี 25ึ 61 กลมสาระกุ่ ารเรยนร ี ู้ เวลาเรยน (ชี ม./ป) ี ระดบประถมั ศกษา ึ ระดบมธยมศั กษั าตอนึ ตน ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3 ้ 200 200 160 160 160 120 120 120 ป.1 200 200 160 160 160 120 120 120 80 80 80 80 80 120 120 120 ภาษาไทย 200 40 40 40 40 40 40 40 40 40 40 80 80 80 120 120 120 คณตศาสตร ิ ์ 200 40 40 80 80 80 80 80 80 40 40 80 80 80 80 80 80 วทยาศาิสตร ์ 80 40 40 80 80 80 80 80 80 160 160 80 80 80 120 120 120 ประวตศาสตัร ิ ์ 40 สงคมศกษั าศาสึ นาและวฒนธรรั ม 40 สขศกษาแุ ละึ พลศกษา ึ 40 ศลปะ ิ 40 การงานอาชพและเที คโนโลย ี 40 ภาษาตางประเท่ ศ 160 รวมเวลาเรยน (พี นฐาน) ื้ 840 840 840 840 840 840 880 880 880 สาระการเรยนรเพีมเตมู้ ่ิ ิ 120 120 120 120 120 120 200 200 200 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 120 120 120 120 120 120 120 120 120 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 2. แนะแนว 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคมแล่ื ะั สาธารณประโยชน ์ รวมเวลาเรยนทงหี มด ้ั 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080 1,080 1,200 1,200 1,200 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ ู ื เนตรนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบประถมั ศกษาปทึ 1-6 รีวม่ี 6 ป จ านวนี ํ60 ชวโมง ั่ ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี ว่ี ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั *** วชาหนาิ ทพลเมอ้ ง ป่ี .1 ืป.4 ม.1 จดบรณาัการกู ารเรยนรในี กลมู้ สาระกุ่ ารเรยนรสงี คมศู้ กษั า ศาสึ นาและวฒนธรรั ม วดผลรวัมอยในวชาสู่งคมิ ศกษั า ึ

11 โครงสรา้ งหลกั สตู รสถานศกึ ษา ระดับช้ันประถมศกึ ษา ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศกึ ษา 2561 รหัส รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ชว่ั โมง/ป)ี ท11101 ภาษาไทย 200 ค11101 คณติ ศาสตร์ 200 อ11101 ภาษาอังกฤษ 160 ว11101 วทิ ยาศาสตร์ 80 ส11101 สังคมศกึ ษา 40 ส11102 ประวตั ศิ าสตร์ 40 พ11101 สขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 ศ11101 ศิลปะ 40 ง11101 การงานอาชีพ 40 สาระการเรยี นร้เู พมิ่ เตมิ อ11201 ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่อื สาร 40 ง11261 ความเปน็ เลศิ 1 80 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 40 1. ลูกเสอื -เนตรนารี 40 2. แนะแนว 40 3. ชุมนุม 4. กิจกรรมเพอ่ื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน 1,080 *** กจิ กรรมเพ่ือสงั คม ฯ สามารถนำไปสอดแทรกหรือบูรณาการในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมลกู เสือ เนตรนารี ได้ตามความเหมาะสม ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 รวม 6 ปี จำนวน 60 ช่วั โมง *** วิชาหนา้ ทพี่ ลเมอื ง จัดบรู ณาการการเรยี นรูใ้ นกลุ่มสาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและวฒั นธรรม วดั ผลรวมอยใู่ นวิชาสงั คมศกึ ษา

12 โครงสรา้ งหลักสูตรสถานศกึ ษา ระดบั ช้นั ประถมศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2561 รหัส รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรียน (ช่วั โมง/ป)ี ท12101 ภาษาไทย 200 ค12101 คณติ ศาสตร์ 200 อ12101 ภาษาอังกฤษ 160 ว12101 วิทยาศาสตร์ 80 ส12101 สังคมศกึ ษา 40 ส12102 ประวตั ศิ าสตร์ 40 พ12101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 ศ12101 ศิลปะ 40 ง12101 การงานอาชพี 40 สาระการเรยี นร้เู พม่ิ เตมิ 40 ส12232 หน้าที่พลเมอื ง 2 80 ง12262 ความเป็นเลิศ 2 กิจกรรมพฒั นาผเู้ รียน 40 1. ลูกเสือ-เนตรนารี 40 2. แนะแนว 40 3. ชุมนุม 4. กิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน 1,080 *** กิจกรรมเพอื่ สังคม ฯ สามารถนำไปสอดแทรกหรอื บูรณาการในกล่มุ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ไดต้ ามความเหมาะสม ระดบั ประถมศึกษาปีท่ี 1-6 รวม 6 ปี จำนวน 60 ชั่วโมง *** วิชาหนา้ ที่พลเมอื ง เปน็ รายวชิ าเพิ่มเติม จดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมที่ สถานศกึ ษาดำเนินการอยแู่ ล้ว โดยไมเ่ พิม่ ชว่ั โมงในตารางเรยี น

13 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดบั ช้นั ประถมศึกษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ 3 ปกี ารศกึ ษา 2561 รหัส รายวชิ า/กิจกรรม เวลาเรียน (ช่วั โมง/ป)ี ท13101 ภาษาไทย 200 ค13101 คณิตศาสตร์ 200 อ13101 ภาษาอังกฤษ 160 ว13101 วทิ ยาศาสตร์ 80 ส13101 สังคมศกึ ษา 40 ส13102 ประวตั ศิ าสตร์ 40 พ13101 สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 40 ส13101 ศิลปะ 40 ง13101 การงานอาชพี และเทคโนโลยี 40 สาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม 40 ส13233 หน้าทพ่ี ลเมอื ง 3 80 ง13263 ความเปน็ เลศิ 3 กจิ กรรมพฒั นาผู้เรยี น 40 1. ลกู เสอื -เนตรนารี 40 2. แนะแนว 40 3. ชุมนมุ 4. กจิ กรรมเพือ่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน 1,080 *** กจิ กรรมเพือ่ สงั คม ฯ สามารถนำไปสอดแทรกหรอื บรู ณาการในกล่มุ สาระการเรียนรู้ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ได้ตามความเหมาะสม ระดบั ประถมศกึ ษาปที ่ี 1-6 รวม 6 ปี จำนวน 60 ชั่วโมง *** วิชาหนา้ ท่ีพลเมือง เปน็ รายวิชาเพิม่ เติม จัดการเรียนการสอนแบบบรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมที่ สถานศึกษาดำเนนิ การอยแู่ ลว้ โดยไมเ่ พ่มิ ช่ัวโมงในตารางเรยี น

14 โครงสรา้ งหลกั สูตรสถานศึกษา ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา ชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 4 ปกี ารศึกษา 2561 รหัส รายวิชา/กิจกรรม เวลาเรยี น (ช่วั โมง/ป)ี ท14101 ภาษาไทย 160 ค14101 คณิตศาสตร์ 160 ว14101 วทิ ยาศาสตร์ 80 ส14101 สงั คมศกึ ษา 80 ส14102 ประวตั ิศาสตร์ 40 พ14101 สุขศกึ ษาและพลศึกษา 80 ศ14101 ศิลปะ 80 ง14101 การงานอาชพี 80 อ14101 ภาษาองั กฤษ 80 สาระการเรยี นร้เู พิม่ เติม ว14201 คอมพวิ เตอร์ 40 ง10264 ความเป็นเลศิ ดา้ นวิชาการ 1 (80) พ10201 ความเป็นเลิศดา้ นกีฬา 1 (80) ศ10201 ความเปน็ เลศิ ด้านศลิ ปะ 1 (80) ศ10204 ความเป็นเลศิ ดา้ นดนตรสี ากล 1 (80) กิจกรรมพัฒนาผเู้ รียน 1. ลูกเสอื -เนตรนารี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมุ นุม 40 4. กิจกรรมเพอื่ สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น 1080 *** กจิ กรรมเพ่อื สังคม ฯ สามารถนำไปสอดแทรกหรือบรู ณาการในกลุ่มสาระการเรยี นรู้ กิจกรรม ลกู เสือ เนตรนารี ไดต้ ามความเหมาะสม ระดับประถมศึกษาปที ี่ 1-6 รวม 6 ปี จำนวน 60 ชว่ั โมง *** สาระการเรยี นรูเ้ พิม่ เตมิ วิชาความเปน็ เลิศ 4 วชิ า กำหนดให้นร.เลือกเรียนตามความสนใจ 1 วชิ า จำนวน 80 ชม./ปี *** วิชาหนา้ ทีพ่ ลเมอื ง จัดบูรณาการการเรยี นรใู้ นกลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรมวดั ผลรวมอยใู่ นวิชาสงั คมศกึ ษา

15 โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา ระดับชน้ั ประถมศกึ ษา ช้นั ประถมศึกษาปีท่ี 5 ปีการศึกษา 2561 รหัส รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรียน (ชว่ั โมง/ป)ี ท15101 ภาษาไทย 160 ค15101 คณิตศาสตร์ 160 ว15101 วทิ ยาศาสตร์ 80 ส15101 สังคมศึกษา 80 ส15102 ประวัติศาสตร์ 40 พ15101 สขุ ศึกษาและพลศึกษา 80 ศ15101 ศิลปะ 80 ง15101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 อ15101 ภาษาอังกฤษ 80 สาระการเรยี นรเู้ พิม่ เตมิ ส15235 หนา้ ที่พลเมือง 5 40 ง10265 ความเป็นเลศิ ด้านวชิ าการ 2 (80) พ10202 ความเปน็ เลิศดา้ นกีฬา 2 (80) ศ10202 ความเป็นเลศิ ด้านศลิ ปะ 2 (80) ศ10205 ความเป็นเลศิ ดา้ นดนตรสี ากล 2 (80) กจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน 1. ลกู เสอื -เนตรนารี 40 2. แนะแนว 40 3. ชมุ นมุ 40 4. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรียน 1080 *** กจิ กรรมเพ่ือสังคม ฯ สามารถนำไปสอดแทรกหรอื บูรณาการในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ กจิ กรรมลูกเสอื เนตรนารี ไดต้ ามความเหมาะสม ระดบั ประถมศึกษาปที ี่ 1-6 รวม 6 ปี จำนวน 60 ชั่วโมง *** สาระการเรยี นรู้เพิ่มเติม วชิ าความเป็นเลศิ 4 วชิ า กำหนดให้นร.เลือกเรยี นตามความสนใจ 1 วิชา จำนวน 80 ชม./ปี *** วชิ าหนา้ ท่ีพลเมอื ง เป็นรายวชิ าเพมิ่ เตมิ จดั การเรยี นการสอนแบบบรู ณาการลงสกู่ จิ กรรมท่ี สถานศึกษาดำเนนิ การอยู่แล้ว โดยไมเ่ พิ่มชว่ั โมงในตารางเรยี น

16 โครงสร้างหลักสตู รสถานศกึ ษา ระดับช้ันประถมศึกษา ชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 ปีการศึกษา 2561 รหัส รายวชิ า/กจิ กรรม เวลาเรยี น (ช่วั โมง/ป)ี ท16101 ภาษาไทย 160 ค16101 คณติ ศาสตร์ 160 ว16101 วิทยาศาสตร์ 80 ส16101 สังคมศึกษา 80 ส16102 ประวัติศาสตร์ 40 พ16101 สุขศึกษาและพลศึกษา 80 ศ16101 ศลิ ปะ 80 ง16101 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 80 อ16101 ภาษาอังกฤษ 80 สาระการเรียนรเู้ พมิ่ เติม ส16236 หน้าท่ีพลเมือง 5 40 ง10265 ความเป็นเลศิ ด้านวชิ าการ 2 (80) พ10202 ความเป็นเลศิ ดา้ นกีฬา 2 (80) ศ10202 ความเปน็ เลศิ ดา้ นศลิ ปะ 2 (80) ศ10205 ความเปน็ เลิศดา้ นดนตรีสากล 2 (80) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. ลูกเสอื -เนตรนารี 40 2. แนะแนว 40 3. ชุมนุม 40 4. กจิ กรรมเพ่อื สงั คมและสาธารณประโยชน์ รวมเวลาเรยี น 1080 *** กจิ กรรมเพ่อื สงั คม ฯ สามารถนำไปสอดแทรกหรอื บูรณาการในกลุม่ สาระการเรยี นรู้ กิจกรรมลูกเสอื เนตรนารี ได้ตามความเหมาะสม ระดบั ประถมศกึ ษาปีที่ 1-6 รวม 6 ปี จำนวน 60 ชวั่ โมง *** สาระการเรยี นรเู้ พิม่ เตมิ วิชาความเปน็ เลิศ 4 วิชา กำหนดใหน้ ร.เลอื กเรยี นตามความสนใจ 1 วชิ า จำนวน 80 ชม./ปี *** วชิ าหน้าท่ีพลเมือง เปน็ รายวิชาเพมิ่ เตมิ ใหจ้ ดั การเรียนการสอนแบบบรู ณาการลงสกู่ ิจกรรมท่ี สถานศกึ ษาดำเนินการอยแู่ ลว้ โดยไมเ่ พิ่มชัว่ โมงในตารางเรียน

17 ภาคเรยนท ี1 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนมธยั มศั้ กษั า ึ ี่ ชนมธยมศั้ กษั าปทึ 1 ปกี าี่ รศกษาี 25ึ 61 ี่ ภาคเรยนท ี2 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รายวชาพนฐิ าน ื้ หนวยกต ชว่ โมงิ ั่ หนวยกต ช่ วโมิ ง ่ั รายวชาพนฐิ าน ้ื ท21101 ภาษาไทย 1 1.5 60 1.5 60 ค21101 คณตศาสตร 1ิ ์ 1.5 60 ท21102 ภาษาไทย 2 1.5 60 ว21101 วทยาศาิสตร 1 ์ 1.5 60 1.5 60 ส21101 สงคมศกษั า 1ึ 1.5 60 ค21102 คณตศาสตร 2ิ ์ 1.5 60 ส21102 ประวตศาสตัร ิ 1 ์ 0.5 20 0.5 20 พ21101 สขศกษา ุ 1 ึ 0.5 20 ว21102 วทยาศาิสตร 2 ์ 0.5 20 พ21102 พลศกษา 1ึ 0.5 20 0.5 20 ศ21101 ศลปะ 1ิ 1.0 40 ส21103 สงคมศกษั า 2ึ 1.0 40 ง21101 การงานอาชพ 1 ี 1.0 40 1.0 40 อ21101 ภาษาองกฤษ 1ั 1.5 60 ส21104 ประวตศาสตัร ิ 2 ์ 1.5 60 พ21103 สขศกษา2ุ ึ พ21104 พลศกษา 2ึ ศ21102 ศลปะ 2ิ ง21102 การงานอาชพ 2 ี อ21102 ภาษาองกฤษ 2ั รายวชาเพมเิ ตม ิ่ ิ รายวชาเพมเิ ตม ิ่ ิ ส21241 ค20201 เศรษฐกจพอเพยิ ง 1 ี 0.5 20 ส21242 เศรษฐกจพอเพยิ ง 2 ี 0.5 20 ว21201 20 ง20261 คณตศาสตรเสริ ม 1์ ิ 0.5 20 ค20202 คณตศาสตรเสริ ม 2์ ิ 0.5 20 ง20267 (40) ว20221 คอมพวเตอร 1ิ ์ 0.5 (40) ว21202 คอมพวเตอร 2ิ ์ 0.5 20 ศ20201 (40) ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 1 ิ ์ (1.0) (40) ง20262 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 2 ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 1 (1.0) ง20268 ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 2 (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ คิอมพ้ วเตอร 1ิ ์ (1.0) ว20222 ความเปนเลศดาน็ คิอมพ้ วเตอร 2ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 1ี (1.0) ศ20202 ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 2ี (1.0) (40) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 2. แนะแนว 20 2. แนะแนว 20 3. ชมนม ุ ุ 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ ั 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ - ูเนตื รนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี ว่ี ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา จ าิ นวน ํ40 ชม./ภาคเรยน ี *** วชาหนาิ ทพลเมอ้ ง ่ี ใหจืดบรณา้ัการกู ารเรยนรในี กลมู้ สาระกุ่ ารเรยนรสงี คมศู้ กษั า ศาสึ นาและวฒนธรรั ม วดผลรวัมอยในวชาสู่งคมิ ศกษั า ึ

18 ภาคเรยนท ี1 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนมธยั มศ้ั กษั า ึ ่ี ชนมธยมศั้ กษั าปทึ 2 ปกี า่ี รศกษาี 25ึ 61 ี่ ภาคเรยนท ี2 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รายวชาพนฐิ าน ้ื หนวยกต ชว่ โมงิ ่ั รายวชาพนฐิ าน ้ื หนวยกต ช่ วโมิ ง ั่ ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 60 ค22101 คณตศาสตร 3ิ ์ 1.5 60 ท22102 ภาษาไทย 4 1.5 60 ว22101 วทยาศาิสตร 3 ์ 1.5 60 ส22101 สงคมศกษั า 3ึ 1.5 60 ค22102 คณตศาสตร 4ิ ์ 1.5 60 ส22102 ประวตศาสตัร ิ 3 ์ 0.5 20 พ22101 สขศกษา ุ 3 ึ 0.5 20 ว22102 วทยาศาิสตร 4 ์ 1.5 60 พ22102 พลศกษา 3ึ 0.5 20 ศ22101 ศลปะ 3ิ 1.0 40 ส22103 สงคมศกษั า 4ึ 1.5 60 ง22101 การงานอาชพและเที คโนโลย 3 ี 1.0 40 อ22101 ภาษาองกฤษ 3ั 1.5 60 ส22104 ประวตศาสตัร ิ 4 ์ 0.5 20 พ22103 สขศกษา ุ 4 ึ 0.5 20 พ22104 พลศกษา 4 ึ 0.5 20 ศ22102 ศลปะ 4ิ 1.0 40 ง22102 การงานอาชพและเที คโนโลย 4 ี 1.0 40 อ22102 ภาษาองกฤษ 4ั 1.5 60 รายวชาเพมเิ ตม ่ิ ิ รายวชาเพมเิ ตม ่ิ ิ ส22233 ส22243 หนาทพลเมอ้ ง ่ี 3 ื 0.5 20 ส22234 หนาทพลเมอ้ ง ่ี 4 ื 0.5 20 ง22203 20 ง20263 เศรษฐกจพอเพยิ ง 3 ี 0.5 20 ส22244 เศรษฐกจพอเพยิ ง 4 ี 0.5 20 ง20269 (40) ว20223 คอมพวเตอร 3ิ ์ 0.5 (40) ง22204 คอมพวเตอร 4ิ ์ 0.5 20 ศ20201 (40) ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 3 ิ ์ (1.0) (40) ง20264 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 4 ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 3 (1.0) ง20270 ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 4 (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ คิอมพ้ วเตอร 3ิ ์ (1.0) ว20224 ความเปนเลศดาน็ คิอมพ้ วเตอร 4ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 1ี (1.0) ศ20202 ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 2ี (1.0) (40) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 2. แนะแนว 20 2. แนะแนว 20 3. ชมนม ุ ุ 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯื่ สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ - ูเนตื รนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี วี่ ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา จ าิ นวน ํ40 ชม./ภาคเรยน ี *** วชาหนาิ ทพลเมอ้ ง เ่ี ปนรื ายวชา็ เพมเิ ตม ใหจิ่ ดกิ ารเร้ยั นการี สอนแบบบรณาการลู งสกจกรรมู่ ทิ สถานศกษี่ า ึ ด าเนนกาํรอยิแลว โดยู่ ไม้ เพมชวโม่ งใน่ิ ตั่ ารางเรยน ี

19 ภาคเรยนท ี1 โครงสรางหลก้ สตรสถั านู ศกษา ระึ ดบชนมธยั มศั้ กษั า ึ ่ี ชนมธยมศ้ั กษั าปทึ 3 ปกี าี่ รศกษาี 25ึ 61 ี่ ภาคเรยนท ี2 รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี รหส ั รายวชา/กจกิ รรม ิ เวลาเรยน ี หนวยกต ชว่ โมงิ ่ั รายวชาพนฐิ าน ื้ รายวชาพนฐิ าน ้ื หนวยกต ช่ วโมิ ง ั่ 1.5 60 ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 60 ท23102 ภาษาไทย 6 1.5 60 1.5 60 ค23101 คณตศาสตร 5ิ ์ 1.5 60 ค23102 คณตศาสตร 6ิ ์ 1.5 60 0.5 20 ว23101 วทยาศาิสตร 5 ์ 0.5 20 ว23102 วทยาศาิสตร 6 ์ 1.5 60 0.5 20 ส23101 สงคมศกษั า 5ึ 1.0 40 ส23103 สงคมศกษั า 6ึ 1.5 60 ี 1.0 40 ส23102 ประวตศาสตัร ิ 5 ์ 1.5 60 ส23104 ประวตศาสตัร ิ 6 ์ 0.5 20 พ23101 สขศกษา ุ 5 ึ พ23103 สขศกษา ุ 6 ึ 0.5 20 พ23102 พลศกษา 5 ึ พ23104 พลศกษา 6 ึ 0.5 20 ศ23101 ศลปะ 5ิ ศ23102 ศลปะ 6ิ 1.0 40 ง23101 การงานอาชพและเที คโนโลย 5 ง23102 การงานอาชพและเที คโนโลย 6 ี 1.0 40 อ23101 ภาษาองกฤษ 5ั อ23102 ภาษาองกฤษ 6ั 1.5 60 รายวชาเพมเิ ตม ิ่ ิ รายวชาเพมเิ ตม ่ิ ิ ส23235 ส23245 หนาทพลเมอ้ ง ่ี 5 ื 0.5 20 ส23236 หนาทพลเมอ้ ง ่ี 6 ื 0.5 20 ง23205 20 ง20263 เศรษฐกจพอเพยิ ง 5 ี 0.5 20 ส23246 เศรษฐกจพอเพยิ ง 6 ี 0.5 20 ง20271 (40) ว20223 คอมพวเตอร 5ิ ์ 0.5 (40) ง23206 คอมพวเตอร 6ิ ์ 0.5 20 ศ20201 (40) ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 3 ิ ์ (1.0) (40) ง20264 ความเปนเลศดาน็ งาิ นป้ ระดษฐ 4 ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 3 (1.0) ง20272 ความเปนเลศดาน็ อาิ หา้ รไทย 4 (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ คิอมพ้ วเตอร 3ิ ์ (1.0) ว20224 ความเปนเลศดาน็ คิอมพ้ วเตอร 4ิ ์ (1.0) (40) ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 1ี (1.0) ศ20202 ความเปนเลศดาน็ ดินตร้ ไทย 2ี (1.0) (40) กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 กจกรรมพิ ฒนาผเรยัน ู้ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 1. ลกเสอ-เนู ตรนื าร ี 20 2. แนะแนว 20 2. แนะแนว 20 3. ชมนม ุ ุ 3. ชมนม ุ ุ 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั 4. กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื ั รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 รวมเวลาเรยน ี 13.50 600 *** กจกรรมเพิ อสงคม ฯ่ื สั ามารถน าไปสอดแํ ทรกหรอบรณาื การใู นกลมสาระกุ่ ารเรยนร กี จกรู้ รมลิ กเสอ - ูเนตื รนาร ไดตาี มควา้มเหมาะสม ระดบมธยมศั กษั าปทึ 1-3 รี วี่ ม 3 ป จ านวนี ํ45 ชวโมง ่ั *** สาระการเรยนรเพีมเตมู้ วชาิ่ ควิ ามิ เปนเลศ 4 ็วชิา ก าหิ นดใหํ นร.เลอกเ้ รยนืตามี ความสนใจ 1 วชา จ าิ นวน ํ40 ชม./ภาคเรยน ี *** วชาหนาิ ทพลเมอ้ ง เี่ ปนรื ายวชา็ เพมเิ ตม ใหจิ่ ดกิ ารเร้ยั นการี สอนแบบบรณาการลู งสกจกรรมู่ ทิ สถานศกษ่ี า ึ ด าเนนกาํรอยิแลว โดยู่ ไม้ เพมชวโม่ งใน่ิ ต่ั ารางเรยน ี

20 การจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เป็นกระบวนการสำคัญในการนำหลักสูตรสู่การปฏิบัติ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ เป็นหลักสูตรท่ีมีมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของผูเ้ รยี น เป็นเปา้ หมายสำหรับพัฒนาผ้เู รยี นทมี่ คี วามบกพรอ่ งทางร่างกายหรือสขุ ภาพ ใน ก ารพั ฒ น าผู้ เรีย น ให้ มี คุ ณ ส ม บั ติ ต าม เป้ าห ม าย ห ลั ก สู ต ร ผู้ ส อ น พ ย าย าม คั ด ส รร กระบวนการเรียนรู้ จัดการเรียนรู้โดยช่วยให้ผู้เรียนเรียนรู้ผ่านสาระที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รวมท้ังปลูกฝังเสริมสร้างคุณลักษณะอันพึงประสงค์ พัฒนาทักษะต่างๆ อันเป็นสมรรถนะสำคัญให้ผู้เรียนบรรลุ ตามเป้าหมาย จงึ ไดด้ ำเนินการจัดการเรียนรู้ ดังน้ี ๑. หลักการจัดการเรยี นรู้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถตามมาตรฐานการเรียนรู้ สมรรถนะสำคัญ และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามที่กำหนดไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน โดยยึดหลักว่า ผู้เรียนมีความสำคัญท่ีสุด เช่ือว่าทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ ยึดประโยชน์ท่ีเกิดกับ ผู้เรียน กระบวนการจัดการเรียนรู้ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียน สามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มตามศักยภาพ คำนึงถงึ ความแตกต่างระหว่างบคุ คลและพฒั นาการทางสมอง เน้นใหค้ วามสำคญั ทงั้ ความรู้ และคณุ ธรรม ๒. กระบวนการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนจะต้องอาศัยกระบวนการเรียนรู้ท่ีหลากหลาย เป็นเคร่ืองมือท่ีจะนำพาตนเองไปสู่เป้าหมายของหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ที่จำเป็นสำหรับผู้เรียน อาทิ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ กระบวนการสร้างความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา กระบวนการเรียนรู้ จากประสบการณ์จริง กระบวนการปฏิบัติ ลงมือทำจริง กระบวนการจัดการ กระบวนการวิจัย กระบวนการเรียนรู้การเรียนรู้ของตนเอง กระบวนการพัฒนาลักษณะนสิ ยั กระบวนการเหล่าน้ีเป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนควรได้รับการฝึกฝน พัฒนา เพราะ จะสามารถช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี บรรลุเป้าหมายของหลักสูตร ดังนั้น ผู้สอนจึงจำเป็นต้องศึกษาทำ ความเข้าใจในกระบวนการเรียนรู้ต่างๆ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ในการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพ ๓. การออกแบบการจดั การเรียนรู้ ผู้สอนต้องศึกษาหลักสูตรสถานศึกษาให้เข้าใจถึงมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสาระการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียน แล้วจึงพิจารณา ออกแบบการจัดการเรียนรู้โดยเลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน ส่ือ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล เพื่อให้ผู้เรยี นได้พฒั นาเต็มตามศกั ยภาพและบรรลตุ ามเป้าหมายท่ีกำหนด

21 ๔. จดั สง่ เสรมิ และสนบั สนนุ การเรยี นรู้ / กระบวนการเรยี นรู้ / แหล่งเรยี นรู้ ๔.๑ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนได้มีการเรียนรู้อย่างหลากหลาย ท้ังในและนอกห้องเรียน รวมท้งั นอกสถานศกึ ษาด้วยเช่น ในชมุ ชนใกล้ๆ บรเิ วณโรงเรยี น เช่น ตลาด วัด หรอื สถานทส่ี ำคัญๆ ในชมุ ชน ๔.๒ ส่งเสริมสนับสนุนให้ผูเ้ รียนเปน็ ผู้แสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง โดยจดั ใหม้ แี หล่งการเรียนรู้ ห้องสมดุ เพ่ือให้ผเู้ รียนไดศ้ ึกษาค้นคว้าหาความรู้อย่างเพียงพอ ๔.๓ ส่งเสริมสนับสนุนให้การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ เป็นภาษาที่สองในทุกระดับช้ัน ๔.๔ ส่งเสริมสนับสนุนและมุ่งเน้นให้ผู้เรียนได้เรียนทางด้านการงานพ้ืนฐานอาชีพเพ่ือเป็น พ้ืนฐานในการประกอบอาชีพ ๔.๕ สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ผเู้ รยี นได้ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพ่ือเรียนรู้ให้ทันวทิ ยาการต่าง ๆ ๔.๖ สง่ เสรมิ สนบั สนุนใหม้ ีบริการ ตามความตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษหรอื ตามความสนใจ และ ความถนัดของผู้เรียนเช่น การฟ้ืนฟูสมรรถภาพของนักเรียน เช่น กายภาพบำบัด อรรถบำบัด กิจกรรมบำบัด ธาราบำบัดเป็นต้น นอกจากน้ี โรงเรียนจัดให้มีผู้ให้คำปรึกษา คำแนะนำ และให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนทุก คนอยา่ งทัว่ ถงึ ๕. บทบาทของผู้สอนและผูเ้ รียน การจดั การเรียนรเู้ พ่อื ใหผ้ เู้ รียนมีคุณภาพตามเป้าหมายของหลักสูตร ท้ังผู้สอนและผ้เู รียนควรมีบทบาท ดังน้ี ๕.๑ บทบาทของผูส้ อน ๑) ศึกษาวิเคราะห์ผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล แลว้ นำขอ้ มูลมาใช้ในการวางแผนการ จัดการเรียนรู้ ท่ีท้าทายความสามารถของผู้เรียน ๒) กำหนดเปา้ หมายที่ต้องการใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั ผ้เู รยี น ดา้ นความรู้และทกั ษะ กระบวนการ ท่ีเป็นความคดิ รวบยอด หลกั การ และความสมั พนั ธ์ รวมท้งั คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ๓) ออกแบบการเรียนรู้ และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล และพัฒนาการทางสมอง เพ่อื นำผเู้ รยี นไปสเู่ ป้าหมาย ๔) จัดบรรยากาศทเ่ี ออ้ื ต่อการเรยี นรู้ และดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี นให้เกิดการเรียนรู้ ๕) จัดเตรยี มและเลือกใช้สอื่ ให้เหมาะสมกบั กิจกรรม นำภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ เทคโนโลยีทเ่ี หมาะสมมาประยุกตใ์ ช้ในการจดั การเรยี นการสอน ๖) ประเมินความก้าวหนา้ ของผู้เรยี นด้วยวธิ ีการทห่ี ลากหลาย เหมาะสมกับ ธรรมชาตขิ องวชิ าและระดบั พัฒนาการของผ้เู รียน ๗) วิเคราะห์ผลการประเมินมาใชใ้ นการซอ่ มเสรมิ และพฒั นาผูเ้ รียน รวมท้ัง ปรับปรงุ การจัดการเรียนการสอนของตนเอง

22 ๕.๒ บทบาทของผู้เรยี น ๑) กำหนดเปา้ หมาย วางแผน และรับผดิ ชอบการเรียนรู้ของตนเอง ๒) เสาะแสวงหาความรู้ เขา้ ถงึ แหล่งการเรยี นรู้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ขอ้ ความรู้ ต้ังคำถาม คดิ หาคำตอบหรอื หาแนวทางแก้ปญั หาด้วยวธิ กี ารต่าง ๆ ๓) ลงมอื ปฏบิ ตั ิจริง สรปุ ส่งิ ท่ไี ด้เรียนรดู้ ้วยตนเอง และนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ ในสถานการณต์ ่าง ๆ ๔)มปี ฏิสมั พนั ธ์ ทำงาน ทำกิจกรรมร่วมกบั กลมุ่ และครู ๕) ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรขู้ องตนเองอยา่ งตอ่ เน่อื ง สอ่ื การเรยี นรู้ การจัดการศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๑ มุ่งส่งเสริมให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนา ทุกด้าน ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม และสติปัญญา โดยกระบวนการและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายทั้งใน โรงเรียนและนอกโรงเรียน ตลอดจนเลือกใช้ ส่ิงอำนวยความสะดวก สื่อ บริการและความช่วยเหลืออื่นใดทาง การศกึ ษาทเี่ หมาะสม ตลอดจนสอดคล้องกบั ความต้องการของชุมชน สงั คม และประเทศชาติ สื่อการเรียนรู้เป็นเคร่ืองมือส่งเสริมสนับสนุนการจัดการกระบวนการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะตามมาตรฐานของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มี หลากหลายประเภท ทั้งส่ือธรรมชาติ ส่ือส่ิงพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และเครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ท่ีมีในท้องถ่ิน สื่อส่ิงพิมพ์เป็นส่ิงท่ีต้องจัดให้เพียงพอ เนื้อหาครอบคลุมทุกสาระการเรียนรู้และทุกช่วงช้ัน รวมท้ังส่งเสริม การเรียนรู้จากเทคโนโลยีสารสนเทศท่ีผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเน่ือง การเลือกใช้ส่ือควรเลือก ใหม้ ีความเหมาะสมกบั ระดบั พัฒนาการ และลีลาการเรยี นรทู้ หี่ ลากหลายของผูเ้ รยี น การจัดหาส่ือการเรียนรู้ ผู้เรียนและผู้สอนสามารถจัดทำและพัฒนาขึ้นเอง หรือปรับปรุงเลือกใช้ อย่างมีคุณภาพจากสื่อต่างๆ ที่มีอยู่รอบตัวเพื่อนำมาใช้ประกอบในการจัดการเรียนรู้ท่ีสามารถส่งเสริมและ สื่อสารให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ โดยสถานศึกษาควรจัดให้มีอย่างพอเพียง เพ่ือพัฒนาให้ผู้เรียน เกิดการเรียนรู้ อย่างแทจ้ รงิ สถานศึกษา ควรดำเนินการดงั นี้ ๑. จัดให้มีแหล่งการเรียนรู้ ศูนย์สื่อการเรียนรู้ ระบบสารสนเทศการเรียนรู้ และเครือข่าย การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพทั้งในสถานศึกษาและในชุมชน เพ่ือการศึกษาค้นคว้าและการแลกเปล่ียน ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ระหว่างสถานศึกษา ทอ้ งถนิ่ ชุมชน สงั คมโลก ๒. จัดทำและจัดหาสื่อการเรียนรู้สำหรับการศึกษาค้นคว้าของผู้เรียน เสริมความรู้ให้ผู้สอน รวมท้ัง จัดหาส่ิงทีม่ ีอยใู่ นทอ้ งถน่ิ มาประยุกตใ์ ช้เป็นส่อื การเรยี นรู้

23 ๓. เลือกและใช้ส่ือการเรียนรู้ท่ีมีคุณภาพ มีความเหมาะสม มีความหลากหลาย สอดคล้อง กับวธิ กี ารเรยี นรู้ ธรรมชาตขิ องสาระการเรยี นรู้ และความแตกต่างระหว่างบุคคลของผเู้ รยี น ๔. ประเมนิ คุณภาพของสือ่ การเรียนร้ทู ่เี ลอื กใชอ้ ยา่ งเป็นระบบ ๕. ศึกษาคน้ คว้า วิจยั เพื่อพัฒนาสือ่ การเรยี นรู้ใหส้ อดคลอ้ งกับกระบวนการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น ๖. จัดให้มีการกำกับ ติดตาม ประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพเก่ียวกับส่ือและการใช้สื่อ การเรยี นรเู้ ปน็ ระยะๆ และสมำ่ เสมอ ในการจัดทำ การเลือกใช้ และการประเมินคุณ ภาพ ส่ือการเรียนรู้ท่ีใช้ในสถานศึกษ า ควรคำนึงถึงหลักการสำคัญของส่ือการเรียนรู้ เช่น ความสอดคล้องกับหลักสูตร วัตถุประสงค์การเรียนรู้ การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียน เนื้อหามีความถูกต้องและทันสมัย ไม่กระทบ ความมนั่ คงของชาติ ไมข่ ดั ตอ่ ศีลธรรม มกี ารใช้ภาษาท่ีถกู ต้อง รูปแบบการนำเสนอท่ีเขา้ ใจงา่ ย และน่าสนใจ

24 กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย

25 คำอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ภาษาไทยเปน็ เอกลกั ษณ์ของชาติเป็นสมบตั ทิ างวฒั นธรรมอันก่อให้เกิดความเปน็ เอกภาพและ เสริมสรา้ งบุคลิกภาพของคนในชาติให้มคี วามเป็นไทย เปน็ เครือ่ งมือในการติดต่อส่ือสารเพอื่ สร้างความเข้าใจและ ความสัมพันธ์ที่ดตี ่อกนั ทำใหส้ ามารถประกอบกิจธรุ ะ การงาน และดำรงชีวิตร่วมกันในสังคมประชาธปิ ไตยไดอ้ ยา่ ง สันตสิ ุข และเปน็ เครื่องมือในการแสวงหาความรปู้ ระสบการณ์จากแหลง่ ขอ้ มลู สารสนเทศต่างๆ เพือ่ พัฒนาความรู้ พัฒนากระบวนการคิดวเิ คราะห์ วิจารณ์ และสร้างสรรคใ์ หท้ ันต่อการเปลี่ยนแปลงทางสงั คม และความก้าวหนา้ ทาง วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ตลอดจนนำไปใช้ในการพฒั นาอาชพี ใหม้ ีความมน่ั คงทางเศรษฐกิจ นอกจากนยี้ งั เป็นส่ือ แสดงภูมิปัญญาของบรรพบุรษุ ดา้ นวฒั นธรรม ประเพณี และสนุ ทรยี ภาพ เปน็ สมบัตลิ ำ้ คา่ ควรแกก่ ารเรียนรู้ อนุรกั ษ์ และสืบสานใหค้ งอยู่คชู่ าตไิ ทยตลอดไป สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระท่ี 1 การอ่าน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่ือนำไปใชต้ ัดสนิ ใจ แก้ปัญหา ในการดำเนนิ ชีวติ และมนี สิ ยั รกั การอ่าน สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขยี นเรยี งความ ย่อความ และเขยี นเร่ืองราวใน รปู แบบต่างๆ เขยี นรายงานขอ้ มูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสทิ ธภิ าพ สาระที่ 3 การฟงั การดู และการพดู มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงั และดูอยา่ งมีวจิ ารณญาณ และพดู แสดงความรู้ ความคิด และ ความรู้สกึ ในโอกาสต่างๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ สาระที่ 4 หลกั การใชภ้ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษาและพลังของภาษา ภมู ิ ปญั ญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไว้เปน็ สมบัตขิ องชาติ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วจิ ารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คณุ คา่ และนำมา ประยุกต์ใช้ในชวี ติ จริง

26 รายวชิ าพื้นฐาน กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษา จำนวน 200 ช่ัวโมง รายวิชาพ้ืนฐาน ท 11101 ภาษาไทย จำนวน 200 ช่ัวโมง จำนวน 200 ชั่วโมง ท 12101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชั่วโมง ท 13101 ภาษาไทย ท 14101 ภาษาไทย จำนวน 160 ชั่วโมง จำนวน 160 ชั่วโมง ท 15101 ภาษาไทย ท 16101 ภาษาไทย ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 60 ชัว่ โมง รายวิชาพน้ื ฐาน ท 21101 ภาษาไทย ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 60 ช่ัวโมง ภาคเรียนที่ 1 จำนวน 60 ชั่วโมง ท 21102 ภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 60 ชว่ั โมง ท 22101 ภาษาไทย ท 22102 ภาษาไทย ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง ภาคเรียนที่ 2 จำนวน 60 ช่ัวโมง ท 23101 ภาษาไทย ท 23102 ภาษาไทย

27 คำอธบิ ายรายวชิ า รหัสวชิ า ท ๑๑๑๐๑ กลุ6มสาระการเรยี นร=ู ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปทF ี่ ๑ เวลา ๒๐๐ ช่วั โมง จำนวน ๕ หน6วยกิต คำอธิบายรายวิชา ศึกษาหลักการอ,านออกเสยี ง ความหมายของคำ คำคล8องจอง และข8อความ ทป่ี ระกอบ ดว8 ยคำท่มี รี ูป วรรณยกุ ตแE ละไม,มีรปู วรรณยุกตE ตวั สะกดตรงตามมาตราและไม,ตรงตามมาตรา พยัญชนะควบกล้ำ คำท่มี อี ักษรนำ การอ,านจบั ใจความ ตอบคำถาม และเล,าเรื่องยอ, จากนิทาน เร่ืองส้นั รอ8 งแก8ว รอ8 ยกรอง บทอาขยาน วรรณกรรม และ เร่ืองเล,าในทอ8 งถน่ิ ของจงั หวดั ประจวบครี ีขันธE การอ,านหนงั สือตามความสนใจ ความหมายของเครื่องหมายหรือ สัญลักษณตE า, งๆ การคดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทัด การเขยี นสอื่ สารด8วยคำ และประโยคงา, ยๆ การฟงT และปฏบิ ัติ ตามคำแนะนำ คำสั่งงา, ยๆ การพูดแสดงความคิดเห็น และความร8สู กึ จากเรื่องท่ฟี งT และดทู ัง้ ท่เี ปนV ความร8ูและความ บนั เทงิ ศึกษา หลักภาษาไทย พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ตE เลขไทย การสะกดคำ การแจกลูก การอ,านเปVนคำ มาตรา ตัวสะกด การผนั คำ การแตง, ประโยค คำคล8องจอง รวมทง้ั มารยาทในการอา, น การเขียน การฟงT การดู และการพดู โดยใชท8 กั ษะและกระบวนการทางภาษาไทย ท้ังการอา, น การเขียน การพูด การฟTง และดู สามารถใช8 ภาษาไทยได8อย,างถกู ตอ8 ง และมมี ารยาท เพื่อใหเ8 กดิ ความรู8 ความคิด ความเข8าใจ สามารถนำเสนอสอ่ื สารสงิ่ ทีเ่ รยี นร8ู มมี ารยาทในการอา, น การเขยี น การฟงT การดู และการพูด มีความสามารถในการตดั สนิ ใจ แก8ปญT หาในการดำเนนิ ชวี ติ เหน็ คุณค,าของการนำความรูไ8 ป ใชใ8 นชวี ิตประจำวนั รหสั ตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ป.๑/๑ - ป.๑/๘, ท ๒.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒, ป.๑/๓ ท ๓.๑ ป.๑/๑ - ป.๑/๕, ท ๔.๑ ป.๑/๑ - ป.๑/๔, ท ๕.๑ ป.๑/๑, ป.๑/๒ รวม ๒๒ ตัวชี้วัด

28 คำอธิบายรายวิชา รหสั วชิ า ท ๑2๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที ่ี 2 เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง จำนวน ๕ หน่วยกติ อ่านออกเสยี ง และอธิบายความหมายของคำ คำคลอ้ งจอง บทรอ้ ยกรองงา่ ยๆ อา่ นจบั ใจความ ต้ังคำถาม และตอบคำถามจากเร่อื งทอี่ า่ น นทิ าน เรอื่ งเล่าส้ันๆ บทเพลงและบทรอ้ ยกองง่ายๆ เรื่องราว ในบทเรยี น ข่าวและเหตุการณป์ ระจำวนั แสดงความคดิ เหน็ คาดคะเน เหตุการณ์จากเรอื่ งท่อี า่ น อา่ นหนงั สอื ตาม ความสนใจ อา่ นขอ้ เขยี นเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำส่ังหรอื ข้อเสนอแนะ และมมี ารยาทในการอา่ น คัดลายมือตวั บรรจงเตม็ บรรทัดตามรปู แบบการเขยี นอักษรไทย เขียนเรื่องส้ันเกย่ี วกับ ประสบการณ์ เขยี นตามจนิ ตนาการและมารยาทในการเขยี น ฟงั และปฏบิ ตั ติ ามคำแนะนำคำสง่ั ท่ีซับซอ้ น เล่าเร่อื งท่ีฟงั และดูพดู แสดงความคิดเหน็ บอก สาระสำคัญของเร่ืองที่ฟังและดู ตง้ั คำถามและตอบคำถามเกีย่ วกับเรอื่ งท่ีฟงั และดู พูดแสดงความคิดเหน็ และ ความรูส้ ึกจากเร่ืองที่ฟงั และดู จากเรือ่ งเล่า สารคดี นทิ าน การ์ตูน เรื่องขบขัน เพลง พูดสอ่ื สารแนะนำตนเอง พูดขอความชว่ ยเหลอื กลา่ วคำขอบคุณ คำขอโทษ พูดขอรอ้ งในโอกาสตา่ งๆ เล่าประสบการณ์ในชวี ติ ประจำวนั และมีมารยาทในการฟงั การดู การพูด บอกและเขยี นพยัญชนะ สระ วรรณยุกต์และเลขไทย เขียนสะกดคำการแจกลูก การอา่ นเช่นคำ มาตราตัวสะกดทตี่ รงและไม่ตรงตามมาตรการผนั อกั ษรกลาง อักษรสูง และอกั ษรต่ำ คำทมี่ ีตวั -การนั ต์ คำท่มี ี พยญั ชนะควบกลำ้ คำท่ีมีอกั ษรนำ คำท่ีมีความหมายตรงขา้ มกัน คำทีม่ ี รร ความหมายของคำ การแต่งประโยค เรยี บเรยี งประโยคเป็นขอ้ ความส้ันๆ บอกลกั ษณะคำคล้องจอง เลอื กใชภ้ าษาไทยมารฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสม ระบุ ข้อคดิ จากการอา่ นนิทาน เรือ่ งสั้นง่ายๆ ปรศิ นาคำทาย บทอาขยาน บทร้อยกรอง วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรียน รอ้ งบทร้องเลน่ ในท้องถน่ิ ทอ่ งจำบทอาขยานตามท่กี ำหนดและบทร้อยกรอง ตามความสนใจ โดยใชก้ ารฟงั พูด อา่ นและเขยี นเปน็ กระบวนการคิด มีทักษะทางภาษา ทกั ษะการสือ่ สาร ใช้ ภาษาเปน็ เคร่ืองมือในการถ่ายทอดวัฒนธรรม รักชาติ ศาสนา กษตั รยิ ์ พฒั นาผเู้ รียนให้เปน็ คนมีเหตผุ ล สรุป เรือ่ งราวอยา่ งมกี ฎเกณฑ์ มีความซอ่ื สัตย์สุจริตมีวินยั ใชภ้ าษาในการแสดงหาความรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง มุง่ ม่นั ในการ ทำงาน มคี ุณค่าทางจริยธรรม รกั ความเป็นไทย มจี ิตสาธารณะ เห็นคุณค่าของการอนรุ กั ษ์ภาษาไทย และตัวเลข ไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ให้เกดิ ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวันไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งเหมาะสม รหัสตวั ช้ีวดั ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ท 2.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5

29 ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 (รวม 27 ตวั ช้ีวดั ) รหัสวิชา ท ๑3๑๐๑ คำอธบิ ายรายวชิ า ชั้นประถมศึกษาปที ่ี 3 เวลา ๒๐๐ ชั่วโมง กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทย จำนวน ๕ หนว่ ยกติ ศึกษาหลกั การอา่ นออกเสียง และความหมายของคำ คำคลอ้ งจอง ขอ้ ความและบทร้อยกรอง ง่าย ๆ อธบิ ายความหมายของคำและข้อความที่อ่าน สามารถคดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั เขียนบรรยายเก่ยี วกับ ลักษณะของส่ิงตา่ ง ๆ เขียนบันทกึ ประจำวัน เร่อื งตามจินตนาการ จบั ใจความ และพูดแสดงความคดิ เหน็ ความร้สู กึ จากเร่อื งท่ฟี งั และดู ทง้ั ที่เป็นความรแู้ ละความบันเทงิ มมี ารยาทในการฟงั ดู พูด เขียน สะกดคำและ บอกความหมายของคำ ระบชุ นดิ หนา้ ทข่ี องคำในประโยค สามารถใชพ้ จนานุกรมคน้ หาความหมาย แต่งประโยค คำคล้องจอง คำขวัญ เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐาน และภาษาถน่ิ ไดเ้ หมาะสมกับกาลเทศะ ระบขุ ้อคิดทีไ่ ดจ้ ากการ อ่านวรรณกรรม รจู้ ักเพลงพื้นบา้ น เพลงกล่อมเด็ก ทอ่ งบทอาขยาน บทรอ้ ยกรองท่มี ีคณุ คา่ และความสนใจ โดยใชท้ ักษะและกระบวนการทางภาษาไทย ท้งั การอา่ น การเขยี น การพูด การฟัง และดู สามารถใช้ภาษาไทยได้อยา่ งถกู ตอ้ ง และมีมารยาท เพอื่ ใหเ้ กิดความรู้ ความเข้าใจ นำความรู้จากส่งิ ที่ได้รบั ไปปรบั ใช้ในชวี ติ ประจำวนั เข้าใจ เห็น คณุ คา่ และรกั ษาภาษาไทยไว้เป็นสมบตั ิของชาติไทย รหัสตวั ชีว้ ัด ท ๑.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๙, ท ๒.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๖, ท ๓.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๖, ท ๔.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๖, ท ๕.๑ ป.๓/๑ – ป.๓/๔ รวม ๓๑ ตัวชี้วดั

30 คำอธบิ ายรายวิชา รหัสวชิ า ท ๑๔๑๐๑ กล6ุมสาระการเรยี นรู= ภาษาไทย ชั้นประถมศกึ ษาปทF ่ี ๔ เวลา ๑๖๐ ชว่ั โมง จำนวน ๔ หนว6 ยกิต คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาหลักการอา, นออกเสียง เขา8 ใจความหมายของบทรอ8 งแก8ว ร8อยกรอง ทอ, งจำบทร8อยกรองเปVนทำนอง เสนาะ อ,านจบั ใจความจากสอื่ ต,างๆ ได8โดยเลอื กหนงั สืออ,านตาม ความสนใจ มีนิสัยรกั การอา, น และมีมารยาทใน การอ,าน คดั ลายมอื ด8วยตัวบรรจงเตม็ บรรทดั คร่งึ บรรทดั ตามรปู แบบของการเขียนตัวอักษรไทย เขียนสอ่ื สาร โดยนำแผนภาพโครงเรื่อง แผนภาพความคดิ ไปพฒั นาตน เขยี นย,อความ จดหมายถึงเพือ่ น บิดามารดา เขียนบันทกึ รายงานได8เหมาะกับโอกาส เขียนเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ มนี ิสัยรกั การเขยี นและมมี ารยาทในการเขียน จำแนก ขอ8 เทจ็ จรงิ ขอ8 คิดเหน็ จากเรอื่ งทฟี่ งT และดูโดยการสังเกต จับใจความของเรือ่ งทพี่ ดู แสดงความร8ู ความคิดในเรื่องทีฟ่ งT และดูจากส่อื ตา, งๆ ศกึ ษาการพูดรายงานลำดับเหตุการณE ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน มมี ารยาทในการฟTง การดู และการ พดู อา, นและเขียนสะกดคำแม, ก.กา มาตราตัวสะกดต,างๆ การผนั อกั ษร คำเปนV คำตาย คำพ8อง ใช8คำตามชนดิ และ หนา8 ท่ขี องคำ ใชพ8 จนานกุ รมโดยแยกสว, นประกอบของประโยค แต,งบทรอ8 ยกรองประเภทกลอนส่ี คำขวัญ สำนวน คำ พงั เพย สุภาษติ ใช8ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินได8อย,างถูกตอ8 ง อา, นวรรณคดี วรรณกรรม นิทานพ้ืนบา8 น นทิ าน คตธิ รรม เพลงพนื้ บา8 น เพอ่ื นำไปใชใ8 นชีวติ ประจำวนั ได8 โดยใชท8 กั ษะและกระบวนการทางภาษาไทย ท้ังการอา, น การเขยี น การพูด การฟTง และดู สามารถใช8 ภาษาไทยได8อยา, งถูกตอ8 ง และมีมารยาท เพ่อื ใหเ8 กิดความร8ู ความเขา8 ใจ นำความรจ8ู ากส่ิงที่ได8รับไปปรับใช8ในชีวติ ประจำวัน เขา8 ใจ และเห็นคุณคา, และ รักษาภาษาไทยไว8เปVนสมบตั ิของชาตไิ ทย รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๘, ท ๒.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๘, ท ๓.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๖, ท ๔.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๗, ท ๕.๑ ป.๔/๑ - ป.๔/๔ รวม ๓๓ ตัวช้วี ัด

31 รหสั วชิ า ท ๑๕๑๐๑ กลุม6 สาระการเรยี นรู= ภาษาไทย คำอธิบายรายวิชา เวลา ๑๖๐ ชวั่ โมง ชน้ั ประถมศึกษาปFท่ี ๕ จำนวน ๔ หน6วยกติ คำอธิบายรายวิชา ศกึ ษาหลักการอ,านออกเสียงบทรอ8 งแก8ว และบทรอ8 ยกรอง การจบั ใจความสำคญั จากสอ่ื ต,างๆ จากงานเขียน เชิงอธบิ าย คำส่งั ขอ8 แนะนำ และการอ,านหนังสือตามความสนใจ การคดั ลายมือ การเขยี นสอ่ื สาร นำแผนภาพ โครงเรื่อง แผนภาพความคิด ไปพัฒนางานเขยี น เขยี นยอ, ความจากส่ือต,างๆ เขียนจดหมายถึงผปู8 กครองและญาติ แสดงความร8สู กึ ความคิดเหน็ กรอกแบบรายการต,างๆ การเขยี นเรื่องตามจนิ ตนาการ จบั ใจความและการพดู แสดง ความรู8 ความเขา8 ใจ ความคิดในเรอื่ งทฟ่ี งT ดูจากส่ือต,างๆ วเิ คราะหEความนา, เช่ือถอื จากเรื่องทฟี่ Tง ดู และรายงานจากใน ชีวิตประจำวนั พรอ8 มทงั้ ศกึ ษาชนิด หน8าทีข่ องคำ ประโยค และสว, นประกอบของประโยค ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษา ถน่ิ คำราชาศัพทE คำท่ีมาจากภาษาตา, งประเทศ กาพยEยานี ๑๑ สำนวนทเ่ี ปVนคำพงั เพย และสภุ าษิต ศึกษาวรรณคดี และวรรณกรรมในพ้นื บ8าน วรรณคดใี นบทเรียนตามความสนใจ บทอาขยาน และบทร8อยกรอง ตามท่กี ำหนดไดอ8 ยา, งมี คุณคา, โดยใช8ทักษะและกระบวนการอ,าน การอ,านจับใจความ อ,านออกเสียง บทรอ8 ยแกว8 และบทรอ8 ยกรอง อ,านตาม ความสนใจ ใชท8 กั ษะกระบวนการเขียน ในการคัดลายมือดว8 ยตวั บรรจงตามรูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย และเขยี น สอ่ื สารต,างๆ ได8ตามความคิดเหน็ และแสดงความรส8ู ึกตามจินตนาการ ใชท8 ักษะการฟTง การดู และการพดู วิเคราะหE ความเช่อื ถือจากเรอื่ งท่ฟี งT ดู ในชีวิตประจำวนั พร8อมท้งั ใชท8 กั ษะการเรยี นร8ู หลักการทางภาษา แสวงหาความร8ู และ การทำงานในการอา, นพฒั นา วเิ คราะหE วิจารณEวรรณคดี วรรณกรรม ได8อยา, งมเี หตุผล มี การนำเสนอความ คิดเหน็ ในรูปแบบต,างๆ ได8อยา, งมีคณุ ค,า เพอื่ ให8เกดิ ความร8ู และความเขา8 ใจ สามารถนำไปใช8ในการตดั สินใจ แก8ปTญหาใน การดำเนินชีวิต มนี สิ ัย มารยาทในการสือ่ สาร สามารถฟTง ดู พดู ได8อยา, งมวี ิจารณญาณ ใชเ8 ปVนเคร่อื งมือในการแสวงหาความร8ู ความคดิ ความรสู8 ึกในโอกาสตา, งๆ ได8อย,างสร8างสรรคE พร8อมทั้งเข8าใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย ภูมปิ ญT ญาทาง ภาษา รกั ษาภาษาไทยไว8เปนV สมบตั ิของชาติ พร8อมทั้งเหน็ คุณคา, ของวรรณคดี และวรรณกรรมท่อี ,าน นำข8อคดิ เห็นจาก เรือ่ งทอี่ า, นไปประยกุ ตEใช8ในชีวิตจรงิ

32 รหัสตวั ชี้วดั ท ๑.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๘, ท ๒.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๙, ท ๓.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๕, ท ๔.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๗, ท ๕.๑ ป.๕/๑ - ป.๕/๔ รวม ๓๓ ตวั ช้ีวดั คำอธิบายรายวชิ า รหัสวิชา ท ๑๖๑๐๑ กล6ุมสาระการเรยี นร=ู ภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปทF ี่ ๖ เวลา ๑๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๔ หนว6 ยกติ คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาหลักการอ,านออกเสียงบทรอ8 งแกว8 และบทร8อยกรอง การอ,านจบั ใจความ อา, นงานเขยี น อา, นข8อมลู จาก แผนผัง แผนท่ี แผนภมู ิ และกราฟ การอา, นหนังสอื ตามความสนใจ การคัดลายมอื ตัวบรรจงเตม็ บรรทัดและคร่ึง บรรทดั การเขยี นสือ่ สาร เขยี นแผนภาพโครงเร่ือง และแผนภาพความคิด การเขยี นเรียงความ เขยี นย,อความ เขียน จดหมายส,วนตวั การกรอกแบบรายการ การเขยี นเรอ่ื งตามจนิ ตนาการ การพดู แสดงความร8ู ความเข8าใจ วิเคราะหE เร่อื งจากการฟงT และดสู ือ่ โฆษณา การพดู รายงาน การเลา, นิทานพ้นื บา8 นของจังหวดั ประจวบคีรขี นั ธE มารยาทในการฟงT การดูและการพดู ศกึ ษาชนิดและหน8าท่ขี องคำ คำราชาศัพทE ภาษาถน่ิ คำท่ีมาจากภาษา ต,างประเทศ กลุม, คำ ประโยค กลอนสุภาพ คำพงั เพยและสภุ าษติ การศกึ ษาวรรณคดแี ละวรรณกรรม บทอาขยานและบทรอ8 งกรอง โดยใชก8 ระบวนการอ,านสรา8 งความร8ู ความคิด การเขียนสื่อสารในรูปแบบต,างๆ การฟงT และการดอู ย,างมี วจิ ารณญาณ การพดู ตลอดจนมีมารยาทในการสือ่ สาร กระบวนการคิด กระการสบื คน8 ขอ8 มูล กระบวนการปฏบิ ัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลม,ุ และกระบวนการเผชญิ สถานการณแE ละแก8ปญT หา เพ่ือใหเ8 กดิ ทกั ษะในการใช8ภาษาเพอื่ การสอื่ สาร การอ,านและการฟงT เปVนทักษะของ การรบั ร8ูเรอื่ งราว ความร8ู และประสบการณE สว, นการพดู และการเขยี นเปนV ทักษะการแสดงออกด8วยการแสดงความคิดเหน็ ความรแ8ู ละ ประสบการณE สามารถรับรู8ขอ8 มูลขา, วสารจากการส่อื สารไดอ8 ย,างพินิจพเิ คราะหE สามารถเลือกใช8คำ เรียบเรยี งความคดิ ความร8ู และใชภ8 าษาได8ถูกต8องตามกฎเกณฑE ใช8ภาษาไดต8 รงตามความหมายและถูกตอ8 งตามกาลเทศะ บคุ คล และมี ประสทิ ธภิ าพ มีความรกั และภาคภูมใิ จในภาษาไทย ร,วมอนรุ ักษภE าษาไทยอันเปVนเอกลกั ษณEและสมบัตชิ าติ

33 รหัสตวั ชวี้ ดั ท ๑.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙, ท ๒.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๙, ท ๓.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๖, ท ๔.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๖, ท ๕.๑ ป.๖/๑ - ป.๖/๔ รวม ๓๔ ตวั ช้วี ดั คำอธิบายรายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๑ กลุม6 สาระการเรียนร=ู ภาษาไทย ชน้ั มัธยมศกึ ษาปFที่ ๑ คำอธบิ ายรายวิชา เวลา ๖๐ ช่วั โมง จำนวน ๐.๕ หนว6 ยกิต ภาคเรยี นท่ี ๑ ศึกษาหลักการอ,านออกเสียงร8องแก8ว ร8อยกรอง การจับใจความสำคัญ การอ,านและปฏิบัติตามเอกสารค,ูมือ การอ,านหนังสือตามความสนใจ การคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด การเขียนสื่อสาร เขียนบรรยายประสบการณE เขียนเรียงความ เขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับสาระจากสื่อที่ได8รับ การพูดสรุปความ พูดแสดงความร8ู ความคิด การ พูดประเมินความน,าเช่ือถือของสื่อที่มีเนื้อหาโน8มน8าว การพูดรายงานการศึกษาค8นคว8าจากแหล,งเรียนรู8ต,างๆ ในชุมชน และในเขตเมืองประจวบคีรีขันธE ศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสร8างคำ ชนิดและหน8าที่ของคำในประโยค การแต,งบทร8อยกรอง การสรุปเนื้อหา วิเคราะหE อธิบายคุณค,า ข8อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม การท,องจำบท อาขยานและบทรอ8 ยกรองท่ีมีคุณคา, ตาม ความสนใจ โดยใช8กระบวนการอ,านสร8างความร8ู ความคิด การเขียนสื่อสารในรูปแบบต,างๆ การฟTงและการดูอย,าง มีวิจารณญาณ การพูด ตลอดจนมีมารยาทในการสื่อสาร กระบวนการคิด กระการสืบค8นข8อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสงั คม กระบวนการกล,มุ และกระบวนการเผชญิ สถานการณEและแกป8 ญT หา เพ่ือให8เกิดทักษะในการใช8ภาษาเพ่ือการสื่อสาร การอ,านและการฟTงเปVนทักษะของ การรับร8ูเรื่องราว ความร8ูและประสบการณE ส,วนการพูดและการเขียนเปVนทักษะการแสดงออกด8วยการแสดงความคิดเห็น ความรู8และ

34 ประสบการณE สามารถรับรู8ข8อมูลข,าวสารจากการส่ือสารได8อย,างพินิจพิเคราะหE สามารถเลือกใช8คำ เรียบเรียงความคิด ความร8ู และใช8ภาษาได8ถูกต8องตามกฎเกณฑE ใช8ภาษาได8ตรงตามความหมายและถูกต8องตามกาลเทศะ บุคคล และมี ประสิทธิภาพ มีความรกั และภาคภูมิใจในภาษาไทย รว, มอนุรักษภE าษาไทยอันเปVนเอกลักษณแE ละสมบัติชาติ รหสั ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๑/๑- ม.๑/๙, ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙, ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕, ท ๔.๑ ม.๑/๑, ม.๑/๒, ม.๑/๓, ม.๑/๕, ท ๕.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๕ รวม ๓๓ ตัวชีว้ ดั

คำอธิบายรายวิชา 35 รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ กล6ุมสาระการเรยี นร=ู ภาษาไทย ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปทF ่ี ๑ คำอธบิ ายรายวชิ า เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๐.๕ หนว6 ยกติ ภาคเรยี นที่ ๒ ศึกษาหลักการอ,านจับใจความสำคัญจากส่ือต,างๆ การระบุเหตุและผล ข8อเท็จจริงกับข8อคิดเห็น คำ เปรียบเทียบ คำท่ีมีหลายความหมาย การตีความคำยากในเอกสารวิชาการโดยพิจารณาจากบริบท การอ,านหนังสือ ตามความสนใจ การเขียนย,อความจากเร่ืองท่ีอ,าน การเขียนจดหมายส,วนตัวและจดหมายกิจธุระ การเขียนรายงาน การพูดแสดงความคิดเห็นและประเมินความน,าเชื่อถือของส่ือท่ีมีเนื้อหาโน8มน8าว การพูดรายงานการศึกษาค8นคว8าจาก แหล,งเรียนรู8ต,างๆ ในชุมชนและท8องถิ่นของตน วิเคราะหEความแตกต,างของภาษาพูดและภาษาเขียน จำแนกและใช8 สำนวนท่ีเปVนคำพังเพยและสุภาษิต การแต,งบทร8อยกรองเก่ียวกับเมืองสามอ,าว การสรุปเนื้อหา วิเคราะหE อธิบาย คุณค,า และข8อคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมท8องถ่ิน การท,องจำบทอาขยาน และบทร8องกรองที่มี คณุ ค,าตามความสนใจ โดยใช8กระบวนการอ,านสร8างความร8ู ความคิด การเขียนสื่อสารในรูปแบบต,างๆ การฟTงและการดูอย,าง มีวิจารณญาณ การพูด ตลอดจนมีมารยาทในการสื่อสาร กระบวนการคิด กระการสืบค8นข8อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ,ม และกระบวนการเผชิญสถานการณแE ละแกป8 ญT หา เพื่อให8เกิดทักษะในการใช8ภาษาเพื่อการสื่อสาร การอ,านและการฟTงเปVนทักษะของ การรับร8ูเร่ืองราว ความร8ูและ ประสบการณE ส,วนการพูดและการเขียนเปVนทักษะการแสดงออกด8วยการแสดงความคิดเห็น ความร8ูและประสบการณE สามารถรับรู8ข8อมูลข,าวสารจากการสื่อสารได8อย,างพินิจพิเคราะหE สามารถเลือกใช8คำ เรียบเรียงความคิด ความรู8 และ ใช8ภาษาได8ถูกต8องตามกฎเกณฑE ใช8ภาษาได8ตรงตามความหมายและถูกต8องตามกาลเทศะ บุคคล และมีประสิทธิภาพ มคี วามรกั และภาคภมู ิใจในภาษาไทย รว, มอนุรกั ษภE าษาไทยอันเปVนเอกลักษณEและสมบตั ชิ าติ รหัสตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙, ท ๒.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๙, ท ๓.๑ ม.๑/๑ - ม.๑/๖, ท ๔.๑ ม.๑/๔, ม.๑/๖, ท ๕.๑ ม.๑//๑ - ม.๑/๕ รวม ๓๑ ตัวช้วี ดั

36 คำอธิบายรายวชิ า รหัสวชิ า ท ๒๒๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๖๐ ชั่วโมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกติ ภาคเรยี นท่ี ๑ คำอธบิ ายรายวชิ า ศึกษาหลักการอ่านออกเสยี งรอ้ ยแก้วและรอ้ ยกรอง การอ่านจบั ใจความจากส่ือต่างๆ ตามความสนใจ มี มารยาทในการอ่าน คัดลายมอื ตัวบรรจงครงึ่ บรรทัดตามรปู แบบ การเขียน เขียนบรรยายและพรรณนา เขยี น เรยี งความเกีย่ วกบั ประสบการณ์ เขียนวิเคราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรูค้ วามคิด หรอื โต้แย้งจากส่อื ต่างๆ และมี มารยาทในการเขียน พดู สรปุ ความ พูดวเิ คราะห์ และวจิ ารณจ์ ากเรอ่ื งที่ฟังและดู การพดู ในโอกาสตา่ งๆ รวมทงั้ มี มารยาทในการฟงั การดูและการพูด เข้าใจการสรา้ งคำสมาส และสามารถบอกลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย แตง่ บทรอ้ ยกรองประเภทกลอนสุภาพได้ รวมถงึ การวิเคราะห์คณุ ค่าและข้อคดิ จากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรม ท้องถนิ่ และสามารถทอ่ งบทอาขยานและบทรอ้ ยกรองทมี่ คี ุณค่าได้ โดยใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคิด การเขยี นสื่อสารในรูปแบบตา่ งๆ การฟงั และการดอู ย่าง มวี จิ ารณญาณ รวมทง้ั การคิดวเิ คราะห์ การแสดงความคิดเหน็ เพอื่ ใหเ้ กดิ ความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปใช้ในการดำเนินชวี ิต มคี วามสามารถในการใช้ภาษาเพ่อื การ ส่อื สาร การเรียนรอู้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มีความซาบซ้ึงและภูมิใจในภาษาไทย เหน็ คณุ ค่าและรักษาภาษาไทยไว้เป็น สมบัติของชาติ รหสั ตัวชีว้ ัด ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘, ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๒, ม.๒/๓, ท ๕.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ รวม ๒๗ ตวั ช้วี ัด

37 คำอธิบายรายวชิ า รหสั วชิ า ท ๒๒๑๐๒ กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ เวลา ๖๐ ชัว่ โมง จำนวน ๑.๕ หน่วยกิต ภาคเรยี นท่ี ๒ คำอธบิ ายรายวชิ า ศกึ ษาหลักการอา่ นออกเสยี งร้อยแก้วและร้อยกรอง การอา่ นจับใจความจากส่อื ต่างๆ ตามความสนใจ มี มารยาทในการอ่าน คัดลายมอื ตัวบรรจงครง่ึ บรรทัดตามรูปแบบการเขียน มีทักษะในการเขยี นย่อความ เขยี นรายงาน เขยี นจดหมายกิจธรุ ะ เขยี นวิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความรูค้ วามคิดเหน็ หรือโต้แยง้ จากสือ่ ตา่ งๆ รวมท้งั มมี ารยาทใน การฟงั การดูและการพดู มีความรคู้ วามเขา้ ใจในเร่ืองการใช้คำราชาศพั ท์ และคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ รวมท้ัง สามารถแต่งกลอนสุภาพได้ โดยใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความร้แู ละความคิด การเขียนสื่อสารในรปู แบบตา่ งๆ การฟัง และการดูอย่าง มวี จิ ารณญาณ รวมท้งั การคิดวิเคราะห์ การแสดงความคดิ เห็น เพ่อื ให้เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ สามารถนำไปใชใ้ นการดำเนนิ ชวี ติ มีความสามารถในการใช้ภาษาเพอ่ื การ ส่อื สาร การเรยี นรู้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ มีความซาบซง้ึ และภมู ใิ จในภาษาไทย เห็นคุณคา่ และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็น สมบัติของชาติ รหสั ตวั ชีว้ ดั ท ๑.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๘, ท ๒.๑ ม.๒/๑, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ม.๒/๖, ม.๒/๗, ม.๒/๘, ท ๓.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๖, ท ๔.๑ ม.๒/๓, ม.๒/๔, ม.๒/๕, ท ๕.๑ ม.๒/๑ - ม.๒/๕ รวม ๒๘ ตัวช้วี ดั

รหสั วิชา ท ๒3๑๐๑ คำอธบิ ายรายวิชา 38 เวลา ๖๐ ชว่ั โมง กล่มุ สาระการเรียนรู้ ภาษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกติ ภาคเรียนท่ี ๑ ฝกึ การฟงั ดู พูด อา่ นและเขยี น โดยฟังข้อความจากเร่ืองราวและสอ่ื ต่างๆ ทไ่ี ดเ้ รียน ฝึกการคิดวเิ คราะห์ อา่ นจบั ใจความสำคญั วเิ คราะห์ วจิ ารณ์ ตีความและประเมนิ เรอื่ งท่ีอ่านจากวรรณคดแี ละวรรณกรรมประเภทต่างๆ ทอ่ งจำบทอาขยานหรอื บทประพันธท์ ี่ชอบ คัดลายมอื ตวั บรรจงครึง่ บรรทัดตามหลักการเขยี นอักษรไทย และเลขไทย เขียนกรอบแนวคิด ผงั ความคดิ บันทึก ยอ่ ความ เขยี นจดหมายกิจธุระ กรอกแบบสมคั รงาน เขียนรายงานการศึกษา คน้ คว้าและโครงงาน เขียนแสดงความคิดเหน็ และประเมนิ เรอื่ ง จากการฟงั และการดู พดู รายงานเรือ่ งหรือประเดน็ ท่ีศกึ ษาคน้ คว้า ศึกษาหลักภาษาเกย่ี วกบั การจำแนกและใช้คำภาษาตา่ งประเทศ คำทับศพั ท์และศัพท์บัญญัติ คำศพั ท์ทาง วชิ าการและวชิ าชพี หลกั การอ่านออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทรอ้ ยกรอง คำท่มี คี วามหมายโดยตรงและ ความหมายโดยนยั การอ่านจบั ใจความสำคญั จากเรื่องตา่ งๆ การวิเคราะห์ วิจารณ์ และประเมนิ เรอ่ื งทอ่ี า่ น การ ตีความและประเมินคุณคา่ หลกั การเขยี นยอ่ ความ การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ การกรอกแบบสมัครงาน การรายงาน การศกึ ษาค้นควา้ และโครงงาน การแสดงความคดิ เห็นและประเมนิ เร่ืองจากการฟงั และการดู การวิเคราะหแ์ ละ วิจารณ์เรอ่ื งที่ฟังและดู การพูดรายงานเรือ่ งหรอื ประเด็นทีศ่ กึ ษาคน้ ควา้ ท่ีไดอ้ า่ น ฟัง ดู พูดและเขยี นไดถ้ ูกตอ้ ง ชดั เจนสละสลวย ตรงตามจุดประสงค์ สามารถแสดงออกเชงิ สรา้ งสรรค์ ท้งั การพดู และการเขยี น มมี ารยาทและมนี สิ ัยรักการอ่าน การฟังการดู การพดู และการเขียนสามารถนำไปใช้ในชวี ติ ประจำวันได้ รหัสตวั ช้วี ัด ท ๑.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ม ๓/๗ ม ๓/๘ ม ๓/๑๐ ท ๒.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ม ๓/๘ ม ๓/๑๐ ท ๓.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๔.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๕.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ รวม ๓๓ ตวั ช้วี ัด

39 คำอธบิ ายรายวิชา รหสั วชิ า ท ๒3๑๐๒ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3 เวลา ๖๐ ช่ัวโมง จำนวน ๑.๕ หนว่ ยกิต ภาคเรียนที่ ๒ ฝึกการฟงั ดู พูด อา่ นและเขยี น โดยฟงั ขอ้ ความจากเร่อื งราวและส่อื ต่างๆ ฝึกวิเคราะห์ ประเมินค่า วจิ ารณ์ โตแ้ ย้ง ตีความและประเมินคณุ คา่ อา่ นออกเสยี งทัง้ ร้อยแกว้ และรอ้ ยกรอง อา่ นวรรณคดีและวรรณกรรม ประเภทตา่ งๆ ทอ่ งจำบทอาขยานหรือบทประพันธท์ ีช่ อบ คดั ลายมอื ตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบอักษรไทย เขียนข้อความให้ถูกตอ้ งตามระดบั ภาษา เขยี นชวี ประวตั ิหรืออตั ชีวประวตั ิ เขยี นอธิบาย ชี้แจง แสดงความคิดเห็น เขียนวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ และแสดงความรู้ ความคิดเหน็ สามารถพูดในโอกาสตา่ งๆ พูดโน้มน้าว ศึกษาหลกั ภาษาทเ่ี กีย่ วกับโครงสร้างของประโยคซบั ซอ้ น การแต่งโคลงสสี่ ุภาพ หลกั การอ่านออกเสยี งร้อย แก้วและร้อยกรอง คำทีม่ ีความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั ประเมนิ ความถกู ต้องของขอ้ มูล วจิ ารณ์เรือ่ ง การโต้แยง้ ตคี วามและประเมินคณุ คา่ หลกั การเขยี นตวั อกั ษรไทยและเลขไทย ระดับภาษา การเขยี นชวี ประวตั ิ หรอื อัตชวี ประวตั ิ การเขียนอธิบาย ชแี้ จงแสดงความคิดเห็นและโต้แย้ง การเขียนวเิ คราะห์ วิจารณ์ และแสดง ความรู้ ความคิดเห็น หลกั การพูดในโอกาสตา่ งๆและการพดู โนม้ น้าว การวิเคราะหค์ ณุ ค่าของวรรณคดแี ละ วรรณกรรม ท่ไี ดอ้ ่าน ฟงั ดู พูดและเขียนได้ถูกต้องชัดเจนสละสลวย ตรงตามจุดประสงค์ สามารถแสดงออกเชงิ สรา้ งสรรค์ ทัง้ การพดู และการเขียน มีมารยาทและมนี ิสัยรักการอ่าน การฟังการดู การพดู และการเขียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ได้ รหัสตัวชว้ี ดั ท ๑.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๗ ม ๓/๘ ม ๓/๑๐ ท ๒.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๔ ม ๓/๖ ม ๓/๗ ม ๓/๑๐ ท ๓.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๔.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ ม ๓/๕ ม ๓/๖ ท ๕.๑ ม ๓/๑ ม ๓/๒ ม ๓/๓ ม ๓/๔ รวม ๓๐ ตัวชว้ี ัด

39 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์

40 กลุ่มสาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ คณิตศาสตร์มบี ทบาทสำคญั ยง่ิ ตอ่ การพฒั นาความคดิ มนุษย์ ทำใหม้ นุษย์มีความคดิ สรา้ งสรรค์ คดิ อยา่ งมีเหตุผล เปน็ ระบบ มแี บบแผน สามารถวิเคราะห์ปญั หาหรือสถานการณ์ได้อยา่ งถี่ถว้ นรอบคอบ ชว่ ยให้ คาดการณ์ วางแผน ตดั สินใจ แก้ปญั หา และนำไปใช้ในชีวิตประจำวันไดอ้ ยา่ งถูกต้องเหมาะสม นอกจากน้ี คณติ ศาสตร์ยงั เป็นเคร่ืองมือในการศกึ ษาทางดา้ นวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยแี ละศาสตร์อืน่ ๆ คณติ ศาสตรจ์ งึ มี ประโยชน์ต่อการดำเนนิ ชีวติ ชว่ ยพัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ให้ดขี นึ้ และสามารถอยู่ร่วมกบั ผู้อืน่ ได้อย่างมคี วามสขุ กลุม่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์เปดิ โอกาสให้เยาวชนทกุ คนไดเ้ รียนรูค้ ณติ ศาสตร์อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง ตาม ศกั ยภาพ โดยกำหนดสาระหลักทจ่ี ำเปน็ สำหรับผ้เู รยี นทกุ คนดงั น้ี - จำนวนและพีชคณติ เรียนรู้เกย่ี วกบั ระบบจำนวนจริง สมบัติเก่ยี วกับจำนวนจรงิ อตั ราส่วนร้อย ละ การประมาณคา่ การแกป้ ญั หาเก่ยี วกับจำนวน การใชจ้ ำนวนในชวี ติ จรงิ แบบรปู ความสัมพันธ์ ฟงั ก์ชัน เซต ตรรกศาสตร์ นิพจน์ เอกนาม พหนุ าม สมการ อสมการ กราฟ ดอกเบยี้ และมูลคา่ ของเงิน ลำดับและอนกุ รม และการนำความร้เู กยี่ วกับจำนวนและพีชคณิตไปใช้ในสถานการณต์ ่าง ๆ - การวดั และเรขาคณิต เรยี นรูเ้ กย่ี วกับความยาว ระยะทาง น้ำหนกั พื้นท่ี ปริมาตรและความจุ เงนิ และเวลา หน่วยวดั ระบบตา่ ง ๆ การคาดคะเนเก่ยี วกับการวดั อัตราสว่ นตรีโกณมติ ิ รูปเรขาคณิตและ สมบตั ขิ องรูปเรขาคณติ การนกึ ภาพ แบบจำลองทางเรขาคณิต ทฤษฎบี ททางเรขาคณติ การแปลงทาง เรขาคณติ ในเรื่องการเลอื่ นขนาน การสะทอ้ น การหมนุ และการนำความรูเ้ ก่ยี วกบั การวัดและเรขาคณิตไปใช้ ในสถานการณต์ า่ ง ๆ - สถิตแิ ละความน่าจะเป็น เรยี นร้เู กย่ี วกบั การตง้ั คำถามทางสถติ ิ การเก็บรวบรวมข้อมลู การ คำนวณค่าสถิติ การนำเสนอและแปลผลสำหรบั ขอ้ มูลเชงิ คุณภาพและเชงิ ปริมาณ หลักการนับเบ้อื งตน้ ความนา่ จะเป็น การใชค้ วามรเู้ กีย่ วกบั สถติ แิ ละความน่าจะเป็นในการอธบิ ายเหตกุ ารณ์ต่าง ๆ และช่วยในการ ตดั สินใจ

41 สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 จำนวนและพีชคณติ มาตรฐาน ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนนิ การของจำนวน ผลท่ี เกดิ ขน้ึ จากการดำเนินการ สมบัตขิ องการดำเนินการ และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.2 เขา้ ใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสมั พันธ์ ฟังก์ชนั ลำดับและอนกุ รม และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 1.3 ใชน้ ิพจน์ สมการ และอสมการ อธบิ ายความสมั พันธห์ รอื ช่วยแก้ปญั หาทกี่ ำหนดให้ สาระที่ 2 การวัดและเรขาคณิต มาตรฐาน ค 2.1 เขา้ ใจพ้ืนฐานเกี่ยวกับการวัด วดั และคาดคะเนขนาดของสง่ิ ทีต่ อ้ งการวดั และนำไปใช้ มาตรฐาน ค 2.2 เขา้ ใจและวเิ คราะห์รปู เรขาคณิต สมบัตขิ องรูปเรขาคณิต ความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูป เรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณติ และนำไปใช้ สาระที่ 3 สถติ ิและความน่าจะเปน็ มาตรฐาน ค 3.1 เขา้ ใจกระบวนการทางสถิติ และใชค้ วามร้ทู างสถิตใิ นการแกป้ ญั หา มาตรฐาน ค 3.2 เขา้ ใจหลักการนบั เบ้ืองต้น ความนา่ จะเป็น และนำไปใช้

42 รายวชิ าพืน้ ฐาน กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ ระดับชั้นประถมศึกษา จำนวน 200 ชว่ั โมง รายวชิ าพ้ืนฐาน จำนวน 200 ชัว่ โมง จำนวน 200 ชั่วโมง ค11101 คณิตศาสตร์ ค12101 คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ชั่วโมง ค13101 คณิตศาสตร์ จำนวน 160 ช่วั โมง จำนวน 160 ช่ัวโมง ค14101 คณิตศาสตร์ ค15101 คณิตศาสตร์ ค16101 คณติ ศาสตร์ ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษา ภาคเรียนท่ี 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง รายวชิ าพ้นื ฐาน ภาคเรยี นที่ 2 จำนวน 60 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 1 จำนวน 60 ชว่ั โมง ค 21101 คณิตศาสตร์ จำนวน 60 ชว่ั โมง ค 21102 คณิตศาสตร์ ภาคเรียนท่ี 2 จำนวน 60 ชวั่ โมง ค 22101 คณิตศาสตร์ ภาคเรยี นที่ 1 จำนวน 60 ชั่วโมง ภาคเรยี นท่ี 2 ค 22102 คณติ ศาสตร์ จำนวน 20 ชว่ั โมง ค 23101 คณติ ศาสตร์ จำนวน 20 ช่วั โมง ค 23102 คณิตศาสตร์ รายวชิ าเพิ่มเตมิ ค 20201 คณิตศาสตรเ์ สรมิ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ค 20202 คณิตศาสตร์เสรมิ 2 ภาคเรียนท่ี 2

43 คำอธิบายรายวชิ า ช่ือวิชา คณติ ศาสตร์ รหัสวชิ า ค11101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ เวลา ๒๐๐ ชัว่ โมง คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ศึกษาและเรียนรู้จำนวนของส่ิงต่าง ๆ จำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ จำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ตั้งแต่ ๓ ถึง ๕ จำนวน ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการบวกของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ ตัวไม่ทราบค่าในประโยคสัญลักษณ์แสดงการลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ คำตอบของโจทย์ ปัญหาการบวกของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ คำตอบของโจทย์ปัญหาการลบของจำนวนนับไม่เกิน ๑๐๐ และ ๐ จำนวนที่หายไปในแบบรูปของจำนวนท่ี เพม่ิ ขนึ้ หรือลดลงทลี ะ ๑ และทลี ะ ๑๐ รปู ทหี่ ายไปในแบบรูป ซ้ายของรูปเรขาคณิต และรูปอื่น ๆ ที่สมาชิกในแต่ละชุดที่ซ้ายมี ๒ รูป บอกความยาวเป็นเซนติเมตร เป็น เมตร น้ำหนักเป็นกิโลกรัมเป็นขีด รูปสามเหล่ียม รูปส่ีเหลี่ยม วงกลม วงรี ทรงส่ีเหล่ียมมุมฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก และ กรวย คำตอบของโจทย์ปัญหา เม่ือกำหนดรูป ๑ รูปแทน ๑ หน่วย การแก้ปัญหาที่พบ ในชีวิตจริงอย่างเป็นข้ันตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการส่ือสารในการเรียนรู้การทำงาน และการแก้ปัญหาไดอ้ ย่างมีประสิทธภิ าพ ร้เู ท่าทัน และมีจริยธรรม โดยใช้การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัว ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยการปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ใน การเรียนรู้ส่ิงต่างๆ เพื่อให้เกิดคุณลักษณะการเห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีจิต วทิ ยาศาสตร์ คุณธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มที่เหมาะสม ตวั ช้ีวดั ค๑.๑ ป.๑/๑ ป.๑/๒ ป.๑/๓ ป.๑/๔ ป.๑/๕ ค๑.๒ ป.๑/๑ ป.๑/๑ ค๒.๑ ป.๑/๒ ค๒.๒ ป.๑/๑ ค๓.๑ ป.๑/๑ รวมทัง้ หมด ๑๐ ตัวชว้ี ัด

44 รายวชิ า คณติ ศาสตร์ คำอธิบายรายวชิ า ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๒ กลมุ่ สาระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ รหสั วชิ า ค 1๒101 ภาคเรียนท่ี 1 - 2 เวลา ๒๐0 ชวั่ โมง/ปี ศกึ ษา ฝึกทกั ษะการคิดคำนวณ และฝึกทกั ษะการแก้ปัญหาในสาระต่อไปนี้ จำนวนนับ ๑ ถึง ๑,๐๐๐การอ่านและการเขียนตัวหนังสือ ตัวเลขแทนจำนวนช่ือหลัก ค่าของตัวเลข ในแต่ละหลัก การเขียนในรูปกระจาย การเปรียบเทียบจำนวน การใช้เคร่ืองหมาย = ¹ > < การเรียงลำดับ จำนวน การนับเพ่ิมทีละ ๕ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ การนับลดทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ จำนวนคู่ จำนวนค่ี การบวก การลบ การคูณ การหารและโจทย์ปัญหา ท้องถิ่นมะพร้าว สับปะรด การบวกจำนวนท่ีมี ผลบวกไม่เกิน ๑,๐๐๐การคูณจำนวนที่มีหนึ่งหลักกับจำนวนไม่เกินสองหลัก การหารท่ีตัวต้ังไม่เกินสองหลัก และตวั หารหน่ึงหลัก โดยที่ผลหารมหี นง่ึ หลกั การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทยป์ ญั หา การวัดความยาว ความสูง และระยะทางโดยใช้เคร่ืองวัดท่ีมีหน่วยมาตรฐานเป็นเมตรและเซนติเมตร การเปรยี บเทียบความยาวในหน่วยเดยี วกัน การแก้ปัญหา การชั่ง การช่ังโดยใช้เครื่องช่ังท่ีมีหน่วยมาตรฐานเป็นกิโลกรัม และขีด การเปรียบเทียบน้ำหนักใน หนว่ ยเดยี วกนั การแกป้ ญั หา การตวง การตวงโดยใช้เครื่องตวงที่มีหน่วยมาตรฐานเป็นลิตร การเปรียบเทียบปริมาตรและความจุใน หน่วยเดยี วกนั การแกป้ ัญหา เงิน การจำแนกเงินชนิดของเงินเหรียญและธนบัตร การบอกค่าของเงินเหรียญและธนบัตร การ เปรียบเทยี บคา่ ของเงนิ และการแลกเงิน การบอกจำนวนเงิน การแก้ปัญหา เวลา การบอกเวลาเป็นชัว่ โมงกบั นาที เดอื น อนั ดบั ท่ขี องเดือนและการอ่านปฏิทนิ การแก้ปัญหา รูปเรขาคณติ และสมบัติบางประการของรูปเรขาคณติ รูปสามเหลีย่ ม รปู สเ่ี หล่ียม รูปวงกลม รูปวงรี ทรงสีเ่ หลย่ี มมมุ ฉาก ทรงกลม ทรงกระบอก แบบรูปและความสัมพันธ์ แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มข้ึนทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ แบบรูปของ จำนวนท่ีลดลงทีละ ๕ ทีละ ๑๐ และทีละ ๑๐๐ แบบรูปของรูปเรขาคณิตและรูปอื่นๆที่สัมพันธ์กันในลักษณะ ของรปู รา่ งหรอื ขนาดหรอื สี การจัดประสบการณ์หรือสร้างสถานการณ์ที่ใกล้ตัวให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าโดยปฏิบัติจริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การ สื่อความหมายทางคณิตศาสตร์ และนำประสบการณ์ด้านความรู้ ความคิด ทักษะกระบวนการท่ีได้ไปใช้ใน การเรียนรู้ส่ิงต่างๆและใช้ในชีวิตประจำวันอย่างสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อ คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอย่างเป็นระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และเช่ือม่ัน ในตนเอง การวดั และประเมินผล ใชว้ ธิ กี ารหลากหลายตามสภาพความเปน็ จรงิ ของเนื้อหา ทกั ษะท่ตี อ้ งการวดั

45 รหสั ตวั ชี้วดั ค ๑.๒ ป ๒/๑ , ป ๒/๒ ค ๑.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒ ค ๒.๒ ป ๒/๑ ค ๒.๑ ป ๒/๑ - ป ๒/๖ ค ๓.๒ ป ๒/๑ ค ๓.๑ ป ๒/๑ - ป ๒/๓ ค ๖.๑ ป ๒/๑ - ป ๒/๖ ค ๔.๑ ป ๒/๑ , ป ๒/๒ (รวม ๒๓ ตัวชี้วัด)

46 คำอธิบายรายวชิ า รายวิชา คณิตศาสตร์ กลุ่มสาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีท่ี ๓ ภาคเรยี นท่ี 1 - 2 รหสั วชิ า ค 1๓101 เวลา ๒๐0 ชั่วโมง/ปี ศกึ ษาฝึกทักษะการคดิ คำนวณ และฝกึ ทักษะการแก้ปัญหาในสาระตอ่ ไปน้ี จำนวนนับ 1 ถงึ 100,000 การอา่ นและการเขียนตวั หนังสอื ตัวเลขแทนจำนวนชือ่ หลัก คา่ ของ ตัวเลขในแตล่ ะหลกั การเขยี นในรปู กระจาย การเปรยี บเทียบจำนวน การใชเ้ ครื่องหมาย = ¹ > < การ เรียงลำดับจำนวน การนบั เพิ่มทีละ 3 ทลี ะ 4 ทลี ะ 25 และทีละ 50 การนบั ลดทลี ะ 3 ทีละ 4 ทีละ 25 และทีละ 50 การบวก การลบ การคูณ การหารและโจทย์ปัญหา ท้องถนิ่ มะพร้าว สบั ปะรด การบวกจำนวนที่มี ผลบวกไมเ่ กิน 100,000 การคณู จำนวนที่มหี นึ่งหลักกบั จำนวนไม่เกนิ สีห่ ลัก การคณู จำนวนท่ีมีหนึ่งสองหลัก กบั จำนวนไมเ่ กนิ สองหลกั การหารทต่ี ัวต้งั ไม่เกินสี่หลกั และตวั หารหน่ึง การบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ ปัญหา การวดั ความยาว ความสูง และระยะทางท่มี หี น่วยเปน็ เมตร เซนตเิ มตร และมิลลเิ มตร การเลือกใช้ เครอ่ื งวดั และหนว่ ยการวดั ความยาว ความสงู หรอื ระยะทางทเี่ ป็นมาตรฐาน ความสมั พันธร์ ะหวา่ งหนว่ ยการ วดั ความยาว การเปรียบเทยี บความยาว ความสูง หรือระยะทาง การคาดคะเนความยาวเป็นเมตร เซนตเิ มตร โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกบั ความยาว ความสูงหรอื ระยะทาง การชงั่ การช่งั เปน็ กโิ ลกรมั กรมั และขีด การเลอื กใช้เครอ่ื งชัง่ และหน่วยการชั่งที่เปน็ มาตรฐาน ความสัมพนั ธ์ระหว่างหน่วยการชงั่ การเปรยี บเทียบนำ้ หนกั การคาดคะเนนำ้ หนักเปน็ กโิ ลกรมั กรัม และขีด โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบเกยี่ วกับน้ำหนกั การตวง การตวงเป็นลิตร มิลลลิ ิตร ถ้วยตวง และช้อนตวง การเปรียบเทียบความจุ การคาดคะเน ปรมิ าตรเปน็ ลติ ร โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบเกีย่ วกับปรมิ าตรองส่ิงทตี่ วงหรือความจุของภาชนะ เงิน การบวกจำนวนเงนิ การเขยี นจำนวนเงินโดยใชจ้ ดุ และการอ่านบันทกึ รายรบั รายจา่ ย โจทย์ ปัญหาการบวกและการลบเกี่ยวกบั เงิน เวลา การบอกเวลา การเขยี นบอกเวลาโดยใช้จดุ และการอา่ น ความสมั พนั ธร์ ะหว่างหนว่ ยเวลา บันทกึ กจิ กรรมหรือเหตกุ ารณ์ตา่ งๆท่รี ะบุเวลา โจทยป์ ญั หา รูปเรขาคณติ และสมบตั บิ างประการของรูปเรขาคณติ รปู สามเหลี่ยม รปู สเี่ หลีย่ ม รปู ห้าเหล่ียม รูป หกเหลย่ี มการจำแนกรูปเรขาคณติ สองมิติ รูปท่ีมแี กนสมมาตร รูปเรขาคณติ สามมติ ิ การจำแนกรปู เรขาคณติ สองมิตแิ ละสามมติ ิ จุด ส่วนของเสน้ ตรง รังสี เส้นตรง และมมุ แบบรูปและความสัมพนั ธ์ แบบรปู ของจำนวนที่เพิ่มขึ้นทลี ะ 3 ทลี ะ 4 ทีละ 25 และทลี ะ 50 แบบ รูปของจำนวนท่ลี ดลงทลี ะ 3 ทลี ะ 4 ทีละ 25 และทีละ 50 แบบรปู ของรปู เรขาคณติ และรูปอ่ืนๆที่ สัมพนั ธ์กนั ในลักษณะของรปู ร่างหรือขนาดหรือสี สองลกั ษณะ การจัดประสบการณห์ รือสร้างสถานการณท์ ี่ใกล้ตัวให้ผเู้ รยี นได้ศกึ ษาค้นคว้าโดยปฏบิ ัติจรงิ ทดลอง สรปุ รายงาน เพื่อพฒั นาทกั ษะ/กระบวนการในการคิดคำนวณ การแกป้ ัญหา การให้เหตผุ ล การสื่อ ความหมายทางคณติ ศาสตร์ และนำประสบการณด์ า้ นความรู้ ความคดิ ทักษะกระบวนการที่ได้ไปใชใ้ น

47 การเรยี นรสู้ ่ิงต่างๆและใช้ในชีวติ ประจำวนั อยา่ งสร้างสรรค์ รวมท้ังเห็นคณุ ค่าและมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ คณิตศาสตร์ สามารถทำงานอยา่ งเปน็ ระบบ ระเบียบ รอบคอบ มีความรับผดิ ชอบ มวี จิ ารณญาณ และเชือ่ มน่ั ในตนเอง การวัดและประเมินผล ใชว้ ธิ กี ารหลากหลายตามสภาพความเป็นจริงของเน้อื หา ทักษะท่ตี อ้ งการวดั รหสั ตัวชีว้ ดั ค ๑.๑ ป ๓/๑ , ป ๓/๒ ค ๑.๒ ป ๓/๑ , ป ๓/๒ ค ๒.๑ ป ๓/๑ , ป ๓/2, ป ๓/3, ป ๓/4, ป ๓/5, ป ๓/6 ค ๒.๒ ป ๓/๑ , ป ๓/2, ป ๓/3 ค ๓.๑ ป ๓/๑ , ป ๓/2, ป ๓/3 ค ๓.๒ ป ๓/๑ , ป ๓/๒ ค ๔.๑ ป ๓/๑ , ป ๓/๒ ค ๕.๑ ป ๓/๑ , ป ๓/๒ ค ๖.๑ ป ๒/๑ , ป ๓/2, ป ๓/3, ป ๓/4, ป ๓/5, ป ๓/6 รวม ๒๘ ตัวชว้ี ดั

48 รายวชิ า คณติ ศาสตร์ คำอธบิ ายรายวิชา ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 4 กลมุ่ สาระการเรียนร้คู ณติ ศาสตร์ รหัสวิชา ค 14101 ภาคเรียนท่ี 1 - 2 เวลา 160 ชว่ั โมง/ปี ศึกษาการอ่านและการเขียนตัวเลขฮินดูอารบิก ตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับที่มากกว่า100,000 จากสถานการณ์ต่างๆ ค่าประจำหลักของเลขโดด ในแต่ละหลักของจำนวนนับ การบวก ลบ คูณ หารจำนวนท่ีมีหลายหลักและโจทย์ปัญหาการบวก ลบ คูณ และหาร การเขียนตัวเลขแสดงจำนวนในรูปกระจาย ความหมาย การเปรียบเทียบและเรียงลำดับ ค่าประมาณของจำนวนนับ และการใช้เครื่องหมาย ≈ บอก อ่าน เขียน เศษส่วน จำนวนคละ เปรียบเทียบ เรียงลำดับเศษส่วนและจำนวนคละที่ตัวส่วนเป็นเป็นพหุคูณของอีกตัวหนึ่ง อ่านเขียน เปรียบเทียบและ เรียงลำดับทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง หาค่าประมาณผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หาร อย่างสมเหตุสมผล การหาค่าของตัวไม่ทราบค่า สัญลักษณ์แสดงการบวกและ การลบ ของจำนวนที่มากกว่า 100,000 และ 0 หาค่าของตัวไม่ทราบค่า สัญลักษณ์แสดงการคูณของจำนวนหลายหลักไม่เกิน 6 หลัก การหารท่ีตัวหารตัวต้ัง ไม่เกิน 6 หลักและตัวหารไม่เกิน 2 หลักหาผลลัพธ์ของการบวก ลบ คูณ หารระคน โจทย์ปัญหา 2 ขั้นตอน ของจำนวนนับที่มากกว่า 100,000 และ 0 พร้อมท้ังหาคำตอบ การหาผลบวก ลบ และโจทย์ปัญหาการบวก ลบ และจำนวนคละของที่ตัวส่วนหน่ึงเป็นพหุคูณของอีกตัวหน่ึง การบวก ลบ และทศนิยม โจทย์ปัญหาการ บวก ลบ 2 ข้ันตอนของทศนิยมไม่เกิน 3 ตำแหน่ง การบอก การเปรียบเทียบ การอ่าน โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับ เวลา การวัดและสร้างมุม โดยใช้โพรแทรกเตอร์ โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับความยาวรอบรูปและพื้นที่ของรูป ส่ีเหลี่ยมมุมฉาก รูปเรขาคณิต ระนาบ จุด เส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง และสัญลักษณ์แสดงเส้นตรง รังสี ส่วนของเส้นตรง การจำแนกชนิดของมุม บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม การเขียนสัญลักษณ์แสดงมุม การ สร้างรูปส่ีเหล่ียมมุมฉากการนำเสนอข้อมูล การใช้ข้อมูล การอ่าน การเขียน แผนภูมิแท่ง ตาราง 2 ทาง ในการ หาคำตอบโจทย์ปัญหาการจัดประสบการณ์ การสร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้า ฝึกทักษะ ปฏิบัติ จริง ทดลอง สรุป รายงาน เพ่ือพัฒนาทักษะและกระบวนการในการคิดคำนวณ การแก้ปัญหา การใช้เหตุผล การเช่ือมโยง การส่ือความหมายทางคณิตศาสตร์ สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างสร้างสรรค์ เห็น คุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อคณิตศาสตร์ ทำงานอย่างเป็นระบบ มีระเบียบ รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มี วิจารณญาณ มคี วามคิดสรา้ งสรรค์ และมคี วามเชอ่ื มัน่ ในตนเอง ตวั ช้ีวัด ค 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8,ป.4/9, ป.4/10, ป.4/11,ป.4/12, ป.4/13, ป.4/14, ป.4/15, ป.4/16 ค 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3 ค 2.2 ป.4/1, ป.4/2 ค 3.1 ป.4/1 รวม 2๒ ตัวช้ีวัด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook