Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แผนการสอน หน่วยที่ 2 องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์

แผนการสอน หน่วยที่ 2 องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์

Description: แผนการสอน หน่วยที่ 2 องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์

Search

Read the Text Version

แผนการจดั การเรียนรู้รายวชิ า ประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส 31102 ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรียน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หน่วยกิต 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 4 ชัว่ โมงหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอ่ื ง องคค์ วามรทู้ างประวตั ศิ าสตร์แผนจดั การเรียนรูท้ ่ี 3 เรื่อง หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลา 1 ชัว่ โมง....................................................................................... .......................................................................................................1. สาระสาคญั หลักฐานทางประวัติศาสตร์ คือ สิ่งที่เกิดข้ึนในช่วงเวลาท่ีผ่านมาแล้ว ไม่ว่าจะเป็นคน สัตว์ สิ่งของ ถือเป็นส่ิงที่บอกเล่าถึงอดีตได้เป็นอย่างดี หลักฐานทางประวัติศาสตร์นั้นจะได้รับความเชื่อถือก็ต่อเมื่อผ่านการศึกษาจากวิธีการทางประวัติศาสตร์แล้วเท่านั้น เน่ืองจากสามารถบ่งบอกได้ถึงคุณค่าและความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ชิ้นนนั้ ๆได้ สามารถนามาเชอื่ มโยงประวตั ิศาสตร์ร้อยเรียงเรือ่ งราวทศ่ี กึ ษาคน้ ควา้2. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตวั ชี้วัดช้นั ปี/ผลการเรยี นรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวัตศิ าสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณต์ ่างๆอย่างเป็นระบบ ตัวชีว้ ัด/ผลการเรียนรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สรา้ งองคค์ วามรู้ใหม่ทางประวตั ศิ าสตรโ์ ดยใช้วิธกี ารทางประวัติศาสตร์อย่างเปน็ ระบบ3. สาระการเรยี นรู้ 3.1 เนอ้ื หาสาระหลัก : Knowledge หลักฐานทางประวัติศาสตร์ได้แก่อะไรบ้าง นามาใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างไร และมีความเกีย่ วข้องกับนักเรียนอย่างไรบา้ ง 3.2 ทกั ษะ/กระบวนการ : Process เนน้ ให้นกั เรยี นได้ทางานเปน็ กลุม่ นาหลักฐานทางประวัติศาสตรไ์ ปใชใ้ นการเรยี นรู้อยา่ งเปน็ ระบบ 3.3 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ นาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีทัศนคติท่ีดีต่อการศกึ ษาประวัติศาสตร์4. สมรรถนะสาคัญของนักเรยี น 4.1 ความสามารถในการส่ือสาร 4.2 ความสามารถในการคดิ5. คุณลักษณะของวิชา - ความรอบคอบ - กระบวนการกลมุ่6. คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. มุง่ มัน่ ในการทางาน

7. ชิ้นงาน/ภาระงาน :- ใบความรทู้ ี่ 2 เร่อื ง หลักฐานและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์- ใบกิจกรรมที่ 2 เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์8. กิจกรรมการเรียนรู้ (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรยี นรู้ / เทคนิคการถามตอบ และกระบวนการกลุ่ม)1. ทบทวนความเข้าใจของนักเรียนเกย่ี วกับหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 7 – 10 คน ร่วมกันศึกษาใบความรู้ท่ี 2 เรื่อง หลักฐานและวิธีการทางประวตั ิศาสตร์3. ใชค้ าถามสาคัญถามในแต่ละกลมุ่ ได้แก่ หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์มีกี่ประเภท แบ่งโดยใช้อะไรเป็นพื้นฐานในชีวติ ประจาวนั ของนกั เรยี นมีอะไรบา้ งทจี่ ะกลายเป็นหลักฐานทางประวตั ิศาสตร์หลังจากนี้ไปอีก 50 ปี4. นักเรียนทาใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์5. นักเรียนและครูรว่ มกนั สรุป เร่ือง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์9. สอื่ การเรยี นการสอน / แหลง่ เรียนรู้ รายการสอ่ื สภาพการใช้สอื่1. ใบความรทู้ ่ี 2 เรื่อง หลักฐานและวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ข้ันตรวจสอบความรู้เดิม,ขยายความรู้2. บัตรภาพ ชุด หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ขั้นสร้างความสนใจ3. ใบกิจกรรมท่ี 2 เรื่อง หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ ขน้ั ขยายความรู้10. การวัดผลและประเมนิ ผลเปา้ หมาย หลกั ฐานการเรียนรู้ วิธีวดั เคร่อื งมือวดั ฯ ประเด็น/การเรยี นรู้ ชนิ้ งาน/ภาระงาน เกณฑ์การให้ คะแนนเข้าใจและสามารถ ใบกิจกรรมที่ 2 เร่ือง การทางานเป็นกลุ่ม การ การสังเกตและ 4 คอื ดมี ากสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง หลักฐานทางประวัติ สืบค้นข้อมูลและการสรุป การตอบคาถาม 3 คอื ดีประวัติศาสตร์จาก ศาสตร์ ข้อมูล ในใบกจิ กรรม 2 คือ พอใช้ห ลั ก ฐ า น ท า ง ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การถามตอบคาถามสาคัญ การสังเกตและ 1 คอื ควรปรับปรงุป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ หลักฐานและวธิ ีการทาง ท่ี ค รู จั ด เ ต รี ย ม ไ ว้ ข อ ง การสอบถาม 0 คือ ไม่ผา่ นอยา่ งเหมาะสม ประวัติศาสตร์ นักเรยี น11. จุดเนน้ ของโรงเรยี น การบูรณาการกจิ กรรมสวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น กิจกรรม ครู ผเู้ รยี น สวนพฤกษศาสตรโ์ รงเรยี น หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ บนั ทกึ การเจริญเติบโตของ - สามารถบอกได้ว่าบันทกึ การเจริญเติบโตของ - ทาปฏิทินต้นไม้ช่วยบันทึกตน้ ไม้ ตน้ ไม้ เปน็ หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ชิน้ หนงึ่ ซ่งึ ผลการสังเกตการเจริญเติบโต เกดิ ขึน้ ในระยะเวลาที่เราทาการศึกษาต้นไม้น้ันๆ ของตน้ ไม้ ลงช่ือ..................................................ผูส้ อน (นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพิชติ )

แผนการจดั การเรียนรู้รายวิชา ประวตั ศิ าสตร์ รหัสวชิ า ส 31102 ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4ภาคเรียนท่ี 1 เวลาเรยี น 1 ชว่ั โมง/สปั ดาห์ หนว่ ยกติ 0.5 (นน./นก.) ระยะเวลา 4 ชว่ั โมงหน่วยการเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ ง องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์แผนจดั การเรยี นรู้ที่ 4 เร่ือง วิธกี ารทางประวตั ศิ าสตร์ ระยะเวลา 3 ชวั่ โมง....................................................................................... .......................................................................................................1. สาระสาคญั วิธีการทางประวัติศาสตร์ คือ กระบวนการในการศึกษาค้นคว้าประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ และได้รับการยอมรับในระดบั สากล เพราะมีข้ันตอนในการศึกษาค้นคว้าคล้ายคลึงกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์เพียงแค่ปรับใช้ให้เข้ากับการศึกษาทางประวัติศาสตร์ โดยวิธีการทางประวัติศาสตร์มีทั้งหมด 5 ขั้นตอน ได้แก่ 1.การกาหนดหัวข้อท่ีต้องการศึกษา 2.การรวบรวมหลักฐาน 3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน 4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมู่ข้อมูลและ 5.การเรยี บเรียงและนาเสนอขอ้ มลู2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัดชน้ั ป/ี ผลการเรียนรู/้ เปา้ หมายการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 4.1 เขา้ ใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยคุ สมัยทางประวตั ิศาสตร์ สามารถใช้วิธกี ารทางประวตั ิศาสตรม์ าวิเคราะห์เหตกุ ารณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ ตวั ช้วี ดั /ผลการเรยี นรู้ ส 4.1 ม.4-6/2 สร้างองค์ความรใู้ หมท่ างประวัติศาสตรโ์ ดยใช้วธิ กี ารทางประวัติศาสตร์อย่างเป็นระบบ3. สาระการเรียนรู้ 3.1 เนอื้ หาสาระหลกั : Knowledge วิธีการทางประวัติศาสตร์มีท้ังหมด 5 ข้ันตอน ได้แก่ 1.การกาหนดหัวข้อท่ีต้องการศึกษา 2.การรวบรวมหลักฐาน (หลักฐานปฐมภูมิ และหลักฐานทุติยภูมิ) 3.การประเมินคุณค่าของหลักฐาน (การวิพากษ์เอกสารหลกั ฐานท่ีเกยี่ วข้อง) 4.การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และจดั หมวดหมู่ขอ้ มูลและ 5.การเรยี บเรยี งและนาเสนอขอ้ มูล 3.2 ทักษะ/กระบวนการ : Process เน้นให้นักเรียนไดท้ างานเปน็ กลมุ่ นาวธิ ีการทางประวัติศาสตรไ์ ปใช้ในการเรียนรู้อยา่ งเป็นระบบ 3.3 คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ : Attitude มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ นาวิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และมีทัศนคติท่ีดีต่อการศึกษาประวัตศิ าสตร์4. สมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น 4.1 ความสามารถในการส่อื สาร 4.2 ความสามารถในการคิด5. คุณลักษณะของวิชา - ความรับผิดชอบ - ความรอบคอบ - กระบวนการกล่มุ

6. คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ 1. ใฝเ่ รยี นรู้ 2. ม่งุ ม่ันในการทางาน7. ชน้ิ งาน/ภาระงาน : - ใบความร้ทู ่ี 2 เรื่อง หลกั ฐานและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ - แบบฝกึ หัดที่ 2 เร่ือง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ - แผนผังความคดิ สรปุ เรือ่ ง การศึกษาและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ในชีวติ ประจาวันของนกั เรียน - แบบทดสอบวัดความรู้หลงั เรยี น เรอื่ ง หลกั ฐานและวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์8. กจิ กรรมการเรยี นรู้ชัว่ โมงท่ี 1 - 2 (ความสามารถในการวิเคราะห์/ มงุ่ ม่ันในการทางาน / เทคนิคการถามตอบและกระบวนการกลุม่ ) 1. ทบทวนความเข้าใจของนกั เรยี นเกยี่ วกบั หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์และวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ 2. แบ่งกลุ่มนักเรียน กลุ่มละ 7 – 10 คน ร่วมกันศึกษาใบความรู้ที่ 2 เร่ือง หลักฐานและวิธีการทาง ประวตั ศิ าสตร์ 3. ใชค้ าถามสาคัญถามในแตล่ ะกลมุ่ ได้แก่ วิธีการทางประวัติศาสตร์มีข้ันตอนใดบ้าง วิธีการทางประวัติศาสตร์ มีความแตกต่างหรือคล้ายคลึงกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์อย่างไร การวิพากษ์เอกสารหรือหลักฐานคืออะไร หลักฐานช้ันต้นกับหลักฐานชั้นรองต่างกันอย่างไร หลักฐานชั้นใดมีความน่าเช่ือถือมากกว่ากัน เพราะเหตุใด จึงมคี วามน่าเชอื่ ถอื มากกว่า 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มตั้งคาถามจากใบความรู้ท่ีได้รับ กลุ่มละ 5 ข้อ สลับกันถามทีละกลุ่ม กลุ่มท่ีตอบได้มาก ทส่ี ุดจะได้รบั คะแนนพิเศษ 1 ดาวเพิ่มคะแนนจติ พสิ ัย 5. ให้นักเรียนแตล่ ะกลุ่มเลือกเร่ืองทต่ี ้องการจะศกึ ษาทเ่ี กี่ยวกับครอบครวั ของตนเอง หรือโรงเรียน หรอื ชุมชน ใกล้เคียง มากลุม่ ละ 1 เร่อื ง แล้วตอบคาถามในแบบฝึกหัดท่ี 2 เรอ่ื ง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ชั่วโมงท่ี 3 (ความสามารถในการวเิ คราะห์ / ใฝ่เรียนรู้ / ประเมนิ ผลโดยแบบทดสอบวดั ความรู้) 1. ทบทวนความรู้เร่ืองวิธกี ารทางประวตั ิศาสตร์ 2. นกั เรียนสรปุ ความรู้ในรูปแบบแผนผังความคิด เร่ือง หลักฐานและวิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ 3. ทาแบบทดสอบวัดความร้หู ลังเรยี น เรือ่ ง หลกั ฐานและวธิ ีการทางประวัติศาสตร์ 4. นักเรยี นและครรู ่วมกนั เฉลยแบบทดสอบวดั ความรู้หลงั เรยี น 5. นักเรยี นและครูร่วมกนั สรุปบทเรียนในหนว่ ยการเรียน9. ส่ือการเรยี นการสอน / แหล่งเรยี นรู้ สภาพการใช้สือ่ รายการส่อื ขน้ั ตรวจสอบความรเู้ ดิม ข้นั สร้างความสนใจ1. ใบความรูท้ ่ี 2 เร่ือง หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร์ ข้นั ขยายความรู้ ขน้ั ตรวจสอบความรู้ใหม่2. การนาเสนอภาพประกอบคาบรรยาย เรื่อง วิธีการทางประวัตศิ าสตร์3. แบบฝึกหดั ท่ี 2 เร่อื ง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์4. แบบทดสอบวัดความรู้หลังเรยี น

10. การวดั ผลและประเมินผลเปา้ หมาย หลกั ฐานการเรยี นรู้ วธิ วี ัด เครอื่ งมอื วัดฯ ประเด็น/การเรียนรู้ ชิ้นงาน/ภาระงาน เกณฑ์การใหค้ ะแนนเข้าใจและสามารถ แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง การทางานเป็นกลุ่ม การ การสังเกตและ 4 คือ ดมี ากสื บ ค้ น ข้ อ มู ล ท า ง วิ ธี ก า ร ท า ง สืบค้นข้อมูลและการสรุป การตอบคาถาม 3 คือ ดีป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ไ ด้ ประวตั ิศาสตร์ ข้อมลู ในใบกิจกรรม 2 คือ พอใช้อย่างเป็นระบบ โดย ใบความรู้ท่ี 2 เร่ือง การถามตอบของครูและ การสังเกตและ 1 คือ ควรปรับปรุงใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า ง หลักฐานและวิธกี ารทาง นั ก เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ต้ั ง การสอบถาม 0 คือ ไมผ่ า่ นประวตั ศิ าสตร์ ประวตั ศิ าสตร์ คาถามถามตอบของ นกั เรียนเอง แบบทดสอบวัดความรู้ ประเมินจากแบบทดสอบ แบบทดสอบวัด คะแนนท่ไี ดจ้ ากการ หลังเรยี น วดั ความรู้หลังเรยี น ความรหู้ ลงั เรยี น ทาแบบทดสอบ ลงชือ่ ..................................................ผู้สอน (นางสาวศริ ิมา เมฆปัจฉาพชิ ิต)

ใบความรู้ ประวตั ิศาสตร์สากล ส 31102ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 4 เรอื่ ง วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ครศู ริ ิมา เมฆปัจฉาพิชิต ชื่อ-สกุล .............................................................................. ชั้น ............... เลขที่ ............ วธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ หมายถึง กระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อให้ได้ความรู้และคาตอบที่เชื่อว่าสะท้อนข้อเท็จจริงเกี่ยวกับอดีตได้ถูกต้องมากท่ีสุด ซึ่งไม่มีใครสามารถตอบได้ว่าข้อเท็จจริงที่ถูกต้องคืออะไร ดังนั้น จึงต้องมีกระบวนการศกึ ษา และการใชเ้ หตผุ ลในการตรวจสอบความถูกต้องของหลักฐานและนาไปใช้อย่างถูกต้อง ทาให้การศึกษาประวตั ิศาสตร์เปน็ ศาสตรท์ สี่ ะทอ้ นข้อเทจ็ จรงิ ท่แี ตกตา่ งจากนทิ าน นยิ าย หรอื เร่ืองบอกเลา่ ที่เล่อื นลอย นิตเช นักประวัตศิ าสตรช์ าวเยอรมนั ในคริสต์ศตวรรษท่ี 19 ผู้ตีความว่าข้อเท็จจริงคือ คำอธิบำยที่เกดิ จำกกำรตีควำมของเรำเอง ปัญหาเชิงปรัชญาประการหน่ึงเก่ียวกับการแสวงหาคาตอบหรือคาอธิบายทาง ประวัตศิ าสตร์ท่ถี กเถยี งกันมาตงั้ แต่คริสต์ศตวรรษท่ี 16-17 คือ การหาความจริงทาง ประวัติศาสตรเ์ ปน็ การหาความจริงแบบไหน? และสามารถพิสูจน์/เปรียบเทียบกับการ หาความจริงทางวิทยาศาสตร์ได้อย่างไร?ทั้งนี้ เพราะเช่ือกันว่าการหาความรู้/ความ จริงแบบวิทยาศาสตร์เป็นการหาความรู้/ความจริงท่ีถูกต้อง มาในปลาย คริสต์ศตวรรษที่ 19 คาถามที่ถกเถียงกันมากก็คือ ประวัติศาสตร์เป็นวิทยาศาสตร์ หรือศิลปะ? และนักประวัติศาสตร์หลายคนพยายามเสนอ (defense) โดยทาให้ประวัติศาสตร์มลี กั ษณะเป็นวทิ ยาศาสตร์ มกี ารนาวิธีการ \"วิพากษ์\" หลักฐานทางประวัติศาสตร์มาใช้ นักประวัติศาสตร์ในยุคนั้นพยายามทาให้ความรู้ทางประวัติศาสตร์เป็นความรู้ทางวิทยาศาสตร์ กระท่ังคริสต์ศตวรรษท่ี 20 ถึงปัจจุบันมีแนวโน้มท่ีจะเห็นว่าความเป็น \"วัตถุวิสัย\" ของประวัติศาสตร์ลดลง เช่นเดียวกันกับท่ียอมรับว่าวิทยาศาสตร์ไม่ใช่ความรู้ที่สมบูรณ์ การศึกษาประวัติศาสตร์เริ่มจากการต้ังคาถามพ้ืนฐานหลัก 5 คาถาม คือ \"เกิดเหตุการณ์อะไรข้ึนในอดีต\" (What),\"เหตุการณ์นั้นเกิดข้ึนเม่ือไหร่\" (When), \"เหตุการณ์น้ันเกิดข้ึนท่ีไหน\" (Where), \"ทาไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นข้ึน\" (Why),และ \"เหตุการณน์ ั้นเกิดขึน้ ได้อย่างไร\" (How) วธิ ิการทางประวตั ศิ าสตรป์ ระกอบด้วยขน้ั ตอนตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่  การรวบรวมหลักฐาน  การคัดเลอื กหลักฐาน  การวิเคราะห์ ตีความ ประเมนิ หลักฐาน  การเชือ่ มโยงความสัมพนั ธข์ องหลักฐาน  การนาเสนอขอ้ เท็จจริง นอกจากน้ี รอบิน จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) นักปรัชญาประวัติศาสตร์คนสาคัญชาวอังกฤษในครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 ผู้เปน็ เจา้ ของผลงานเร่อื งIdea of History ให้ความเห็นเกย่ี วกบั วธิ ิการศึกษาประวัตศิ าสตร์ ดงั น้ี  วธิ กี ารศกึ ษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตรต์ า่ งจากการศกึ ษาหลกั ฐานทางวิทยาศาสตร์  นกั ประวตั ศิ าสตรต์ อ้ งระมัดระวังในการยืนยนั ความถูกต้องของหลักฐาน

 การนาเสนอในลักษณะ \"ตัด-แปะประวัติศาสตร์\" ไม่ถูกต้องและเป็นวิธีการที่ไม่เป็นวิทยาศาสตร์ ควรนาเสนอโดย การประมวลความคดิ ให้เปน็ ข้อสรปุ  วิธีการทางประวัตศิ าสตรท์ ่ีมีลักษณะเป็นแบบวิทยาศาสตรค์ ือการตั้งคาถามประโยชน์ของการศกึ ษาประวัติศาสตร์ ประโยชน์ของการศึกษาประวัติศาสตร์จะช่วยให้มนุษย์เกิดสานึกในการค้นคว้าและสืบค้นข้อมูลที่เช่ือมโยงอดีตและปัจจุบัน อันสร้างความภูมิใจและกระตุ้นความรู้สึกนิยมในชาติหรือเผ่าพันธ์ุ ตลอดจนตระหนักถึงคุณค่าของมรดกทางวัฒนธรรมทีบ่ รรพบรุ ษุ สัง่ สมไว้, ประวตั ิศาสตรช์ ่วยให้เกิดการเรียนรู้จากอดีตเพื่อเป็นบทเรียนสาหรับปัจจุบัน องค์ความรู้ท่ีได้จากการศึกษาประวัติศาสตร์จะทาให้เข้าใจถึงปัญหา สาเหตุของปัญหา และผลกระทบจากปัญหา , การศึกษาประวัติศาสตรก์ ่อให้เกิดองค์ความรทู้ ี่หลากหลาย ซงึ่ สามารถนาความรู้เหล่าน้ันไปกาหนดยุทธศาสตร์ในการดาเนินนโยบายให้เป็นประโยชน์ต่อทั้งปัจจุบันและอนาคต, วิธีการทางประวัติศาสตร์ทาให้ผู้ศึกษาส่ังสมประสบการณ์และทักษะในการวิเคราะห์ ไต่สวน และแก้ปัญหา ซึ่งสามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการศึกษาศาสตร์แขนงอ่ืน ๆ คุณสมบัตินี้นับเป็นองค์ประกอบสาคญั ของการพฒั นาคณุ ภาพประชากรในสงั คมท่เี จริญกา้ วหนา้ และมพี ัฒนาการสวธิ ีการทางประวตั ศิ าสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์ มีปัญหาที่สาคัญอยู่ประการหนึ่ง คือ อดีตท่ีมีการฟ้ืนหรือจาลองข้ึนมาใหม่น้ัน มีความถูกต้องสมบรู ณ์และเชื่อถอื ไดเ้ พยี งใด รวมทง้ั หลกั ฐานท่ีเปน็ ลายลักษณ์อักษรและไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ที่นามาใช้ เป็นข้อมูลน้ันมคี วามสมบรู ณ์มากน้อยเพียงใด เพราะเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์มีอยู่มากมายเกินกว่าที่จะศึกษาหรือจดจาได้ หมด แต่หลกั ฐานที่ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู อาจมเี พียงบางส่วน ดังน้ัน วิธีการทางประวัติศาสตร์จึงมีความสาคัญเพ่ือใช้เป็นแนวทางสาหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์หรือผู้ท่ีจะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นาไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลาเอียง และเกิดความน่าเช่ือถือได้มากท่ีสุด ในการสืบค้นค้นคว้าเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ มีอยู่หลายวิธี เช่น จากหลักฐานทางวัตถุท่ีขุดค้นพบ หลักฐานท่ีเป็นการบันทึกลายลักษณ์อักษร หลักฐานจากคาบอกเล่า ซ่ึงการรวบรวมเรื่องราวต่างๆทางประวัติศาสตร์เหล่าน้ี เรียกว่า วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัตศิ าสตร์ คือ การรวบรวม พจิ ารณาไตรต่ รอง วิเคราะหแ์ ละตคี วามจากหลักฐานแลว้ นามาเปรียบเทียบอย่างเป็นระบบ เพื่ออธิบายเหตุการณ์สาคัญท่ีเกิดข้ึนในอดีต ว่าเหตุใดจึงเกิดขึ้น หรือเหตุการณ์ในอดีตน้ันได้เกิดและคล่คี ลายอย่างไร ซงึ่ เป็นความมุ่งหมายท่สี าคญั ของการศกึ ษาประวตั ศิ าสตร์ประเภทหลกั ฐานประวตั ศิ าสตร์ 1. หลักฐานทจ่ี าแนกตามความสาคัญ 1.1 หลักฐานช้ันต้น primary sources หมายถึง คาบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ท่ีเก่ียวข้องกับเหตุการณ์ โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงส่ิงก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดีโบราณสถาน โบราณวตั ถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วหิ าร พระพุทธรปู รูปปัน้ หมอ้ ไห ฯลฯ 1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณน์ ้นั แล้ว โดยอาศัยคาบอกเล่า หรอื จากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ไดแ้ ก่ ตานาน วิทยานิพนธ์ เปน็ ต้น 2. หลกั ฐานท่ใี ชอ้ กั ษรเป็นตวั กาหนด 2.1 หลกั ฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources หมายถึง หลักฐานท่ีมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเร่ืองราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร

นติ ยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนท่ี หลักฐานประเภทน้ีจัดว่าเป็นหลักฐานสมัยประวัตศิ าสตร์ 2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึง ส่ิงที่มนุษย์สร้างข้ึนท้ังหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่สิง่ ก่อสรา้ ง โบราณสถาน โบราณวตั ถุ ศลิ ปการแสดง คาบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ 3. หลักฐานทีก่ าหนดตามจดุ หมายของการผลิต 3.1 หลักฐานที่มนษุ ย์ตงั้ ใจสร้างขึน้ artiface หลักฐานทีม่ นษุ ย์สรา้ งขน้ึ เพอื่ ใชใ้ นการดารงชีวติ 3.2 หลักฐานที่มิไดเ้ ป็นผลผลิตท่มี นษุ ย์สรา้ งหรอื ตัง้ ใจสรา้ ง วธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์ หมายถงึ กระบวนการสืบคน้ เรือ่ งราวในอดตี ของสังคมมนุษย์ เร่ิมต้นท่ีความอยากรู้อยากเห็นของผตู้ ้องการศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้า หาคาตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยที่คนในอดีตได้ทาไว้และตกทอดเหลือมาถึงปัจจุบนั โดยไม่หลงเชื่อคาพูดของใครคนใดคนหน่ึง หรืออ่านหนังสือเพียงเล่มใดเล่มหนึ่งแล้วเชื่อว่าเป็นจริง ส่ิงที่ต้องทาเป็นอันดับแรกของการสืบค้นอดีต เมื่อมีประเด็นที่ต้องการสืบค้นแล้ว คือการเก็บรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานทางประวตั ิศาสตรอ์ ย่างกว้างขวางและละเอียด ลออ ด้วยวิธีการต่างๆ เช่น สอบถามผู้รู้ ศึกษาเอกสาร เรียนรู้จากแหล่งเรียนรู้ด้วยตนเอง ตรวจสอบข้อมูลจากหลักฐานทุกช้ินด้วยจิตสานึกว่า หลักฐานไม่ได้บอกความจริงทั้งหมด หรือบอกความจริงเสมอไป แล้วรวบรวมข้อเท็จจริงท่ีได้ จากน้ันนาเสนอผลท่ีศึกษาได้พร้อมอ้างอิงหลักฐานให้ชัดเจนเพ่ือให้ผู้อื่น ตรวจสอบหรอื ศึกษาคน้ ควา้ ต่อไปได้ขนั้ ตอนของวิธีการทางประวตั ิศาสตร์ ประกอบดว้ ย 1. การกาหนดหัวขอ้ เรื่องท่ีต้องการศึกษาให้ชดั เจน (เร่ืองอะไร ชว่ งเวลาใด ท่ไี หน) 2. รวบรวมขอ้ มลู จากหลกั ฐานทางประวัติศาสตรใ์ หค้ รบถว้ น ครอบคลมุ 3. ตรวจสอบความจรงิ จากหลักฐาน ทเี่ รยี กวา่ การวพิ ากษว์ ิธีทางประวตั ศิ าสตร์ 4. วิเคราะหข์ ้อมลู และตคี วามเพอ่ื คน้ หาข้อเท็จจริง 5. นาเสนอผลงานความร้ทู ีค่ น้ พบ โดยปราศจากอคตแิ ละความลาเอยี งวิธีการทางประวตั ิศาสตรก์ บั วิธีการทางวิทยาศาสตร์ วธิ ีการทางประวัติศาสตร์ กบั วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์ มีบางสว่ นทีค่ ล้ายคลึงกัน และมบี ทสว่ นแตกต่างกันดงั น้ี 1.วิธีการทางประวัติศาสตร์มีการกาหนดประเด็นปัญหาเพ่ือสืบค้นหาคาตอบ เช่นเดียวกับวิธีการทางวิทยาศาสตร์ท่ีมีการสรา้ งสมมตฐิ านข้ึนแลว้ ทดลองเพื่อ ตรวจสอบสมมติฐานน้นั 2.วิธีการทางวิทยาศาสตร์ใช้วิธีการสร้างสถานการณ์ใหม่ หรือ ทดลองเพื่อทดสอบสมมติฐานท่ีตั้งข้ึน แต่นักประวัติศาสตร์ไม่สามารถสร้างสถานการณ์ข้ึนใหม่ให้เหมือนกับสถานการณ์ ท่ีเกิดขึ้นจริงในอดีตได้ เพราะเหตุการณ์ท่ีเกิดขึ้นในอดตี จะเกดิ ขนึ้ คร้ังเดยี ว มีลักษณะเฉพาะ และไมส่ ามารถสร้างซ้าไดอ้ ีก แต่นักประวัติศาสตร์จะรวบรวมข้อมูลจากหลักฐานอย่างหลากหลาย ตรวจสอบความน่าเช่ือถือของหลักฐาน จนกระท่ังได้ข้อมูลท่ีจะสร้างความม่ันใจว่าจะสามารถอธิบายและสรุปเป็นหลัก การได้ ดังนั้นแม้นักประวัติศาสตร์จะมิได้เห็นเหตุการณ์น้ันโดยตรง แต่พยายามหาข้อมูลให้มากเพ่ือให้ได้ข้อเท็จจริงให้ถูกต้องตามความเป็นจริงที่น่าเป็นไปได้ แต่นักวิทยาศาสตร์จะทดสอบหรือทดลองให้ได้ผลสรุปด้วยตนเอง 3. การนาเสนอผลงานของนักวิทยาศาสตร์ และนักประวัติศาสตร์ก็อาศัยหลักการความเป็นไปได้มาคาดคะเน และสรุปผลเช่นกัน แต่ผลสรุปทางวิทยาศาสตร์ จะสามารถนาไปทดลองซ้าๆ ก็จะได้ผลเช่ นนั้นทุกครั้ง แต่ผลสรุปทาง

ประวัติศาสตร์ไม่สามารถนาไปทดลองได้ และมีความแตกต่างที่เป็น “มิติของเวลา” เช่นเดียวกับศาสตร์ทางสังคมศาสตร์อ่นื ๆ ทไ่ี มส่ ามารถควบคมุ ปัจจัยท่เี ป็นตวั แปรได้ทัง้ หมด 4. ประวัติศาสตร์เป็นศาสตร์ที่ไม่สามารถนิยามคาเฉพาะ เพราะความหมายจะไม่ชัดเจนตายตัวในทุกกาลและเทศะเช่น ประชาธิปไตยของท้องถ่ินหน่ึง กับอีกท้องถิ่นหนึ่งจะมีนัยแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับผู้ใช้หรือผู้นิยามซึ่งแตกต่างกับวทิ ยาศาสตร์ทสี่ ามารถใหน้ ยิ ามคาเฉพาะทีม่ คี วามหมายตายตัวไม่ เปลย่ี นแปลงตามเวลาและสถานท่ีคุณคา่ ของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ไดแ้ ก่ 1.วิธีการทางประวัติศาสตร์เป็นวิธีการวิจัยเอกสารและหลักฐานอ่ืนๆ ที่เป็นร่องรอยจากอดีตอย่างกว้างขวาง เพื่อให้ไดม้ าซ่ึงความรใู้ หมบ่ นพน้ื ฐานของการวิเคราะห์ขอ้ มลู ท่รี วบรวมมา อย่างเป็นระบบ และมเี หตมุ ีผล 2.ขั้นตอนการวพิ ากษว์ ธิ ีทางประวตั ิศาสตรห์ รือการตรวจสอบความจริงจากขอ้ มูลและหลกั ฐาน ซึ่งเป็นขั้นตอนของการคน้ หาความหมายท่ีซกุ ซ่อนอยู่ในหลักฐานจะทาให้ผู้ศึกษา ประวัติศาสตร์ระมัดระวัง และคิดพิจารณาข้อเท็จ และข้อจริงท่ีแฝงอย่ใู นหลักฐานให้ชัดเจน 3.วิธีการทางประวัติศาสตร์เน้นการเข้าใจอดีต คือ การให้ผู้ศึกษาเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ต้องทาความเข้าใจยุคสมัยทีต่ นศกึ ษา เพ่อื ให้เขา้ ถงึ ความคดิ ของผู้คนในยุคนนั้ โดยไม่นาความคิดของปจั จบุ นั ไปตดั สินอดตี อย่างไรก็ตาม เมื่อประวัติศาสตร์คือการสืบค้นอดีตของสังคมมนุษย์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ซ่ึง เป็นวิธีการในการสืบสวนและคน้ ควา้ จึงนบั เปน็ วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในรูปแบบหน่งึ ท่มี เี หตผุ ลประกอบผลสรุปนัน่ เอง

ใบกิจกรรมที่ 2 ประวตั ศิ าสตรส์ ากล ส 31102ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 เรอ่ื ง หลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ครศู ิริมา เมฆปัจฉาพชิ ิต ชอ่ื -สกลุ .............................................................................. ช้นั ............... เลขที่ ............คาชี้แจง ให้นกั เรียนศึกษาคน้ ควา้ เร่ืองหลักฐานทางประวัติศาสตรพ์ ร้อมอธบิ ายหวั ข้อตา่ งๆในแบบกจิ กรรมนี้๑. หลักฐานที่จาแนกตามความสาคญั ๑.๑ หลักฐานชัน้ ต้น ( primary sources) หมายถงึ …………………………….………………………………………………………............………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….......…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๑.๒ หลักฐานชั้นรอง ( secondary sources) หมายถงึ .…………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............๒. หลักฐานท่ใี ช้อักษรเป็นตัวกาหนด ๒.๑ หลักฐานท่ีเปน็ ลายลกั ษณ์อักษร (written sources) หมายถงึ ………………………….……………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………......…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๒.๒ หลักฐานที่ไม่เปน็ ลายลักษณ์อกั ษร หมายถึง …………………………………..………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………...........………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………๓. หลักฐานท่ีกาหนดตามจดุ หมายของการผลิต ๓.๑ หลกั ฐานท่ีมนษุ ย์ตง้ั ใจสร้างขึ้น หมายถึง ………………………………………………………………………………………………………..…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ๓.๒ หลักฐานที่มไิ ดเ้ ป็นผลผลิตท่ีมนุษยส์ ร้างหรอื ตั้งใจสรา้ ง หมายถงึ ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ ประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ด้วยองค์ประกอบสาคัญได้แก่ สังคมมนุษย์ หลักฐาน มิติของเวลา และวิธีก ารทางประวัติศาสตร์ โดยข้ันแรกต้องมีเหตุการณ์หรือพฤติกรรมในสังคมมนุษย์เกิดข้ึนแต่เน่ืองจากสังคมมนุษย์เกิดขึ้นมากว่า500,000 ปมี าแล้ว ความจรงิ ในอดตี จึงต้องอาศัยร่องรอยหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ซึ่งอาจเกิดจากธรรมชาติหรืออาจเกิดจากสงิ่ ทม่ี นษุ ยต์ ง้ั ใจหรอื อาจไมต่ ้ังใจจะสร้างหลักฐานข้นึ และเม่ือเกดิ หลกั ฐานขนึ้ แล้วตอ้ งอาศยั นกั ประวัติศาสตร์หรือผู้ที่สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ทาหน้าท่ีรวบรวมตรวจสอบ พิจารณา ไตร่ตรอง วิเคราะห์ ตีความ วินิจฉัยและเรียบเรียงข้อเท็จจริงที่ค้นพบเพื่ออธบิ ายเรือ่ งราวในสังคมนนั้ ๆวา่ เกิดข้ึนเพราะเหตใุ ดและผลของเหตุการณ์นัน้ เปน็ อยา่ งไร อย่างไรก็ตามไม่มีผู้ใดสามารถจาลองอดีตได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ฉะนั้นเหตุการณ์ท่ีเรียบเรียงขึ้นเป็นประวัติศาสตร์นี้จงึ เป็นเรอ่ื งราวเพียงส่วนหนึ่งของพฤติกรรมมนุษย์ในอดีตเท่าน้ันโดยผู้ศึกษาเห็นว่าเหตุการณ์น้ันมีความสาคัญต่อสังคมและควรเรียนรู้ถือเป็นบทเรียนของอดีตท่ีมีผลถึงปัจจุบันและอนาคต การสืบค้นอดีตเพ่ือเข้าใจสังคมปัจจุบันและเห็นแนวทางปฏิบัติใน

อนาคตคอื คณุ คา่ สาคัญของประวัติศาสตร์ นอกจากน้ปี ระวตั ิศาสตร์ยงั ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นมีความเข้าใจความรกั และความภมู ิใจในชาติของตน เข้าใจลักษณะเฉพาะทางวฒั นธรรมของสงั คมมนษุ ยท์ อี่ ย่ใู นพื้นท่ีต่างๆกันและท่ีสาคัญผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะได้รับการฝึกฝนทักษะการคิดวิเคราะห์การแยกแยะข้อเท็จจรงิ จากข้อมูลหลักฐานท่ีหลากหลายได้ฝึกฝนการอ่าน การเขียน การเล่าเรื่องและการนาเสนออย่างมีเหตุผลอันเป็นกระบวนการสรา้ งภูมิปัญญาอยา่ งแท้จริงคาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จากรูปท่ีกาหนดให้หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. ………………………………………………………………….. …………………………………………………………………..

ใบกจิ กรรมที่ 3 ประวัติศาสตรส์ ากล ส 31102ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เร่ือง วิธีการประเมินความน่าเช่อื ถอื ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ครูศิรมิ า เมฆปัจฉาพิชิต ช่อื -สกุล .............................................................................. ช้นั ............... เลขท่ี ............คาช้ีแจง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องวิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์พร้อมอธิบายหัวข้อการประเมินความน่าเชือ่ ถอื ในแบบกจิ กรรมนี้ วธิ ีการประเมนิ ความน่าเชื่อถือของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์‎วธิ ีการประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค่ า ข อ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง การศึกษาประวัติศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยหลักฐานต่างๆ ประวัตศิ าสตรแ์ บง่ เป็น ๒ ประเภทเก่ียวกับเรื่องนั้นๆมาศึกษาวิเคราะห์ตีความเร่ืองราว และ ๑. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐานจากตรวจสอบความถูกต้องของเรื่องราวเหตุการณ์นั้นๆหลักฐานท่ี ภายในหมายถึง การตรวจสอบความน่าเช้ือถือของเกี่ยวข้องกับเรื่องราวประวัติความเป็นมาของมนุษย์ เรียกว่า หลักฐานว่ามีความน่าเช่ือถือมาก ปานกลางหรือไม่หลักฐานทางประวัตศิ าสตรซ์ ่งึ สามารถแยกไดด้ ังนี้ นา่ เช่ือถอื ทง้ั หมดซ่ึงจะตอ้ งใช้ด้วยความระมดั ระวังและควร ตรวจสอบดังนี้ ๑. หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดีหลักฐานทางศิลปกรรมที่สาคัญคือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ๑.๑ ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์และการบันทึกศลิ ปวตั ถุแบบทวารวดีนอกจากนี้ได้แก่ เงินตรา ซากอิฐปูนของวัด ไดท้ นั เหตุการณค์ วามถกู ต้องย่อมมีมากขน้ึวาอาราม พระพุทธรปู เครอ่ื งใชต้ ามบา้ นเรอื น ฯลฯ ๑.๒ จุดมุ่งหมายของผู้บันทึกบางคนต้ังใจบันทึก ๒. หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่านั้นมักจะเขียนลงบนสมุด ได้ทนั เหตกุ ารณ์ความถกู ตอ้ งยอ่ มมมี ากข้นึ เทา่ นั้นข่อยหรือใบลาน เช่น ตานานสิงหนวัติ (เล่าเรื่องต้ังแต่พระเจ้าสิงหนวัติอพยพมาจากเหนือ) จามเทวีวงศ์ (เป็นเร่ืองเมืองหริภุญ ๑.๓ ผู้บันทึกรู้ในเร่ืองราวน้ันจริงหรือไม่ เรื่องราวไชย) รัตน์พิมพ์วงศ์ (เป็นตานานพระแก้วมรกต) สิหิงคุนิทาน ที่อา้ งอิงมาจากบุคคลอื่นหรอื เปน็ คาพูดของผู้บนั ทกึ เอง(เป็นประวัติพุทธศาสนาและประวัติเมืองต่าง ๆ ในลานนาไทย) จุลยุทธ์กาลวงศ์ (เป็นพงศาวดารไทย ตั้งแต่สมัยพระเจ้าอู่ ๑.๔ คุณสมบัติของผู้บันทึกเก่ียวกับการศึกษาเล่าทองตลอดสมัยอยุธยา) ตานานสุวรรณโคมคา และตานานมูล เรียนสภาพแวดล้อมน่าเชื่อถือหรือไม่ขณะที่บันทึกน้ันศาสนา (เป็นเร่ืองราวประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย) ปัญหา สภาพร่างกายหรือจิตใจปกติหรือไม่มีความกดดันทางของหลักฐานท่ีเป็นหนังสือเก่า คือ เราไม่ทราบว่าผู้บันทึกเขียนไว้ อารมณ์ หรือถูกบีบบังคับให้เขียนหรือไม่ข้อความในเม่ือไรมีความจรงิ แค่ไหนและแต่งเติมเพียงใด หลักฐานท่อี าจเกดิ การคดั ลอกหรือแปลผิดพลาดหรือมีการ ต่อเตมิ เกิดข้นึ ๓. หลกั ฐานทีเ่ ป็นศลิ าจารกึ ศิลาจารกึ ถือวา่ เป็นหลักฐานท่ีสาคัญมากในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในระยะเร่ิมแรกสมัย ๑.๕ ข้อความนั้นมีอคติเก่ียวกับเชื้อชาติ ศาสนาสุโขทยั ทสี่ าคัญไดแ้ ก่ ศิลาจารกึ หลักที่ ๑ (จารึกพ่อขุนรามคาแหง) ลทั ธกิ ารเมือง ฐานะทางเศรษฐกจิ สงั คมหรือไม่, ศิลาจารึกหลักท่ี ๒ (จารึกวัดศรีชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ ๓ (จารึกนครชุม) , ศิลาจารึกหลักท่ี ๔ (จารึกวัดป่ามะม่วง) , ศิลาจารึก ๑.๖ วิธีการในการบันทึกใช้วิธีการบันทึกอย่างไรหลักท่ี ๘ (จารึกวัดพระมหาธาตุ) , จารึกหลักที่ ๒๔ (จารึกวัดหัว ถ่ีถ้วนมีอรรถรสหรือเป็นการบันทึกโดยการสืบหาสาเหตุเวียงไชยา) , จารกึ หลักท่ี ๓๕ (จารกึ ดงแม่นางเมือง นครสวรรค์) , อ ย่ า ง เ ท่ี ย ง ธ ร ร ม ถ้ า ห า ก ผู้ บั น ทึ ก ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า งจารึกหลักที่ ๖๒ (จารึกวัดพระยืน ลาพูน) ฯลฯ หมายเหตุ ศิลา ประวัติศาสตร์บันทึกเหตุการณ์จะทาให้เป็นหลักฐานที่จารึกให้ลาดบั หลักตามการคน้ พบ ก่อน – หลัง น่าเช่อื ถอื ๔. หลักฐานพวกท่ีเป็นพงศาวดารพระราชพงศาวดาร ๒. การประเมินคุณค่าหลักฐานจากภายนอกเป็นสยามมีมากมาย แต่ที่มีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ การมุ่งวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐานว่าเป็นของจริงหรือ ของปลอมไม่ว่าจะเป็นบางส่วนหรือท้ังหมด โดยอาศัย วิธีการเปรียบเทียบกับหลักฐานอื่น อย่างไรก็ตาม การ ตรวจสอบหลักฐานว่าจริงหรือปลอมนั้นผู้ศึกษาไม่สามารถ

ไทย ได้แก่ ตรวจสอบด้วยตนเองได้ท้ังหมดเพราะต้องใช้ความรู้ ๔.๑ พระราชพงศาวดารสยามท่ีแต่งในสมัยอยุธยา คือ ความสามารถเฉพาะทางจริงๆจึงต้องอาศัยผลงานหรือขอ ความรว่ มมือจากผู้เช่ียวชาญสาขาอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงส่วนนี้ฉบับหลวงประเสรฐิ จะเป็นการตรวจสอบหาข้อบกพร่องของ ๔.๒ พระราชพงศาวดารสยามท่ีแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์แยกเปน็ ๓ รชั กาล คอื ๔.๒.๑ ฉบับรัชกาลท่ี ๑ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พันจนั ทนุมาศ (เจิม), ฉบบั เจา้ พระยาพิพิธพิชัย ฉบับพระ พนั รัตน์ ฉบบั บรติ ิชมิวเซยี ม ๔.๒.๒ ฉบับรัชกาลที่ ๓ มี ๑ สานวน คือ ฉบับ สมเด็จกรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ๔.๒.๓ ฉบับรัชกาลที่ ๔ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พระราชหตั ถเลขา ๔.๓ พระราชพงศาวดารฉบับอื่น ๆ คือ พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) พงศาวดารเหนอื พงศาวดารโยนก ๕. หลักฐานที่เป็นจดหมายเหตุชาวต่างประเทศหลักฐานพวกน้เี ป็นหลักฐานภาษาตา่ งประเทศ เพราะมชี าวยโุ รปหลายชาติเข้ามาติดต่อในสมัยอยุธยาหลักฐานเหล่าน้ีอยู่ในรูปของบันทึกจดหมายเหตุ จดหมายถึงผู้บังคับบัญชาจดหมายของข้าราชการและพอ่ ค้า เอกสารทางการทูตบันทึกของมิชชันนารีเช่น จดหมายเหตขุ องลาลแู บร์ บันทึกของบาดหลวงเดอ ช่ัว สี จดหมายเหตุวันวิลิต เอกสารฮอลันดา ฯลฯ อ้างอิงจาก (สุริยันตร์ เชาวน์ปรีชา:เอกสารประกอบ การสัมมนาประวัติพระยาพิชัยดาบหักเพ่ือการจัดทาหลักสตู รบคุ คลสาคญั ท้องถิ่น.)คาถามสรปุ ผลการเรียนรู้1. หากนกั เรียนตอ้ งการศึกษาประวัติศาสตร์ชาติไทย นักเรียนควรศึกษาหลักฐานทางประวัติศาสตร์ใด เพราะอะไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............2. หากนักเรยี นต้องการศึกษาประวัตศิ าสตรย์ ุโรปตอนกลาง นกั เรียนควรศึกษาหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรใ์ ด เพราะอะไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............3. หากมนี ักโบราณคดีถกเถยี งกันในเรื่องของประวัตศิ าสตร์ นักเรยี นจะตดั สนิ ใจเช่อื นักโบราณคดที ่ีมีคุณสมบัติอะไรบ้าง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ใบกจิ กรรมที่ 4 ประวตั ิศาสตร์สากล ส 31102ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 เร่ือง การแยกแยะและวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์ ครศู ิรมิ า เมฆปัจฉาพิชติ ชื่อ-สกุล .............................................................................. ช้นั ............... เลขท่ี ............คาช้แี จง ให้นักเรยี นศกึ ษาค้นควา้ เรือ่ งการแยกแยะและวธิ ีการทางประวัตศิ าสตร์พรอ้ มอธบิ ายหัวข้อต่างๆในแบบกจิ กรรมนี้ วธิ กี ารแยกแยะหลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ การแยกแยะหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ ข้ันตอน หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นลายลักษณ์อักษรจะมีการเขียนเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เร่ืองราวที่จด วธิ กี ารทางบันทกึ ไวเ้ รยี กว่าข้อมลู เมื่อจะใชข้ อ้ มลู ควรต้องดาเนินการ ดงั น้ี ประวัติศาส ๑. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์น้ัน ตร์จะมีทั้งข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียน ผู้บันทึกหรือผู้แต่ง ข้อเท็จจริงเป็นข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ซ่ึง ข้ันตอนท่ี ๑อาจตรงกนั บา้ งไมต่ รงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง แต่ความคิดเห็นเป็นส่วนท่ีผู้เขียน ผู้บันทึกหรือผู้แต่ง ผู้ใช้หลักฐาน การกาหนดคิดวา่ ขอ้ มลู ทถี่ ูกตอ้ งนา่ จะเปน็ อย่างไร เปา้ หมาย ๒. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง ข้อมูลหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ ขั้ นเรียกว่า ข้อเท็จจริง คาว่าข้อเท็จจริง แยกออกเป็นข้อเท็จจริงกับข้อจริง เรื่องราวทางประวัติศาสตร์จึง การกาหนดประกอบด้วย ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความจริงเช่น เร่ืองราวการเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี ๑ (พ.ศ. เ ป้ า ห ม า ย๒๑๑๒) การเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังที่ ๒ ( พ.ศ. ๒๓๑๐ ) ความจริงคือไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ เป็นขั้นตอนและ พ.ศ. ๒๓๑๐ ส่วนข้อเท็จจริงคือ ข้อมูลที่เป็นคาอธิบายที่ปรากฏในหลักฐานท้ังหลายว่าทาไมไทยจึงเสีย แ ร ก นั กกรุงศรีอยุธยาเช่น คนไทยเตรียมตัวไม่พร้อม ผู้นาอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน ทหารมีจานวนน้อย มี ประวัติศาสอาวธุ ลา้ สมัยและมจี านวนไม่พอเพยี ง ข้าศกึ มีผนู้ าท่ีเขม้ แขง็ และมีความสามารถสูง มีทหารจานวนมากกว่าและมี ต ร์ ต้ อ ง มีอาวุธดีกวา่ คาอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซึ่งเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความ จุดประสงค์จรงิ ดงั นนั้ จงึ เรียกคาอธบิ ายหรือเหตุผลวา่ ขอ้ เทจ็ จริง ชัดเจนว่าจะ ศึกษาอะไร ดังน้ัน ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐานหลายแหล่งหรืออ่าน อ ดี ต ส่ ว นหนังสือหลายเล่ม เพ่ือจะได้สามารถแยกแยะว่าเร่ืองใดเป็นความจริง เร่ืองใดเป็นข้อเท็จจริง เร่ืองนี้ยังเป็น ไ ห น ส มั ยประโยชน์ในการรับรู้รบั ฟังข้อมลู หรือเรื่องราวทงั้ หลายในชีวติ ประจาวนั วา่ เร่ืองใดควรเช่ือและเร่ืองใดไมค่ วรเชือ่ อะไร และ เ พ ร า ะ เ ห ตุ ใด เป็นการ ตั้งคาถามที่ ต้ อ ง ก า ร ศึ ก ษ า นั ก ประวัติศาส ต ร์ ต้ อ ง อ า ศั ย ก า ร อ่ า น ก า ร สังเกต และ ค ว ร ต้ อ ง มี ค ว า ม รู้

กว้างๆ ทางประวัติศาสต ร์ ใ น เ รื่ อ งนั้นๆมาก่อนบ้ า ง ซึ่ งคาถามหลักที่ นั กประวัติศาสตร์ควรคานึงอ ยู่ตลอดเวลาก็คื อ ท า ไ มและเกิดขึ้นอยา่ งไรขั้นตอนท่ี ๒การรวบรวมขอ้ มูล ห ลักฐานทางประวัติศาสต ร์ ท่ี ใ ห้ข้อมู ลมีทั้ งห ลั ก ฐ า น ท่ีเ ป็ น ล า ยลั ก ษ ณ์อัก ษ ร แ ล ะห ลั ก ฐ า น ที่ไ ม่ เ ป็ น ล า ยลั ก ษ ณ์อักษร มีทั้งที่ เ ป็ นห ลั ก ฐ า นช้ันต้น(ปฐมภู มิ ) แ ล ะหลักฐานชั้นร อ ง ( ทุ ติ ยภูมิ)ข้ันตอนท่ี ๓การประเมินคุณค่าของ

หลักฐาน วิ พากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบห ลั ก ฐ า นแล ะข้ อมู ลในหลักฐานเหล่าน้ันว่ามี ค ว า มน่ า เ ช่ื อ ถื อห รื อ ไ ม่ประกอบด้วยการวิ พ า ก ษ์ห ลั ก ฐ า นและวิพากษ์ข้ อ มู ล โ ด ยขั้ น ต อ น ท้ั งสองจะกระทาควบคู่กันไปเ นื่ อ ง จ า กการตรวจสอบห ลั ก ฐ า นต้ อ งพิ จ า ร ณ าจากเน้ือหาห รื อ ข้ อ มู ลภายในหลักฐานนั้นและในการวิ พ า ก ษ์ข้อมูลก็ต้องอ า ศั ยรู ป ลั ก ษ ณ ะของห ลั ก ฐ า นภายนอก

ประกอบด้วยการวิ พ า ก ษ์ห ลั ก ฐ า นหรือวิพากษ์ภายนอกข้ันตอนท่ี ๔การตีความหลักฐาน การ ตี ค ว า มห ลั ก ฐ า นห ม า ย ถึ งการพิ จ า ร ณ าข้ อ มู ล ใ นหลักฐานว่าผู้ ส ร้ า งหลักฐ านมีเ จ ต น า ท่ีแ ท้ จ ริ งอย่างไร โดยดู จ า ก ลี ล าก า ร เ ขี ย นของผู้บันทึกและรูปร่างลั ก ษ ณ ะโ ด ย ทั่ ว ไ ปของป ร ะ ดิ ษ ฐ์กรรมต่างๆเ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ความหมายท่ีแท้จริงซ่ึงอาจแอบแฟงโดยเจตนาห รื อ ไ ม่ ก็ตามข้ันตอนท่ี ๕การ

สั ง เ ค ร า ะ ห์และการวิ เ ค ร า ะ ห์ข้อมลู จัดเป็ น ขั้ น ต อ นสุดท้ายของวิ ธี ก า ร ท า งประวัติศาสต ร์ ซึ่ ง ผู้ศึ ก ษ าค้ น ค ว้ าจะต้องเรียบเ รี ย ง เ ร่ื อ งห รื อนาเสนอข้ อ มู ล ใ นลั ก ษ ณ ะ ท่ีเ ป็ น ก า รต อ บ ห รื ออ ธิ บ า ยความอยากรู้ข้ อ ส ง สั ยตลอดจนความรู้ใหม่ค ว า ม คิ ดใหม่ท่ีได้จากก า ร ศึ ก ษ าค้นควา้ น้นั ลั กษณะประเภทความหมายและความสาคัญของประวัติศาสต ร์ประวัติศาสต ร์ เ ป็ น วิ ช าท่ี ว่ า ด้ ว ย

พฤ ติ ก ร ร ม ห รื อ เรื่องราวของ ม นุ ษ ย์ ท่ี เ กิ ด ขึ้ น ใ น อ ดี ต ร่ อ ง ร อ ย ที่ คน ใ น อ ดี ต สร้างเอาไว้ เ ป้ า ห ม า ย ของการ เ รี ย น รู้ ประวัติศาส ตร์ คือ การ เข้าใจสังคม ใ น อ ดี ต ใ ห้ ใกล้เคียงกับ ค ว า ม เ ป็ น จ ริ ง ม า ก ที่ สุ ด เ พื่ อ นามา เ ส ริ ม ส ร้ า ง ความเข้าใจ ใ น สั ง ค ม ปจั จบุ ันคาช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนสนใจมา 1 เร่ือง และใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาความเป็นจริงในเร่ืองราวทางประวัตศิ าสตรท์ ีน่ ักเรียนเลือกเรอื่ งท่นี ักเรียนสนใจ คือ .................................................................................................................................................................เพราะเหตใุ ด ............................................................................................................................. ......................................................ขัน้ ตอนท่ี ๑ การกาหนดเป้าหมาย…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ข้ันตอนท่ี ๒ การรวบรวมขอ้ มูล…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ข้นั ตอนท่ี ๓ การประเมนิ คุณค่าของหลกั ฐาน

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ขนั้ ตอนท่ี ๔ การตคี วามหลกั ฐาน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ขั้นตอนท่ี ๕ การสงั เคราะห์และการวิเคราะหข์ อ้ มูล…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ใบกิจกรรมที่ 2 ประวัตศิ าสตร์สากล ส 31102ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 4 เรอื่ ง หลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ครูศิรมิ า เมฆปัจฉาพชิ ิต ชอ่ื -สกุล .............................................................................. ชน้ั ............... เลขที่ ............คาชี้แจง ใหน้ ักเรยี นศกึ ษาค้นคว้าเรอ่ื งหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตรพ์ ร้อมอธิบายหัวขอ้ ตา่ งๆในแบบกิจกรรมนี้๑. หลักฐานที่จาแนกตามความสาคญั ๑.๑ หลักฐานชั้นต้น ( primary sources) หมายถึง คาบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เก่ียวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึกรวมถึงส่ิงก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถานโบราณวตั ถุ เชน่ โบสถ์ เจดยี ์ วหิ าร พระพุทธรูป รูปป้นั หม้อ ไห ฯลฯ ๑.๒ หลักฐานชั้นรอง ( secondary sources) หมายถึง ผลงานท่ีเขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตกุ ารณน์ น้ั แลว้ โดยอาศยั คาบอกเล่าหรอื จากหลกั ฐานช้นั ตน้ ตา่ งๆไดแ้ ก่ ตานาน วทิ ยานิพนธ์ เป็นต้น๒. หลักฐานที่ใช้อักษรเปน็ ตวั กาหนด ๒.๑ หลกั ฐานทีเ่ ปน็ ลายลักษณอ์ กั ษร (written sources) หมายถึง หลกั ฐานท่มี ีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสารรวมถึงการบนั ทกึ ไว้ตามส่งิ กอ่ สร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทน้จี ดั วา่ เปน็ หลักฐานสมยั ประวัติศาสตร์ ๒.๒ หลักฐานท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร หมายถึง ส่ิงท่ีมนุษย์สร้างขึ้นท้ังหมดท่ีไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่สงิ่ กอ่ สรา้ ง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปะการแสดง คาบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จติ รกรรม ฯลฯ๓. หลักฐานทกี่ าหนดตามจุดหมายของการผลติ ๓.๑ หลักฐานท่ีมนษุ ย์ต้ังใจสรา้ งขึน้ หมายถงึ หลกั ฐานทีม่ นุษยส์ รา้ งข้ึนเพื่อใช้ในการดารงชีวติ ๓.๒ หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง หมายถึง วิธีการทางประวัติศาสตร์ กระบวนการสืบค้นเรื่องราวในอดีตของสังคมมนุษย์เร่ิมต้นท่ีความอยากรู้อยากเห็นของผู้ต้องการ ศึกษาและต้องการสอบสวนค้นคว้า หาคาตอบด้วยตนเอง จากร่องรอยท่คี นในอดตี ไดท้ าไวแ้ ละตกทอดเหลอื มาถงึ ปจั จบุ ัน ประวัติศาสตร์จะเกิดขึ้นได้ด้วยองค์ประกอบสาคัญได้แก่ สังคมมนุษย์ หลักฐาน มิติของเวลา และวิธีการทางประวัติศาสตร์ โดยขั้นแรกต้องมีเหตุการณ์หรือพฤติกรรมในสังคมมนุษย์เกิดขึ้นแต่เน่ืองจากสังคมมนุษย์เกิดขึ้นมากว่า500,000 ปีมาแล้ว ความจริงในอดีตจึงต้องอาศัยร่องรอยหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซ่ึงอาจเกิดจากธรรมชาติหรืออาจเกิดจากสิ่งท่มี นุษย์ต้ังใจหรอื อาจไม่ตงั้ ใจจะสรา้ งหลกั ฐานขน้ึ และเมือ่ เกิดหลักฐานข้ึนแล้วต้องอาศัยนักประวัติศาสตร์หรือผู้ที่สนใจศึกษาประวัติศาสตร์ทาหน้าท่ีรวบรวมตรวจสอบ พิจารณา ไตร่ตรอง วิเคราะห์ ตีความ วินิจฉัยและเรียบเรียงข้อ เท็จจริงท่ีคน้ พบเพอื่ อธบิ ายเรือ่ งราวในสงั คมนนั้ ๆว่าเกิดขึน้ เพราะเหตใุ ดและผลของเหตกุ ารณน์ ้ันเป็นอย่างไร อย่างไรก็ตามไม่มผี ใู้ ดสามารถจาลองอดีตไดอ้ ยา่ งครบถ้วนสมบูรณ์ฉะน้ันเหตุการณ์ท่ีเรียบเรียงข้ึนเป็นประวัติศาสตร์นี้จงึ เป็นเรอ่ื งราวเพียงสว่ นหนงึ่ ของพฤตกิ รรมมนุษยใ์ นอดีตเทา่ น้นั โดยผศู้ กึ ษาเห็นวา่ เหตุการณน์ ้ันมคี วามสาคัญต่อสังคมและควรเรียนร้ถู ือเป็นบทเรียนของอดีตท่ีมีผลถึงปัจจุบันและอนาคต การสืบค้นอดีตเพ่ือเข้าใจสังคมปัจจุบันและเห็นแนวทางปฏิบัติในอนาคตคอื คุณคา่ สาคัญของประวตั ิศาสตร์ นอกจากนี้ประวัติศาสตร์ยังช่วยให้ผู้เรียนมีความเข้าใจความรักและความภูมิใจในชาติของตน เข้าใจลักษณะเฉพาะทางวัฒนธรรมของสังคมมนุษย์ท่ีอยู่ในพ้ืนที่ต่างๆกันและท่ีสาคัญผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะได้รับการฝึกฝนทักษะการคิดวิเคราะห์การแยกแยะข้อเท็จจริงจากข้อมูลหลักฐานที่หลากหลายได้ฝึกฝนการอ่าน การเขียน การเล่าเร่ืองและการนาเสนออยา่ งมีเหตุผลอันเป็นกระบวนการสร้างภูมิปญั ญาอยา่ งแท้จรงิ

คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนบอกประเภทของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์จากรูปท่ีกาหนดให้หลกั ฐานทางประวัติศาสตร์ ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ หลักฐานชั้นตน้ หลกั ฐานชั้นรอง หลกั ฐานท่ีเป็นลายลักษณอ์ กั ษร หลกั ฐานทไี่ ม่เป็นลายลกั ษณ์อกั ษร

ใบกจิ กรรมที่ 3 ประวัติศาสตร์สากล ส 31102ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 เรือ่ ง วิธีการประเมินความน่าเช่อื ถอื ของหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ครูศิริมา เมฆปัจฉาพชิ ิต ช่ือ-สกุล .............................................................................. ช้ัน ............... เลขท่ี ............คาช้ีแจง ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเรื่องวิธีการประเมินความน่าเช่ือถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์พร้อมอธิบายหัวข้อ การประเมินความน่าเช่ือถอื ในแบบกจิ กรรมนี้ วธิ กี ารประเมนิ ความน่าเช่ือถือของหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์‎วธิ ีการประเมนิ ความนา่ เชือ่ ถอื ของหลกั ฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ก า ร ป ร ะ เ มิ น ค่ า ข อ ง ห ลั ก ฐ า น ท า ง การศึกษาประวัติศาสตร์จาเป็นต้องอาศัยหลักฐานต่างๆ ประวตั ศิ าสตร์แบง่ เป็น ๒ ประเภทเก่ียวกับเรื่องนั้นๆมาศึกษาวิเคราะห์ตีความเร่ืองราว และ ๑. การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าหลักฐานจากตรวจสอบความถูกต้องของเร่ืองราวเหตุการณ์นั้นๆหลักฐานที่ ภายในหมายถึง การตรวจสอบความน่าเช้ือถือของเกี่ยวข้องกับเร่ืองราวประวัติความเป็นมาของมนุษย์ เรียกว่า หลักฐานว่ามีความน่าเชื่อถือมาก ปานกลางหรือไม่หลักฐานทางประวัตศิ าสตรซ์ งึ่ สามารถแยกไดด้ งั น้ี นา่ เช่อื ถือท้ังหมดซ่งึ จะต้องใชด้ ว้ ยความระมัดระวังและควร ตรวจสอบดังนี้ ๑. หลักฐานทางศิลปกรรมและโบราณคดีหลักฐานทางศิลปกรรมที่สาคัญคือ ศิลปวัตถุแบบอู่ทอง ศิลปวัตถุแบบลพบุรี ๑.๑ ช่วงระยะเวลาของเหตุการณ์และการบันทึกศลิ ปวตั ถุแบบทวารวดีนอกจากน้ีได้แก่ เงินตรา ซากอิฐปูนของวัด ไดท้ นั เหตุการณค์ วามถกู ต้องยอ่ มมีมากขึน้วาอาราม พระพุทธรูป เคร่อื งใช้ตามบ้านเรอื น ฯลฯ ๑.๒ จุดมุ่งหมายของผู้บันทึกบางคนต้ังใจบันทึก ๒. หลักฐานที่เป็นหนังสือเก่าน้ันมักจะเขียนลงบนสมุด ได้ทนั เหตกุ ารณค์ วามถกู ตอ้ งย่อมมมี ากขึน้ เทา่ นัน้ข่อยหรือใบลาน เช่น ตานานสิงหนวัติ (เล่าเรื่องต้ังแต่พระเจ้าสิงหนวัติอพยพมาจากเหนือ) จามเทวีวงศ์ (เป็นเร่ืองเมืองหริภุญ ๑.๓ ผู้บันทึกรู้ในเรื่องราวน้ันจริงหรือไม่ เรื่องราวไชย) รัตน์พิมพ์วงศ์ (เป็นตานานพระแก้วมรกต) สิหิงคุนิทาน ที่อา้ งอิงมาจากบุคคลอืน่ หรือเปน็ คาพูดของผู้บันทึกเอง(เป็นประวัติพุทธศาสนาและประวัติเมืองต่าง ๆ ในลานนาไทย) จุลยุทธ์กาลวงศ์ (เป็นพงศาวดารไทย ต้ังแต่สมัยพระเจ้าอู่ ๑.๔ คุณสมบัติของผู้บันทึกเกี่ยวกับการศึกษาเล่าทองตลอดสมัยอยุธยา) ตานานสุวรรณโคมคา และตานานมูล เรียนสภาพแวดล้อมน่าเชื่อถือหรือไม่ขณะท่ีบันทึกน้ันศาสนา (เป็นเร่ืองราวประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย) ปัญหา สภาพร่างกายหรือจิตใจปกติหรือไม่มีความกดดันทางของหลักฐานท่ีเป็นหนังสือเก่า คือ เราไม่ทราบว่าผู้บันทึกเขียนไว้ อารมณ์ หรือถูกบีบบังคับให้เขียนหรือไม่ข้อความในเม่ือไรมีความจริงแค่ไหนและแต่งเตมิ เพยี งใด หลกั ฐานทอี่ าจเกิดการคัดลอกหรือแปลผิดพลาดหรือมีการ ต่อเติมเกิดขน้ึ ๓. หลกั ฐานทเ่ี ป็นศลิ าจารกึ ศิลาจารกึ ถือวา่ เป็นหลักฐานท่ีสาคัญมากในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยในระยะเริ่มแรกสมัย ๑.๕ ข้อความน้ันมีอคติเก่ียวกับเช้ือชาติ ศาสนาสุโขทยั ทสี่ าคัญไดแ้ ก่ ศิลาจารกึ หลักท่ี ๑ (จารึกพ่อขุนรามคาแหง) ลทั ธกิ ารเมือง ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคมหรอื ไม่, ศิลาจารึกหลักท่ี ๒ (จารึกวัดศรีชุม) , ศิลาจารึกหลักท่ี ๓ (จารึกนครชุม) , ศิลาจารึกหลักที่ ๔ (จารึกวัดป่ามะม่วง) , ศิลาจารึก ๑.๖ วิธีการในการบันทึกใช้วิธีการบันทึกอย่างไรหลักท่ี ๘ (จารึกวัดพระมหาธาตุ) , จารึกหลักท่ี ๒๔ (จารึกวัดหัว ถ่ีถ้วนมีอรรถรสหรือเป็นการบันทึกโดยการสืบหาสาเหตุเวียงไชยา) , จารกึ หลกั ท่ี ๓๕ (จารกึ ดงแม่นางเมือง นครสวรรค์) , อ ย่ า ง เ ท่ี ย ง ธ ร ร ม ถ้ า ห า ก ผู้ บั น ทึ ก ใ ช้ วิ ธี ก า ร ท า งจารึกหลักที่ ๖๒ (จารึกวัดพระยืน ลาพูน) ฯลฯ หมายเหตุ ศิลา ประวัติศาสตร์บันทึกเหตุการณ์จะทาให้เป็นหลักฐานท่ีจารึกให้ลาดบั หลักตามการคน้ พบ กอ่ น – หลงั น่าเชอื่ ถือ ๔. หลักฐานพวกท่ีเป็นพงศาวดารพระราชพงศาวดาร ๒. การประเมินคุณค่าหลักฐานจากภายนอกเป็นสยามมีมากมาย แต่ท่ีมีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ การมุ่งวิเคราะห์และพิสูจน์หลักฐานว่าเป็นของจริงหรือ ของปลอมไม่ว่าจะเป็นบางส่วนหรือทั้งหมด โดยอาศัย วิธีการเปรียบเทียบกับหลักฐานอ่ืน อย่างไรก็ตาม การ ตรวจสอบหลักฐานว่าจริงหรือปลอมนั้นผู้ศึกษาไม่สามารถ

ไทย ได้แก่ ตรวจสอบด้วยตนเองได้ทั้งหมดเพราะต้องใช้ความรู้ ๔.๑ พระราชพงศาวดารสยามที่แต่งในสมัยอยุธยา คือ ความสามารถเฉพาะทางจริงๆจึงต้องอาศัยผลงานหรือขอ ความร่วมมือจากผเู้ ชยี่ วชาญสาขาอ่ืนๆท่ีเกี่ยวข้องซ่ึงส่วนนี้ฉบับหลวงประเสรฐิ จะเป็นการตรวจสอบหาขอ้ บกพร่องของ ๔.๒ พระราชพงศาวดารสยามท่ีแต่งในสมัยรัตนโกสินทร์แยกเปน็ ๓ รชั กาล คอื ๔.๒.๑ ฉบับรัชกาลท่ี ๑ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พันจนั ทนุมาศ (เจิม), ฉบับเจ้าพระยาพิพิธพิชัย ฉบับพระ พนั รัตน์ ฉบบั บรติ ิชมิวเซยี ม ๔.๒.๒ ฉบับรัชกาลท่ี ๓ มี ๑ สานวน คือ ฉบับ สมเดจ็ กรมพระปรมานชุ ติ ชโิ นรส ๔.๒.๓ ฉบับรัชกาลท่ี ๔ มี ๔ สานวน คือ ฉบับ พระราชหัตถเลขา ๔.๓ พระราชพงศาวดารฉบับอ่ืน ๆ คือ พระราชพงศาวดารกรุงเก่าฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด) พงศาวดารเหนอื พงศาวดารโยนก ๕. หลักฐานที่เป็นจดหมายเหตุชาวต่างประเทศหลักฐานพวกน้เี ป็นหลักฐานภาษาตา่ งประเทศ เพราะมชี าวยุโรปหลายชาติเข้ามาติดต่อในสมัยอยุธยาหลักฐานเหล่านี้อยู่ในรูปของบันทึกจดหมายเหตุ จดหมายถึงผู้บังคับบัญชาจดหมายของข้าราชการและพอ่ ค้า เอกสารทางการทูตบันทึกของมิชชันนารีเช่น จดหมายเหตขุ องลาลแู บร์ บันทึกของบาดหลวงเดอ ช่ัว สี จดหมายเหตุวันวิลิต เอกสารฮอลันดา ฯลฯ อ้างอิงจาก (สุริยันตร์ เชาวน์ปรีชา:เอกสารประกอบ การสัมมนาประวัติพระยาพิชัยดาบหักเพื่อการจัดทาหลักสตู รบคุ คลสาคญั ท้องถิน่ .)คาถามสรปุ ผลการเรียนรู้1. หากนกั เรียนตอ้ งการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ชาตไิ ทย นกั เรียนควรศกึ ษาหลักฐานทางประวัตศิ าสตรใ์ ด เพราะอะไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............2. หากนักเรยี นต้องการศึกษาประวตั ศิ าสตร์ยุโรปตอนกลาง นักเรียนควรศกึ ษาหลกั ฐานทางประวตั ิศาสตร์ใด เพราะอะไร…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............3. หากมนี ักโบราณคดีถกเถยี งกันในเร่ืองของประวตั ศิ าสตร์ นกั เรียนจะตัดสนิ ใจเช่อื นักโบราณคดที ี่มีคุณสมบัติอะไรบ้าง…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

ใบกิจกรรมท่ี 4 ประวัติศาสตร์สากล ส 31102ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 4 เรอื่ ง การแยกแยะและวธิ กี ารทางประวัติศาสตร์ ครูศิริมา เมฆปัจฉาพชิ ติ ชอื่ -สกลุ .............................................................................. ช้นั ............... เลขที่ ............คาชแ้ี จง ให้นกั เรยี นศึกษาค้นควา้ เร่ืองการแยกแยะและวธิ ีการทางประวตั ิศาสตร์พร้อมอธิบายหัวข้อต่างๆในแบบกิจกรรมนี้ วธิ กี ารแยกแยะหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ การแยกแยะหลักฐานทางประวัตศิ าสตร์ ข้ันตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทางประวตั ิศาสตร์ทเ่ี ปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษรจะมกี ารเขียน ข้ันตอนที่ ๑ การกาหนดเปา้ หมายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ เรื่องราวท่ีจดบันทึกไว้เรียกว่าข้อมูลเมอื่ จะใช้ขอ้ มลู ควรต้องดาเนินการ ดังน้ี ข้ันการกาหนดเป้าหมาย เป็นข้ันตอนแรก นัก ประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร ๑. การแยกแยะความแตกต่างระหว่างข้อเท็จจริงกับ อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการต้ังความคิดเห็นข้อมูลเรื่องราวทางประวัติศาสตร์น้ันจะมีทั้ ง คาถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการข้อเท็จจริงกับความคิดเห็นของผู้เขียน ผู้บันทึกหรือผู้แต่ง อ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางข้อเท็จจริงเป็นข้อมูลจากหลักฐานต่างๆ ซึ่งอาจตรงกันบ้างไม่ ประวัติศาสตร์ในเรื่องน้ันๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคาถามหลักที่ตรงกันหรือขัดแย้งกันบ้าง แต่ความคิดเห็นเป็นส่วนที่ผู้เขียน ผู้ นักประวัติศาสตร์ควรคานึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทาไมและบันทึกหรือผู้แต่ง ผู้ใช้หลักฐานคิดว่าข้อมูลที่ถูกต้องน่าจะเป็น เกดิ ข้ึนอย่างไรอย่างไร ข้นั ตอนท่ี ๒ การรวบรวมขอ้ มูล ๒. การแยกแยะระหว่างความจริงกับข้อเท็จจริง ข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูลมีทั้งหรือเรื่องราวทางประวัติศาสตร์เรียกว่า ข้อเท็จจริง คาว่า หลักฐานท่ีเป็นลายลักษณ์อักษรและหลักฐานท่ีไม่เป็นข้อเท็จจริง แยกออกเป็นข้อเท็จจริงกับข้อจริง เรื่องราวทาง ลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ)ประวัติศาสตร์จึงประกอบด้วย ข้อเท็จจริงกับข้อจริงหรือความ และหลกั ฐานชน้ั รอง(ทุตยิ ภมู ิ)จริงเช่น เรื่องราวการเสียกรุงศรีอยุธยาคร้ังท่ี ๑ (พ.ศ. ขัน้ ตอนท่ี ๓ การประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐาน๒๑๑๒) การเสยี กรงุ ศรอี ยุธยาครงั้ ที่ ๒ ( พ.ศ. ๒๓๑๐ ) ความจริงคือไทยเสียกรุงศรีอยุธยาใน พ.ศ. ๒๑๑๒ และ พ.ศ. ๒๓๑๐ ส่วน วิพากษ์วธิ ีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบข้อเท็จจริงคือ ข้อมูลท่ีเป็นคาอธิบายที่ปรากฏในหลักฐาน หลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่าน้ันว่า มีความท้ังหลายว่าทาไมไทยจึงเสียกรุงศรีอยุธยาเช่น คนไทยเตรียมตัวไม่ น่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและพร้อม ผู้นาอ่อนแอและมีความแตกแยกภายใน ทหารมีจานวน วิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทาควบคู่กันไปน้อย มีอาวุธล้าสมัยและมีจานวนไม่พอเพียง ข้าศึกมีผู้นาท่ี เน่ืองจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเขม้ แขง็ และมีความสามารถสูง มีทหารจานวนมากกว่าและมีอาวุธ เนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการดีกว่า คาอธิบายดังกล่าวอาจถูกต้องหรือไม่ถูกต้อง ซ่ึงเรียกอีก วิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานอย่างหน่ึงว่าเป็นความจริงหรือไม่เป็นความจริง ดังนั้นจึงเรียก ภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์คาอธบิ ายหรอื เหตุผลวา่ ขอ้ เท็จจรงิ ภายนอก ขั้นตอนท่ี ๔ การตีความหลักฐาน ดังนั้น ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ จึงต้องค้นคว้าข้อมูลจากหลักฐานหลายแหล่งหรืออ่านหนังสือหลายเล่ม การตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาเพ่ือจะได้สามารถแยกแยะว่าเร่ืองใดเป็นความจริง เรื่องใดเป็น ข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงข้อเท็จจริง เร่ืองน้ียังเป็นประโยชน์ในการรับรู้รับฟังข้อมูลหรือ อย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างเรือ่ งราวท้งั หลายในชวี ติ ประจาวันว่าเรื่องใดควรเชื่อและเร่ืองใดไม่ ลักษณะโดยท่ัวไปของประดิษฐ์กรรมต่างๆเพื่อให้ได้ควรเช่อื ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ ตาม

ขัน้ ตอนที่ ๕ การสังเคราะหแ์ ละการวเิ คราะห์ข้อมลู จั ด เ ป็ น ขั้ น ต อ น สุ ด ท้ า ย ข อ ง วิ ธี ก า ร ท า ง ประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเร่ือง หรอื นาเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบาย ความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ความคิดใหม่ ที่ได้จากการศกึ ษาค้นคว้านน้ั ลักษณะประเภท ความหมายและความสาคัญ ของประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์เป็นวิชาที่ว่าด้วย พ ฤ ติ ก ร ร ม ห รื อ เ ร่ื อ ง ร า ว ข อ ง ม นุ ษ ย์ ที่ เ กิ ด ข้ึ น ใ น อ ดี ต รอ่ งรอยท่ีคนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ ประวตั ศิ าสตร์ คือ การเขา้ ใจสงั คมในอดีตให้ใกล้เคียงกับ ความเป็นจริงมากท่ีสุด เพ่ือนามาเสริมสร้างความเข้าใจ ในสังคมปจั จบุ นัคาช้ีแจง ให้นักเรียนเลือกเร่ืองราวทางประวัติศาสตร์ที่นักเรียนสนใจมา 1 เรื่อง และใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาความเปน็ จรงิ ในเรอ่ื งราวทางประวัตศิ าสตร์ทนี่ ักเรยี นเลือกเร่ืองทน่ี กั เรยี นสนใจ คือ ......................................................................................................................... ........................................เพราะเหตุใด ............................................................................................................................. ......................................................ขั้นตอนท่ี ๑ การกาหนดเป้าหมาย…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ข้ันตอนท่ี ๒ การรวบรวมขอ้ มูล…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ขั้นตอนท่ี ๓ การประเมินคุณคา่ ของหลกั ฐาน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ขั้นตอนที่ ๔ การตคี วามหลกั ฐาน…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............ขั้นตอนท่ี ๕ การสังเคราะห์และการวิเคราะหข์ ้อมูล…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………............

แบบฝกึ หัดที่ 2 ประวัตศิ าสตร์สากล ส 31102ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 4 เร่อื ง วิธีการทางประวตั ศิ าสตร์ ครศู ิรมิ า เมฆปัจฉาพิชิต ชอื่ -สกุล .............................................................................. ช้ัน ............... เลขที่ ............คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรยี นเลือกเรือ่ งทต่ี ้องการจะศกึ ษา 1 เร่อื ง ซงึ่ เก่ียวกับครอบครวั /โรงเรียน/ชุมชน ของตนเองเรอื่ งทต่ี ้องการศึกษา............................................................................................................................. ...............................................................................การรวบรวมหลักฐาน .............................................................................................................................................. ......... - หลักฐานปฐมภูมิ- หลกั ฐานทตุ ิยภูมิ ............................................................................................................................. .......................... ...................................................................................... .................................................................การประเมนิ คุณคา่ ............................................................................................................................. .......................... - วพิ ากษภ์ ายนอก .................................................................................................................................. ..................... ............................................................................................................. ..........................................- วพิ ากษ์ภายใน ............................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................. ..........................การวเิ คราะห์ สังเคราะห์ และจัดหมวดหมขู่ ้อมูล - การวิเคราะหข์ ้อมลู ............................................................................................................................. .......................... ....................................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ..........................- การสังเคราะห์ขอ้ มลู ............................................................................................................................. .......................... ........................................................................................................ ............................................... ............................................................................................................................. ..........................- ก า ร จั ด ห ม ว ด ห มู่ ....................................................................................................................................................... ขอ้ มลู ............................................................................................................................. .......................... ............................................................................................................................. ..........................การนาเสนอข้อมูล............................................................................................................................. ............................................................................................................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................. ................................................................................................................................................................................................................................... ...............................................................................