Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สงครามโลกครั้งที่ 1

สงครามโลกครั้งที่ 1

Published by nuntanut am, 2021-09-11 11:23:47

Description: น.ส. แคทธารินทร์ พัฒนาภา

Search

Read the Text Version

สงครามโลก ครั้งที่ 1

สงครามโลกครั้งที่ 1 สงครามโลกครั้งที่หนึ่ ง ( อังกฤษ : World War I หรือ First World War ) ยังเป็นที่รู้จักกันคือ \" สงครามโลกครั้งแรก \" หรือ \" มหาสงคราม \" (Great War) เป็น สงครามทั่วโลก ที่กิน เวลาจากวันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถึง 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 โดยถูกอธิบายอย่างใคร่ครวญว่าเป็น \" สงคราม เพื่อยุติสงครามทั้งหมด \" มันนำไปสู่การระดมพล บุคลากร ทางทหาร มากกว่า 70 ล้านนาย รวมทั้งชาวยุโรป 60 ล้านคน ทำให้เป็นหนึ่ งในสงครามขนาดใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์ นอกจากนี้ ยังเป็นหนึ่ งในความขัดแย้งที่อันตรายร้ายแรงที่สุด ในประวัติศาสตร์ โดยมีผู้เสียชีวิตประมาณเก้าล้านคนและ พลเรือนเสียชีวิต 13 ล้านคนอันเป็นผลโดยตรงจากสงคราม ในขณะที่ ได้เกิดการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ และ การระบาดครั้งใหญ่ ของไข้หวัดใหญ่สเปนในปี ค.ศ. 1918 ทำให้มีผู้เสียชีวิตอีก 17 - 100 ล้านคนทั่วโลก

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ ง ( อังกฤษ : World War I หรือ First World War ) ยังเป็นที่รู้จักกันคือ \" สงครามโลกครั้งแรก \" หรือ \" มหาสงคราม \" (Great War) เป็น สงครามทั่วโลก ที่กินเวลาจาก วันที่ 28 กรกฎาคม ค.ศ. 1914 ถึง 1 เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 กัฟรีโล ปรินซีป ชาวเซิร์บบอร์สเนี ย นักชาตินิยมยูโกสลา ฟ ได้ลอบปลงพระชนม์ อาร์ชดยุก ฟรันซ์ แฟร์ดีนันท์ รัชทายาท แห่งออสเตรีย-ฮังการี ในเมืองซาราเยโว ได้นำไปสู่วิกฤตการณ์ เดือนกรกฎาคม ในการตอบสนอง ออสเตรีย-ฮังการีได้ยื่นคำขาด ต่อเซอร์เบีย เมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม คำตอบของเซอร์เบียได้ล้ม เหลวในการสร้างความพึงพอใจให้กับชาวออสเตรีย และทั้งสอง ฝ่ายต่างได้เข้าสู่สงคราม เ ค รื อ ข่ า ย ข อ ง พั น ธ มิ ต ร ที่ ป ร ะ ส า น กั น ไ ด้ ข ย า ย วิ ก ฤ ต จ า ก ปั ญ ห า ท วิ ภ า คี ใ น ค า บ ส มุ ท ร บ อ ล ข่ า น จ น ไ ป สู่ ปั ญ ห า ที่ เ กี่ ย ว ข้ อ ง กั บ ส่ ว น ใหญ่ของยุโรป ในเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1914 มหาอำนาจของ ยุโรปได้ถูกแบ่งออกเป็นสองกลุ่มพันธมิตร: ไตรภาคี ประกอบไป ด้วยฝรั่งเศส รัสเซีย และบริติช และไตรพันธมิตรของเยอรมนี ออสเตรีย-ฮังการี และอิตาลี ไตรพันธมิตร เป็นเพียงการป้องกัน โดยธรรมชาติทำให้อิตาลีอยู่ห่างจากสงครามจนถึงเดือนเมษายน ค.ศ. 1915 เมื่อเข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรภายหลังจากความ สัมพันธ์กับออสเตรีย-ฮังการีได้ย่ำแย่ลง รัสเซียรู้สึกว่าจำเป็นต้อง ให้การสนับสนุนแก่เซอร์เบียและอนุมัติการระดมพลทหารบาง ส่วน ภายหลังจากออสเตรีย-ฮังการีได้เข้ายึดครองกรุงเบลเกรด เมืองหลวงของเซอร์เบีย เมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม การระดมพล ทหารอย่างเต็มรูปแบบของรัสเซียได้ถูกประกาศในช่วงค่ำของวัน ที่ 30 กรกฎาคม วันต่อมา ออสเตรีย-ฮังการีและเยอรมนี ได้ทำ แบบเดียวกัน ในขณะที่เยอรมนี ได้เรียกร้องให้รัสเซียยกเลิกกา ระดมพลทหารภายในเวลาสิบสองชั่วโมง เมื่อรัสเซียไม่ปฏิบัติตาม คำเรียกร้อง เยอรมนี จึงประกาศสงครามกับรัสเซียในวันที่ 1 สิงหาคมเพื่อให้การสนับสนุนแก่ออสเตรีย-ฮังการี ตามหลังด้วย ในวันที่ 6 สิงหาคม ฝรั่งเศสได้สั่งให้ระดมพลทหารอย่างเต็มรูป แบบเพื่อให้การสนับสนุนแก่รัสเซีย เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม

ในวันที่ 1 สิงหาคมเพื่อให้การสนับสนุนแก่ออสเตรีย-ฮังการี ตามหลังด้วยในวันที่ 6 สิงหาคม ฝรั่งเศสได้สั่งให้ระดมพล ทหารอย่างเต็มรูปแบบเพื่อให้การสนับสนุนแก่รัสเซีย เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม ยุทธศาสตร์ของเยอรมนี ในการทำสงครามสองแนวรบกับ ฝรั่งเศสและรัสเซียคือ การรวบรวมกองทัพจำนวนมากในตะวัน ต ก อ ย่ า ง ร ว ด เ ร็ ว เ พื่ อ เ อ า ช น ะ ฝ รั่ ง เ ศ ส ภ า ย ใ น เ ว ล า ห ก สั ป ด า ห์ จากนั้นก็สัปเปลี่ยนกองกำลังไปยังทางตะวันออกก่อนที่รัสเซีย จะระดมพลทหารได้อย่างเต็มที่ สิ่งนี้ เป็นที่รู้จักกันในเวลาต่อ มาคือ แผนชลีเฟิน เมื่อวันที่ 2 สิงหาคม เยอรมนี ได้เรียกร้อง ให้เคลื่อนทัพผ่านทางเบลเยียมโดยเสรี ซึ่งเป็นองค์ประกอบ สำคัญในการบรรลุชัยชนะอย่างรวดเร็วต่อฝรั่งเศส เมื่อคำเรียก ร้องได้ถูกปฏิเสธ กองทัพเยอรมันจึงบุกครองเบลเยียมในวันที่ 3 สิงหาคม และประกาศสงครามกับฝรั่งเศสในวันเดียวกัน รัฐบาลเบลเยียมได้เรียกร้องสนธิสัญญาลอนดอน ค.ศ. 1839 และเพื่อให้สอดคล้องกับพันธกรณี ภายใต้สนธิสัญญาฉบับนี้ บริติชจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม เมื่อ วันที่ 12 สิงหาคม บริติชและฝรั่งเศสยังได้ประกาศสงครามกับ ออสเตรีย-ฮังการี เมื่อวันที่ 23 สิงหาคม ญี่ปุ่นได้เข้าข้างกับ บริติช ได้เข้ายึดครองดินแดนของเยอรมันในจีนและแปซิฟิก ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1914 จักรวรรดิออตโตมันได้เข้าสู่ สงครามโดยอยู่ฝ่ายมหาอำนาจกลาง ได้ทำการเปิดแนวรบใน คอลเคซัส เมโสโปเตเมีย และคาบสมุทรไซนาย สงคราม เป็นการสู้รบกันใน (และดึงดูดเข้ามา) ดินแดนอาณานิคมของ มหาอำนาจแต่ละฝ่ายได้กระจายความขัดแย้งไปยังแอฟริกา และทั่วโลก ฝ่ายภาคีและประเทศพันธมิตรต่าง ๆ ก็ได้กลาย เป็นที่รู้จักกันคือ ฝ่ายสัมพันธมิตรในขณะที่การรวมกลุ่มของ ออสเตรีย-ฮังการี เยอรมนี และประเทศพันธมิตรต่าง ๆ ได้ กลายเป็นที่รู้จักกันคือ ฝ่ายมหาอำนาจกลาง

เยอรมันได้รุกเข้าสู่ฝรั่งเศสได้หยุดชะงักลงใน ยุทธการที่มาร์ น และในช่วงปลายปี ค.ศ. 1914 แนวรบด้านตะวันตกได้เข้าสู่ สงครามการบั่นทอนกำลัง โดยมีการขุดแนว สนามเพลาะ เป็น เส้นทางยาวที่มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อยจนถึงปี ค.ศ. 1917 ( แนวรบด้านตะวันออก ซึ่งตรงกันข้าม ซึ่งได้มีการแลก เปลี่ยนกันโดยดินแดนขนาดใหญ่มาก) ในปี ค.ศ. 1915 อิตาลี ได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรและเปิด แนวรบในเทือกเขาแอ ลป์ บัลแกเรีย ได้เข้าร่วมกับฝ่ายมหาอำนาจกลางในปี ค.ศ. 1915 และ กรีซ ได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปี ค.ศ. 1917 ซึ่งได้ขยาย สงครามในคาบสมุทรบอลข่าน สหรัฐอเมริกาใน ช่วงแรกได้วางตัวเป็นกลาง แม้ว่าจะยังคงวางตัวเป็นกลาง ก็ได้ กลายเป็นผู้จัดส่งที่สำคัญที่สุดในการส่งวัสดุสงครามให้กับฝ่าย สัมพันธมิตร ในท้ายที่สุด ภายหลังจากการจมเรือพาณิชย์ของ อเมริกันโดยเรือดำน้ำเยอรมัน คำประกาศของเยอรมนี ว่า กองทัพเรือจะกลับมาโจมตีอย่างต่อเนื่ องต่อการเดินเรือที่ เป็นกลาง และ มีการเปิดเผย ว่าเยอรมนี ได้พยายามปลุกระดม ให้แม็กซิโกริเริ่มทำสงครามกับสหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาจึง ประกาศสงครามกับเยอรมนี เมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917 ก อ ง ทั พ อ เ ม ริ กั น ที่ ไ ด้ รั บ ก า ร ฝึ ก ฝ น ซึ่ ง ยั ง ไ ม่ ไ ด้ เ ริ่ ม อ อ ก เ ดิ น ท า ง ไปยังแนวหน้าในจำนวนมากมาย จนกระทั่งกลางปี ค.ศ. 1918 แต่ กองกำลังรบนอกประเทศอเมริกัน ซึ่งท้ายที่สุดก็มีจำนวน ทหารถึงสองล้านนาย

เยอรมันได้รุกเข้าสู่ฝรั่งเศสได้หยุดชะงักลงใน ยุทธการที่ มาร์น และในช่วงปลายปี ค.ศ. 1914 แนวรบด้านตะวันตก ได้เข้าสู่ สงครามการบั่นทอนกำลัง โดยมีการขุดแนว สนาม เพลาะ เป็นเส้นทางยาวที่มีการเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย จนถึงปี ค.ศ. 1917 ( แนวรบด้านตะวันออก ซึ่งตรงกันข้าม ซึ่งได้มีการแลกเปลี่ยนกันโดยดินแ แม้ว่า เซอร์เบียจะพ่าย แพ้ไปในปี ค.ศ. 1915 และ โรมาเนี ย ก็ได้เข้าร่วมฝ่าย สัมพันธมิตรในปี ค.ศ. 1916 แต่กลับประสบความพ่ายแพ้ ในปี ค.ศ. 1917 ไม่มีประเทศชาติมหาอำนาจใดถูกโค่นล้ม ออกจากสงครามจนถึงปี ค.ศ. 1918 ปี การปฏิวัติเดือน กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1917 ในรัสเซีย ได้เข้ามาแทนที่อำนาจ ของพระเจ้าซาร์โดย รัฐบาลเฉพาะกาล แต่ความไม่พอใจ อย่างต่อเนื่ องกับความสิ้นเปลืองของสงคราม จนนำไปสู่ การปฏิวัติเดือนตุลาคม การก่อตั้ง สาธารณรัฐสังคมนิยม โซเวียต และลงนามใน สนธิสัญญาเบรสท์-ลีตอฟสก์ โดย รัฐบาลใหม่ในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 เป็นอันสิ้นสุดของ การมีส่วนร่วมของรัสเซียในสงคราม ตอนนี้ เยอรมนี ได้เข้า ควบคุมยุโรปตะวันออกและย้ายกองกำลังรบจำนวนมากไป ยังแนวรบด้านตะวันตก การใช้กลยุทธ์ใหม่ การรุกของ เยอรมันในเดือนมีนาคม ค.ศ. 1918 ได้ประสบความสำเร็จ ในช่วงแรก ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ล่าถอยและยืนหยัดไว้ กอง กำลังสำรองสุดท้ายของเยอรมันได้หมดลง เมื่อกองกำลัง ทหารอเมริกันที่มีความสดใหม่ 10,000 นายได้เดินทางมา ถึงทุก ๆ วัน ฝ่ายสัมพันธมิตรได้ขับไล่เยอรมันให้กลับไปใน การรุกร้อยวัน การโจมตีอย่างต่อเนื่ องซึ่งเยอรมันไม่อาจ ตอบโต้ได้เลย ต่อมาได้มีประเทศในฝ่ายมหาอำนาจกลาง ได้ประกาศที่จะถอนตัว ประเทศแรกคือ บัลแกเรีย ต่อจาก นั้นก็เป็นจักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิออสเตรีย- ฮังการี เมื่อพ่ายแพ้ต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ได้เกิด การปฏิวัติ ขึ้น ในประเทศบ้านเกิด และกองทัพก็ไม่เต็มใจที่จะต่อสู้รบ อีกต่อไป

จักรพรรดิวิลเฮ็ล์ม ได้สละราชบังลังก์ เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน และเยอรมนี ได้ลงนามใน การสงบศึก เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน ค.ศ. 1918 เป็นอันสิ้นสุดลงของการสู้รบด นขนาดใหญ่มาก) ในปี ค.ศ. 1915 อิตาลีได้เข้าร่วมกับฝ่าย สัมพันธมิตรและเปิด แนวรบในเทือกเขาแอลป์ บัลแกเรีย ได้เข้าร่วมกับฝ่ายมหาอำนาจกลางในปี ค.ศ. 1915 และ กรีซ ได้เข้าร่วมกับฝ่ายสัมพันธมิตรในปี ค.ศ. 1917 ซึ่งได้ ขยาย สงครามในคาบสมุทรบอลข่าน สหรัฐอเมริกาในช่วง แรกได้วางตัวเป็นกลาง แม้ว่าจะยังคงวางตัวเป็นกลาง ก็ได้ กลายเป็นผู้จัดส่งที่สำคัญที่สุดในการส่งวัสดุสงครามให้กับ ฝ่ายสัมพันธมิตร ในท้ายที่สุด ภายหลังจากการจมเรือ พาณิชย์ของอเมริกันโดยเรือดำน้ำเยอรมัน คำประกาศของ เยอรมนี ว่ากองทัพเรือจะกลับมาโจมตีอย่างต่อเนื่ องต่อการ เดินเรือที่เป็นกลาง และ มีการเปิดเผย ว่าเยอรมนี ได้ พ ย า ย า ม ป ลุ ก ร ะ ด ม ใ ห้ แ ม็ ก ซิ โ ก ริ เ ริ่ ม ทำ ส ง ค ร า ม กั บ สหรัฐอเมริกา สหรัฐอเมริกาจึงประกาศสงครามกับเยอรมนี เมื่อวันที่ 6 เมษายน ค.ศ. 1917 กองทัพอเมริกันที่ได้รับการ ฝึ ก ฝ น ซึ่ ง ยั ง ไ ม่ ไ ด้ เ ริ่ ม อ อ ก เ ดิ น ท า ง ไ ป ยั ง แ น ว ห น้า ใ น จำ น ว น มากมาย จนกระทั่งกลางปี ค.ศ. 1918 แต่ กองกำลังรบนอก ประเทศอเมริกัน ซึ่งท้ายที่สุดก็มีจำนวนทหารถึงสองล้าน นาย

สงครามโลกครั้งที่หนึ่ งเป็นจุดเปลี่ยนที่สำคัญในบรรยากาศ ทางการเมือง วัฒนธรรม เศรษฐกิจ และสังคมของโลก สงครามและผลผวงโดยฉับพลันได้จุดประกาย การปฏิวัติ และการก่อการกำเริบมากมาย บิ๊กโฟร์ (บริติช ฝรั่งเศส สหรัฐอเมริกา และอิตาลี) ได้กำหนดเงื่อนไขของพวกเขา เกี่ยวกับประเทศมหาอำนาจที่เป็นฝ่ายพ่ายแพ้ในสนธิสัญญา ต่าง ๆ ที่ได้ตกลงกันใน การประชุมสันติภาพปารีส ค.ศ. 1919 ที่เป็นที่รู้จักกันดีคือ สนธิสัญญาสันติภาพของ เยอรมัน: สนธิสัญญาแวร์ซาย ในท้ายที่สุด อันเป็นผลมา จากสงคราม จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมัน จักรวรรดิออตโตมัน และจักรวรรดิรัสเซียต่างได้ล่มสลาย ไปเสียแล้ว และประเทศรัฐใหม่จำนวนมากได้ถูกก่อตั้งขึ้น จากส่วนที่เหลือของพวกเขา อย่างไรก็ตาม แม้ว่าในช่วง สุดท้าย ฝ่ายสัมพันธมิตรจะได้รับชัยชนะ(และการก่อตั้ง สันนิบาตชาติ ในช่วงการประชุมสันติภาพโดยมีเป้าหมาย เพื่อป้องกันการเกิดสงครามขึ้นในอนาคต) สงครามโลก ครั้งที่สอง ได้เกิดขึ้นตามมาใน อีกยี่สิบปี ต่อมา

ภูมิหลังแห่งสงคราม ในช่วงศตวรรษที่ 19 ประเทศมหาอำนาจที่สำคัญในทวีปยุโรป ได้พยายามจะรักษาสมดุลแห่งอำนาจระหว่างกันเองส่งผลให้ เครือข่ายพันธมิตรทางการเมืองและการทหารนั้นมีความซับ ซ้อน ความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ที่สุดคือการถอนตัวของบริติชจน นำไปสู่สิ่งที่เรียกว่า การแยกตัวอย่างสง่างาม การเสื่อมถอย ของจักรวรรดิออตโตมัน และการเถลิงอำนาจของปรัสเซียใน ช่วงหลังปี ค.ศ. 1848 ภายใต้การนำโดย อ็อทโท ฟ็อน บิสมา ร์ค ชัยชนะใน สงครามออสเตรีย-ปรัสเซีย ปี ค.ศ. 1866 ได้ สถาปนาให้ปรัสเซีย ใช้อำนาจครอบงำ ในเยอรมนี ในขณะที่ ชัยชนะเหนือฝรั่งเศสใน สงครามฝรั่งเศส-ปรัสเซีย ปี ค.ศ. 1870 - 1871 ได้รวมรัฐเยอรมันต่าง ๆ มาเป็นไรช์เยอรมัน ภายใต้การนำของปรัสเซีย ความต้องการแก้แค้นของฝรั่งเศส ที่มีต่อความพ่ายแพ้ในปี ค.ศ. 1871 ที่เรียกกันว่า ลัทธิการแก้ แค้น และการเข้ายึด อาลซัส-ลอแรน กลับคืนมากลายเป็น เ ป้ า ห ม า ย ห ลั ก ข อ ง น โ ย บ า ย ฝ รั่ ง เ ศ ส ใ น อี ก สี่ สิ บ ปี ข้ า ง ห น้า

การแข่งขันทางอาวุธ การสร้างไรช์เยอรมันภายหลังจากชัยชนะในสงคราม ฝรั่งเศส-ปรัสเซียในปี ค.ศ. 1871 ได้นำไปสู่ความแข็งแกร่ง ทางเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของเยอรมนี ที่เพิ่มมากขึ้น พลเรือเอก อัลเฟรท ฟ็อน เทียร์พิทซ์ และวิลเฮ็ล์มที่ 2 ที่ กลายเป็นจักรพรรดิในปี ค.ศ. 1890 ได้พยายามที่จะใช้สิ่ง นั้ น เ พื่ อ ส ร้ า ง ไ ค เ ซ อ ร์ ลี เ ช อ ม า รี เ น อ ห รื อ ก อ ง ทั พ เ รื อ จั ก ร ว ร ร ดิ เ ย อ ร มั น เ พื่ อ แ ข่ ง ขั น กั บ ร า ช น า วี ข อ ง บ ริ ติ ช เ พื่ อ แ ย่ ง ชิ ง อำนาจสูงสุดทางทะเลของโลก ในการทำเช่นนี้ พวกเขาได้ รับอิทธิพลจาก อัลเฟรด เธเออร์ มาฮาน นักยุทธศาสตร์ กองทัพเรือสหรัฐ ผู้ที่โต้แย้งว่าการครอบครองน้ำสีฟ้า ข อ ง ก อ ง ทั พ เ รื อ นั้ น มี ค ว า ม สำ คั ญ ต่ อ สิ่ ง ที่ ว า ง แ ผ น ไ ว้ ใ น อำนาจทั่วโลก เทียร์พิทซ์ได้แปลหนังสือของเขาเป็นภาษา เยอรมันและวิลเฮ็ล์มที่ 2 ทรงให้พวกเขาได้อ่านมัน อย่างไร ก็ตาม มันยังได้รับแรงผลักดันจากการยกย่องของวิลเฮ็ล์มที่ 2 ที่มีต่อราชนาวีและทรงปรารถนาที่จะเอาชนะ สิ่งนี้ ส่งผลให้เกิดการแข่งขันอาวุธทางเรือของอังกฤษ- เยอรมัน แต่การเปิดตัวของเรือเอชเอ็มเอ็ส เดรดนอต ในปี ค.ศ. 1906 ทำให้ราชนาวีมีความได้เปรียบทางเทคโนโลยี เหนือคู่แข่งอย่างเยอรมัน ซึ่งพวกเขาไม่เคยพ่ายแพ้[36] ในท้ายที่สุด การแข่งขันนั้นได้ใช้ทรัพยากรจำนวนมากไปสู่ การสร้างกองทัพเรือเยอรมันที่มีขนาดใหญ่ที่มากพอที่จะต่อ ต้านบริติช แต่ก็ไม่อาจที่จะเอาชนะได้ ในปี ค.ศ. 1911 นายกรัฐมนตรี เทโอบัลท์ ฟ็อน เบทมัน ฮ็อลเวค ได้ยอมรับ ความพ่ายแพ้ ซึ่งนำไปสู่ Rüstungswende หรือ 'จุดเปลี่ยน อาวุธยุโธปกรณ์' เมื่อเยอรมนี ได้เปลี่ยนค่าใช้จ่ายจาก กองทัพเรือมาเป็นกองทัพบก

ความขัดแย้งในบอลข่าน ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1908 ออสเตรีย-ฮังการีได้ยุติ วิกฤตการณ์บอสเนี ยในปี ค.ศ. 1908-1909 โดยทำการ ผนวกอดีตดินแดนของออตโตมันอย่างบอสเนี ยและเฮอร์ เซโกวีนา ซึ่งถูกยึดครองตั้งแต่ปี ค.ศ. 1878 สิ่งนี้ ทำให้ราช อาณาจักรเซอร์เบียและผู้อุปถัมภ์ กลุ่มลัทธิรวมชาวสลาฟ แ ล ะ ก ลุ่ ม นิ ก า ย อ อ ร์ ท อ ด อ ก ซ์ ข อ ง จั ก ร ว ร ร ดิ รั ส เ ซี ย เ กิ ด ค ว า ม โกรธเกี้ยว บอลข่านได้รับการขนานนามว่า \"ถังแป้งแห่ง ยุโรป\"[41] สงครามอิตาลี-ตุรกี ในปี ค.ศ. 1911–1912 เป็นเค้าลางที่สำคัญของสงครามโลกครั้งที่หนึ่ ง เนื่ องจากจุด ช น ว น ลั ท ธิ ช า ติ นิ ย ม ใ น รั ฐ บ อ ล ข่ า น แ ล ะ ปู ท า ง ไ ป สู่ ส ง ค ร า ม บอลข่าน ในปี ค.ศ. 1912 และ 1913 สงครามบอลข่านครั้งที่หนึ่ ง เ ป็ น ก า ร สู้ ร บ ร ะ ห ว่ า ง สั น นิ บ า ต บ อ ล ข่ า น แ ล ะ จั ก ร ว ร ร ดิ อ อ ต โตมันที่แตกแยก ส่งผลทำให้เกิดสนธิสัญญาลอนดอนซึ่ง ทำให้จักรวรรดิออตโตมันได้หดตัวลงไปอีก ทำให้เกิดรัฐ แอลเบเนี ยที่เป็นเอกราช ในขณะที่ได้ขยายการถือครองดิน แดนของบัลแกเรีย เซอร์เบีย มอนเตเนโกร และกรีซ เมื่อ บัลแกเรียได้เข้าโจมตีเซอร์เบียและกรีซในวันที่ 16 มิถุนายน ค.ศ. 1913 เป็นการจุดชนวนของสงครามบอล ข่านครั้งที่สองที่กินเวลาเพียง 33 วัน ในช่วงตอนท้ายก็ต้อง สูญเสียส่วนใหญ่ของมาซิโดเนี ยให้กับเซอร์เบียและกรีซ และดอบรูจาใต้ให้กับโรมาเนี ย ทำให้ภูมิภาคแห่งนั้นเกิด ความสั่นคลอนต่อไป ประเทศมหาอำนาจสามารถที่จะรักษา ความขัดแย้งบอลข่านไว้ได้ แต่ครั้งต่อไปจะแพร่กระจายไป ทั่วยุโรปและอื่น ๆ

ชาวเมืองซาราเยโวได้ยืนอ่านโปสเตอร์ด้วยคำประกาศของ การผนวกดินแดนของออสเตรียในปี ค.ศ. 1908

จุดชนวน การลอบสังหารที่เมือง ซาราเยโว เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1914 อาร์ชดยุก ฟรันซ์ แฟร์ดีนันท์ รัชทาทสืบทอดราชบังลังก์จักรพรรดิแห่ง ออสเตรีย-ฮังการี ได้เสด็จเยี่ยมเยียนเมืองหลวง บอสเนี ยคือ ซาราเยโว กลุ่มมือลอบสังหาร 6 คน (Cvjetko Popović, กัฟรีโล ปรินซีป , Muhamed Mehmedbašić, Nedeljko Čabrinović, Trifko Grabež, และ Vaso Čubrilović) จากกลุ่มเยาวชน บอสเนี ยของกลุ่มนิยมยูโกสลาเวีย ซึ่งได้รับการ สนับสนุนด้วยอาวุธโดย กลุ่มแบล็คแฮนด์ เซอร์เบีย ได้ รวมตัวกันบนท้องถนนที่ขบวนรถพระที่นั่งของอาร์ชดยุก จะผ่านไปโดยมีเป้าหมายที่จะลอบปลงพระชนม์ เป้า ห ม า ย ท า ง ก า ร เ มื อ ง ข อ ง ก า ร ล อ บ สั ง ห า ร คื อ เ พื่ อ ทำ ล า ย จั ง หวัดสลาฟทางตอนใต้ของออสเตรีย-ฮังการี ซึ่ง ออสเตรีย-ฮังการีได้ทำการผนวกดินแดนจากจักรวรรดิ ออตโตมัน เพื่อให้พวกเขารวมชาติเป็นยูโกสลาเวีย

การลอบสังหารที่เมืองซาราเยโวการขยายความ รุนแรงในบอสเนียและเฮอร์เซโกวีนา เจ้าหน้าที่ออสเตรีย-ฮังการีได้ให้การสนับสนุนให้เกิด การก่อจลาจลต่อต้านชาวเซิร์บในเมืองซาราเยโวในเวลา ต่อมา ซึ่งชาวบอสเนี ยโครแอต และชาวบอสนี แอกได้ สังหารชาวเซิร์บบอสเนี ย 2 คน และสร้างความเสียหาย ให้กับอาคารที่ชาวเซิร์บเป็นเจ้าของ การกระทำความ รุ น แ ร ง ต่ อ เ ชื้ อ ช า ติ เ ซิ ร์ บ ก็ ยั ง จั ด ขึ้ น น อ ก เ มื อ ง ซ า ร า เ ย โ ว ในเมืองอื่น ๆ ในบอสเนี ยและเฮอร์เซโกวีนา โครเอเชีย และสโลวีเนี ย ที่ถูกควบคุมโดยออสเตรีย-ฮังการี เจ้า หน้าที่ออสเตรีย-ฮังการีในบอสเนี ยและเฮอร์เซโกวีนาได้ จำคุกและส่งผู้ร้ายข้ามแดนชาวเซิร์บที่มีความสำคัญ จำนวนประมาณ 5,500 คน 700 คน ถึง 2,200 คนได้ เสียชีวิตในคุก ชาวเซิร์บอีก 460 คนถูกตัดสินประหาร ชีวิต มีการจัดตั้งกองทหารอาสาสมัครชาวบอสนิกที่รู้จัก กันในชื่อว่า Schutzkorps และทำการประหัตรประหาร ต่อชาวเซิร์บ

ผลของสงครามโลกครั้งที่ 1 ผลสำคัญอย่างหนึ่ งคือ มีการวาดรูปแผนที่ยุโรปใหม่ ทำให้ประเทศมหาอำนาจสูญเสียดินแดนของตัวเองเป็น จำนวนมาก - จักรวรรดิออสเตรีย- ฮังการี แตกออกเป็นประเทศ ใหม่ ได้แก่ ออสเตรีย ฮังการี เชโกสโลวาเกีย ยูโกสลาเวีย - จักรวรรดิออตโตมานล่มสลายไป แผ่นดินเดิมของ จักรวรรดิบางส่วน ถูกแบ่งให้กลายเป็นอาณานิคมของผู้ ชนะสงครามทั้งหลาย - เยอรมัน ต้องชดใช้ค่าปฏิกรรมสงครามจำนวน มหาศาล - จักรวรรดิรัสเซีย ได้สูญเสียดินแดนชายแดนด้าน ตะวันตกจำนวนมาก กลายเป็นประเทศใหม่ ได้แก่ เอส โตเนี ย ฟินแลนด์ ลัตเวีย ลิทัวเนี ยและโปแลนด์ ขณะเดียวกัน ผู้ชนะสงครามโลกครั้งที่ 1 ได้มี การก่อตั้ง สันนิบาตชาติ เป็นองค์การที่มีสมาชิกหลาย ประเทศ โดยมีจุดประสงค์อยู่ที่การแก้ไขปัญหาระหว่าง ประเทศด้วยวิธีการทางการทูตสหรัฐอเมริกาที่ได้เข้าร่วม รบ ก้าวขึ้นมาเป็นมหาอำนาจโลกเสรีเคียงคู่กับอังกฤษ และฝรั่งเศส ส่วนรัสเซียกลายเป็นมหาอำนาจโลก สังคมนิยม ต่อมาสามารถขยายอำนาจไปผนวกกับแคว้น ต่าง ๆ เช่น ยูเครน เบลารุส ฯลฯ จึงประกาศจัดตั้ง สหภาพโซเวียต (Union of Soviet Republics -USSR) ในปี ค.ศ. 1922

1 ก่อให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศคู่สงครามทั้ง 2 ฝ่าย 2. ประเทศผู้แพ้สงครามถูกบังคับให้ทำสนธิสัญญา ได้แก่ สนธิสัญญาแวร์ซายส์ ทำกับประเทศเยอรมัน สนธิสัญญาตรีอานอง ทำกับประเทศฮังการี สนธิสัญญาเนยยี ทำกับประเทศบัลแกเรีย สนธิสัญญาเนยยี ทำกับประเทศบัลแกเรีย สนธิสัญญาแซงต์แยร์แมง ทำกับประเทศออสเตรีย สนธิสัญญาแซฟส์ ทำกับประเทศตุรกี 3.มีคำแถลงการณ์ 14 ประการของประธานาธิบดีวูดโรล์ วิลสัน นำไปสู่การตั้งองค์การสันนิบาตชาติ (อเมริกาไม่ เข้าร่วม/และไม่มีกำลังทหาร)

TThyhyoaoauunn!!kk โดย น.ส. แคทธารินทร์ พัฒนาภา ม6/4 เลขที่ 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook