Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 01 สังคมศึกษา ม.4 เฉลยกลางภาค 61

01 สังคมศึกษา ม.4 เฉลยกลางภาค 61

Description: 01 สังคมศึกษา ม.4 เฉลยกลางภาค 61

Search

Read the Text Version

ฉบบั เฉลย แบบทดสอบกลางภาคเรียน โรงเรียนราชประชานเุ คราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ แบบทดสอบรายวชิ าสงั คมศกึ ษาฯ รหัสวิชา ส 31101 ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 1.0 นก./นน. จานวน 20 คะแนน เวลาใช้สอบ 60 นาที ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2561 *************************************คาชี้แจง : 1. แบบทดสอบนี้มีวัตถุประสงค์เพ่ือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลางภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 ระดับช้ัน มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 ตามตัวชว้ี ดั ในรายวชิ าสงั คมศกึ ษา ศาสนาและวฒั นธรรม รหสั วชิ า ส 31101 ดงั นี้ มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม แลธํารงรักษาประเพณีและ วฒั นธรรมไทย ดาํ รงชีวิตอยู่รว่ มกนั ในสังคมไทย และสงั คมโลกอยา่ งสนั ตสิ ุข ส 2.1 ม.4-6/2 วิเคราะห์ความสาํ คัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสงั คม และ การเปลี่ยนแปลงทางสงั คม ส 2.1 ม.4-6/3 ปฏบิ ัติตนและมีสว่ นสนับสนนุ ให้ผ้อู ่ืนประพฤติปฏบิ ตั ิเพื่อเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก ส 2.1 ม.4-6/5 วิเคราะห์ความจําเป็นที่ต้องมีการปรับปรุงเปล่ียนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือกรับวัฒนธรรม สากล 2. ลักษณะแบบทดสอบ แบบทดสอบฉบับนม้ี ี 6 หนา้ แบง่ เปน็ 2 ตอน ตอนที่ 1 ส่วนท่ี 1 แบบปรนัย (เลือก 1 คาํ ตอบ) จาํ นวน 20 ขอ้ สว่ นที่ 2 แบบปรนยั (เลอื กตอบเชิงซ้อน) จาํ นวน 3 ขอ้ ส่วนที่ 3 แบบปรนัย (เลือกตอบกลุม่ สมั พันธ์) จาํ นวน 2 ขอ้ ตอนท่ี 2 แบบอตั นยั (เขียนตอบคาํ ตอบ) จํานวน 2 ข้อ รวมท้ังสิน้ 27 ขอ้ 3. เกณฑก์ ารให้คะแนน (คะแนนเตม็ 20 คะแนน) ตอนท่ี 1 สว่ นท่ี 1 แบบปรนัยเลือกตอบ 1 คําตอบ ขอ้ ละ 0.5 คะแนน รวม 10 คะแนน ส่วนที่ 2 แบบปรนยั เลือกตอบเชงิ ซ้อน ข้อละ 1 คะแนน รวม 3 คะแนน สว่ นท่ี 3 แบบปรนัยเลือกตอบแบบกลมุ่ สมั พันธ์ ข้อละ 1 คะแนน รวม 2 คะแนน ตอนที่ 2 แบบอัตนัย (เขยี นเตมิ คาํ ตอบ) ข้อละ 2.5 คะแนน รวม 5 คะแนน รวมทั้งสน้ิ 20 คะแนน 4. ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการสอบ 4.1 แตง่ กายด้วยชุดนักเรียนใหส้ ภุ าพเรยี บรอ้ ย ตามขอ้ บังคบั ของโรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 31 4.2 ห้ามนาํ หนังสอื /เอกสารเขา้ ไปในทน่ี ง่ั สอบ และหา้ มทําเคร่อื งหมายใด ๆ ลงแบบทดสอบที่แจกให้ 4.3 หา้ มนําเคร่ืองคดิ เลขเขา้ หอ้ งสอบ อนญุ าตใหน้ กั เรียนคิดเลขไดใ้ นดา้ นหลังของกระดาษคาํ ตอบ 4.4 หา้ มนักเรยี นนาํ ขอ้ สอบและกระดาษคําตอบออกหอ้ งสอบ จะตอ้ งส่งคนื กรรมการควบคุมห้องสอบเมือ่ สอบเสรจ็ 4.5 ห้ามนักเรียนส่งเสียงดังรบกวนผู้อื่น เม่ือมีข้อสงสัยหรือต้องการส่ิงใดให้ยกมือสอบถาม หรือขอความช่วยเหลือจาก กรรมการควบคมุ หอ้ งสอบ หากพบการทจุ ริตในการสอบในคร้ังนี้จะปรับตกรายวิชาน้ที ันที 4.6 ให้นักเรยี นดงึ กระดาษคาํ ตอบ แยกออกจากข้อสอบกอ่ นลงมือทาํ เพ่ือการจดั เก็บขอ้ สอบและกระดาษคาํ ตอบแยกจาก กนั ของกรรมการคุมสอบ

แบบทดสอบรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 หนา้ ท่ี : 2ตอนที่ 1 ส่วนที่ 1 แบบปรนัยเลือกตอบ ให้นักเรียนเลือกคําตอบที่ถูกต้องเพียงคําตอบเดียว โดยทําเครื่องหมายกากบาท (X) ในกระดาษคาํ ตอบหลงั แบบทดสอบ (จํานวน 20 ข้อ ขอ้ ละ 0.5 คะแนน ตอบถูกได้ 0.5 คะแนน ตอบผดิ ได้ 0 คะแนน รวม 10 คะแนน)1. ขอ้ ใดไม่ใช่องคป์ ระกอบของการจดั ระเบยี บสังคม (ส 2.1 ม.4-6/2 : เข้าใจ)ก. ฐานะทางสังคม ข. บทบาททางสงั คม ค. สถาบนั ทางสังคมง. สถานภาพทางสังคม จ. บรรทดั ฐานทางสังคม2. สถาบันใดมีหน้าที่หลกั ในการเป็นทพ่ี งึ่ ทางจติ ใจ โดยการนําหลักธรรมมาใช้ในการดําเนินชีวติ (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. สถาบนั นนั ทนาการ ข. สถาบนั ศาสนา ค. สถาบันการศึกษาง. สถาบันครอบครวั จ. สถาบนั ทางเศรษฐกจิ3. พนิ จิ ใส่ชดุ ดาํ ไปรว่ มงานศพของคนในหมู่บ้าน แสดงว่าพนิ จิ ปฏบิ ตั ิตามบรรทัดฐานสงั คมในข้อใด (ส 2.1 ม.4-6/2 : เข้าใจ)ก. จารีต ข. ประเพณี ค. วถิ ีประชา ง. กฎหมาย จ. ข้อบงั คับหมู่บา้ น4. วิทยามีลกู 2 คน ในทุก ๆ วัน เขาต้องส่งลกู ไปโรงเรยี น พาคณุ แมไ่ ปออกกําลังกาย และสง่ ภรรยาไปทาํ งานท่ีโรงพยาบาล กอ่ นทีจ่ ะไปสอนหนังสือทม่ี หาวิทยาลยั แหง่ หนึ่ง จากขอ้ ความน้ี ขอ้ ใดไม่ใชส่ ถานภาพของวินัย (ส 2.1 ม.4-6/2 : วิเคราะห)์ก. ลกู ข. พ่อ ค. สามี ง. อาจารย์ จ. นักศึกษา5. ประโยชน์ของบรรทัดฐานทางสงั คมคืออะไร (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. สังคมมคี วามเป็นระเบียบเรียบร้อย ข. สงั คมมคี วามก้าวหน้าทางเทคโนโลยีค. คนในสังคมไดพ้ ัฒนาศกั ยภาพอย่างเต็มท่ี ง. คนในสงั คมไดร้ บั การศึกษาอยา่ งเสมอภาคเทา่ เทียมกันจ. คนในสงั คมได้รบั การดแู ลอยา่ งทัว่ ถึงตามบรรทัดฐานของรฐั6. การขดั เกลาทางสงั คมมีความสาํ คัญอย่างไร (ส 2.1 ม.4-6/2 : เข้าใจ)ก. ชว่ ยลดปญ๎ หาการแบ่งชนช้ันของคนในสงั คม ข. ชว่ ยใหค้ นปรับตวั และปฏิบัตติ ามบรรทดั ฐานที่สังคมกาํ หนดค. ชว่ ยลดปญ๎ หาอาชญากรรมในทกุ ระดับชั้นของสังคม ง. ช่วยให้รัฐสามารถพฒั นาท้องถ่ินในภมู ภิ าค ไดอ้ ย่างเท่าเทยี มกนัจ. ชว่ ยลดความเหลือ่ มลํ้าของความเจรญิ ระหวา่ งชมุ ชนเมอื งและชมุ ชนชนบท7. ครูสอนใหน้ ักเรียนเป็นคนดี จดั เป็นการขัดเกลาทางสังคมหรือไม่ เพราะอะไร (ส 2.1 ม.4-6/2 : วิเคราะห)์ก. เป็น เพราะเปน็ การเรียนรู้ทเ่ี กดิ จากความเคยชนิ ข. ไมเ่ ปน็ เพราะวิธนี ้เี ปน็ การเรยี นรู้กนั ทางตรงเท่านัน้ค. เป็น เพราะเปน็ การปลูกจติ สาํ นึกในการเรียนร้เู ร่อื งพลเมืองโลก ง. ไมเ่ ปน็ เพราะไมไ่ ดเ้ ปน็ การพัฒนาคนจ. เปน็ เพราะเป็นการสอนใหค้ นเรยี นร้แู ละนาํ ไปปฏิบตั ิตาม8. ข้อใดเปน็ การขัดเกลาขนั้ ทตุ ิยภูมิ (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. แมส่ อนลูกทาํ อาหาร ข. พอ่ สอนลูกให้พดู คําสภุ าพ ค. พี่สอนน้องสร้างสวนดอกไม้ง. ครสู อนวชิ าสังคมศกึ ษาแก่นักเรยี น จ. แม่เกบ็ ของเขา้ ท่ีอย่างเรียบร้อยให้ลกู ดเู ป็นตวั อยา่ ง9. ครอบครวั ไทยในชนบทส่วนใหญ่มลี ักษณะอยา่ งไร (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. ครอบครวั เดี่ยว ข. ส่วนใหญ่ยกย่องให้ภรรยาเป็นหวั หน้าครอบครัวค. ครอบครวั ขยาย ง. ส่วนใหญ่จะอยู่กันเพยี งพอ่ แม่ ลูก มักไมม่ ีญาติคนอืน่ อย่รู วมกันจ. ครอบครัวใหญ่10. บรรทดั ฐานทางสังคมในข้อใดกําหนดบทลงโทษผทู้ ่ที าํ การละเมดิ ไวอ้ ยา่ งชัดเจน (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. จารตี ข. ประเพณี ค. วถิ ีประชา ง. กฎหมาย จ. ขอ้ บังคับหมู่บ้าน11. การลงแขกเกี่ยวข้าว ประเพณีทาํ ขวัญข้าว และประเพณีบญุ บง้ั ไฟ สะท้อนถงึ ลักษณะสังคมไทยในข้อใด (ส 2.1 ม.4-6/5 : เข้าใจ)ก. มีการแบง่ ชนช้นั ข. เป็นสังคมเกษตรกรรม ค. มีโครงสร้างแบบหลวม ๆง. คนสว่ นใหญน่ บั ถือพระพุทธศาสนา จ. คนไทยมีสทิ ธิเสรภี าพเทา่ เทียมกนั12. สงั คมไทยมีลกั ษณะดังต่อไปน้ียกเว้นขอ้ ใด (ส 2.1 ม.4-6/2 : เข้าใจ)ก. มีสทิ ธิเสรภี าพเท่าเทยี มกันภายใตก้ ฎหมาย ข. คนสว่ นใหญ่นับถอื พระพุทธศาสนาค. เคารพและเทิดทูนพระมหากษัตรยิ ์ ง. มีขนบธรรมเนียมประเพณที เ่ี ปน็ วถิ ีชีวิตรว่ มกันจ. มีการแบ่งชัน้ วรรณะไวต้ ายตวั ไม่สามารถเล่ือนช้ันวรรณะได้13. “หลงั จากเกิดเหตกุ ารณ์สนึ ามิ ทําใหห้ มู่บ้านบางหมบู่ ้านกลายเป็นหมู่บ้านรา้ ง” ข้อความนี้แสดงถงึ การเปลีย่ นแปลงทางสงั คมที่เกดิ ขึ้นจากปจ๎ จยั ใด (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. ปจ๎ จยั ครอบครวั ข. ป๎จจัยทางสังคม ค. ปจ๎ จัยทางเศรษฐกจิง. ป๎จจยั ทางธรรมชาติ จ. ป๎จจยั ทางวัฒนธรรม

แบบทดสอบรายวิชาประวัตศิ าสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ 4 หนา้ ที่ : 314. การที่แรงงานจากชนบทอพยพเข้ามาทาํ งานในเมือง แสดงถงึ การเปล่ยี นแปลงทางสังคมที่เกดิ ขน้ึ จากป๎จจัยใด (ส 2.1 ม.4-6/2 : เข้าใจ)ก. ปจ๎ จัยครอบครวั ข. ปจ๎ จยั ทางสังคม ค. ปจ๎ จยั ทางเศรษฐกิจง. ปจ๎ จัยทางธรรมชาติ จ. ป๎จจยั ทางวฒั นธรรม15. สิ่งใดทีแ่ สดงถึงการเปล่ยี นแปลงของสังคมไทยมากทีส่ ดุ (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. เคารพผู้อาวโุ ส ข. เปน็ คุณพ่อคุณแม่เลย้ี งเดย่ี วมากข้นึค. ยกย่องผชู้ ายเป็นหัวหนา้ ครอบครัว ง. กําลงั ก้าวเขา้ สู่สังคมของผสู้ ูงอายุจ. คนส่วนใหญน่ บั ถอื พระพทุ ธศาสนา16. การเปลี่ยนทางวัฒนธรรมและพฤตกิ รรมของสงั คมไทยทชี่ ัดเจนท่ีสุดคอื อะไร (ส 2.1 ม.4-6/5 : เข้าใจ)ก. เช่อื ในเรื่องบาป–บญุ ข. รกั ความสนกุ ค. เอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ง. การใชค้ ําทบั ศัพท์ จ. วิถีชีวติ ของคนในเมอื งกบั คนในชนบท17. บุคคลในข้อใดเป็นปญ๎ หาสงั คมท่สี ่งผลต่อสว่ นรวมมากท่สี ดุ (ส 2.1 ม.4-6/3 : วิเคราะห)์ก. เด็กชายเอกไปโรงเรียนสายทกุ วนั ข. กาํ นันน้อยปุวยเปน็ อสี ุกอีใส ทําให้ไปช่วยลกู บา้ นเกี่ยวขา้ วไมไ่ ด้ค. รถของนายเดน่ เสยี อยูใ่ นบ้าน ทําใหไ้ ปทํางานไมท่ ัน ง. วนิดาลอกการบ้านเพ่ือนระหว่างทาํ กจิ กรรมไตรรงค์จ. ผกู้ องเพลงิ ยังจับคนรา้ ยทต่ี ระเวนขโมยตดั สายไฟฟูาในหมบู่ ้านไม่ได้18. การนําผูต้ ้องขงั คดยี าเสพติดที่พน้ โทษแล้วมาเปน็ วทิ ยากรให้ความรู้เก่ยี วกบั โทษของการเสพยาเสพติดให้แก่นักเรียน เป็นการแก้ไขป๎ญหาทางสงั คมดว้ ยแนวทางใด (ส 2.1 ม.4-6/2 : วิเคราะห)์ก. การขัดเกลาทางสังคม ข. การให้โอกาสนักเรียน ค. การล้มลา้ งระบบสงั คมเดิมง. การวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จ. การให้ความชว่ ยเหลือแกผ่ ู้ประสบปญ๎ หา19. เม่ือสงั คมไทยต้องประสบกับปญ๎ หาการจ้างงานควรแกไ้ ขดว้ ยวธิ กี ารใด (ส 2.1 ม.4-6/2 : เขา้ ใจ)ก. เพ่ิมอตั ราดอกเบ้ียเงนิ กู้ ข. เพ่มิ อัตราภาษีมูลค่าเพิม่ ใหส้ งู ขึ้น ค. ลดจาํ นวนพนักงานราชการง. แจกสวัสดิการให้แกผ่ ู้ว่างงานอยา่ งเต็มที่ จ. สง่ เสริมและจดั ให้มกี ารพฒั นาฝมี อื แรงงาน20. หลัก 5 ส กับการสรา้ งสงั คมให้น่าอยูใ่ นขอ้ ใดกล่าวผิด (ส 2.1 ม.4-6/3 : เขา้ ใจ)ก. สะสาง คือ การแยกส่งิ ของทีจ่ าํ เป็นและไมจ่ ําเปน็ ใหเ้ ป็นระเบียบข. สะดวก คอื การจัดวางสิ่งของต่างๆทีไ่ มจ่ ําเป็นให้เป็นระเบียบค. สะอาด คอื การป๎ดกวาดเช็ดถูสถานทแี่ ละอปุ กรณอ์ ยา่ งสมํา่ เสมอง. สขุ ลักษณะ คอื การจดั สภาวะสง่ิ แวดลอ้ มให้เรยี บรอ้ ยจ. สรา้ งนิสัย คือ การรกั ษาหลักการในขา้ งตน้ จนเกิดเป็นนสิ ัยสาํ หรับตนเองตอนที่ 1 ส่วนที่ 2 แบบปรนัยเลือกตอบเชิงซ้อน โดยคําถามชุดน้ีมีคําถามย่อยรวมอยู่ในข้อเดียวกัน ซึ่งเกี่ยวกับเรื่อง/ สถานการณท์ ีอ่ า่ น (จาํ นวน 3 ข้อ ขอ้ ละ 1 คะแนน * ต้องถกู ทงั้ 4 ข้อย่อย จงึ จะได้ 1 คะแนน)ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความท่ีให้แลว้ ตอบคาถามข้อ 21 วัฒนธรรมไทยมีเอกลักษณ์เฉพาะและเป็นระเบียบแบบแผน ชี้นําแนวทางการดํารงชีวิต การประพฤติและปฏิบัติตนในสังคมมาอย่างยาวนาน แต่สังคมไทยไม่ได้หยุดนิ่ง ยังคงมีการเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา อันเป็นป๎จจัยภายใน อาทิ การเปลี่ยนแปลงของจํานวนประชากรสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ เปน็ ตน้ และป๎จจัยภายนอก อาทิ การหยิบยมื แลกเปลย่ี นวฒั นธรรมจากสงั คมอนื่ ๆ เปน็ ตน้21. จากข้อความทอ่ี ่านเก่ียวกับวฒั นธรรมไทย ให้นักเรยี นระบุวา่ ขอ้ ความท่ีอ่านกล่าวถกู ต้องหรอื ไม่ถกู ต้อง (ตอ้ งตอบถกู ทัง้ 4 ข้อยอ่ ยจึงจะได้1 คะแนน) (ส 2.1 ม.4-6/5 : วเิ คราะห์) ข้อ ข้อความ ใช่ ไมใ่ ช่21.1 หม่บู ้านราชประชาววิ เลท มเี ด็กเกิดใหม่ ปลี ะ 5 คน ลดนอ้ ยลงจากปกี อ่ น ข้อความทก่ี ล่าวมาคอื ปจ๎ จัยภายใน /21.2 แผนการพฒั นาเศรษฐกจิ และสงั คมช่วยใหเ้ กดิ การปรับปรุงเปลย่ี นแปลงทางวฒั นธรรมอยา่ งเห็นได้ชดั21.3 การแลกเปล่ยี นวฒั นธรรม คอื หนึ่งในการเปล่ยี นแปลงทางวัฒนธรรมที่ในยุคป๎จจบุ ันใชก้ ันอยา่ งแพร่หลาย /21.4 “ปาู ครบั ขอบะหมีเ่ ก๊ยี วชามนงึ ครบั ” จากประโยคดงั กล่าว คาํ วา่ บะหมีเ่ กย๊ี ว คอื ผลของการหยบิ ยมื วัฒนธรรม / /

แบบทดสอบรายวิชาประวัตศิ าสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ี่ 4 หนา้ ที่ : 4ใหน้ กั เรียนอา่ นข้อความทีใ่ ห้แลว้ ตอบคาถามขอ้ 22 อิทธพิ ลของวัฒนธรรมภายนอกทม่ี ีอิทธิพลตอ่ วัฒนธรรมไทย วฒั นธรรมภายนอก ถา้ ไมน่ บั ของประเทศเพ่ือนบา้ นแล้ว วัฒนธรรมแรกทเ่ี ขา้ มามีอิทธิพลตอ่ สังคมไทย คือ วัฒนธรรมอินเดีย ท่ีมีอิทธิพลมาก ท้ังทางด้านศาสนา ภาษา ศิลปกรรม การเมอื งการปกครอง และประเพณตี า่ งๆ ต่อมาในสมัยสุโขทยั ไทยได้มีการตดิ ต่อสรา้ งความสัมพนั ธ์และการคา้ กับประเทศจีน จงึ ไดร้ ับเอาวัฒนธรรมจีนเขา้ มาด้วย22. จากข้อความท่ีอ่านเกี่ยวกับอิทธิพลของวัฒนธรรมภายนอกท่ีมีต่อวัฒนธรรมไทย ให้นักเรียนระบุว่าข้อความที่อ่านกล่าวถูกต้องหรือไม่ถูกตอ้ ง (ต้องตอบถกู ทงั้ 4 ข้อย่อยจงึ จะได้ 1 คะแนน) (ส 2.1 ม.4-6/5 : วิเคราะห)์ ข้อ ข้อความ ใช่ ไมใ่ ช่22.1 พระราชพธิ ีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ คือพระราชพิธขี องไทยทไ่ี ดร้ บั อทิ ธิพลมาจากวัฒนธรรมอินเดยี /22.2 รามายณะ และไซอ๋วิ คอื วรรณกรรมที่ไดร้ บั อิทธพิ ลมาจากวัฒนธรรมจนี22.3 เครื่องสงั คโลก และถว้ ยชามเบญจรงค์ คอื เครื่องใชท้ ีไ่ ดร้ ับอทิ ธิพลมาจากวัฒนธรรมอนิ เดยี /22.4 ผดั ซอี ว๋ิ ซาลาเปา และขา้ วต้มกุย๊ คืออาหารท่ไี ทยได้รับอิทธิพลมาจากวัฒนธรรมจีน / /ใหน้ ักเรยี นอา่ นขอ้ ความที่ให้แล้วตอบคาถามข้อ 23 พลเมืองดีต้องเป็นผู้มีจิตสาธารณะ หมายถึง มีจิตท่ีคิดสร้างสรรค์ คิดในทางท่ีดี ไม่ทําลายบุคคล สังคม วัฒนธรรม ประเทศชาติ และสิ่งแวดลอ้ ม รวมทัง้ มงุ่ ทีจ่ ะทําในสิ่งทีด่ ีและเปน็ ประโยชน์ต่อสว่ นรวม โดยไมม่ ีผู้ใดบงั คับ23. จากข้อความที่อ่านเกี่ยวกับพลเมืองดีต้องมีจิตสาธารณะ ให้นักเรียนระบุว่าข้อความท่ีอ่านกล่าวถึงประโยชน์ของการมีจิตสาธารณะในเยาวชนได้ถกู ตอ้ งหรอื ไมถ่ กู ต้อง (ต้องตอบถูกทัง้ 4 ข้อย่อยจงึ จะได้ 1 คะแนน) (ส 2.1 ม.4-6/3 : วิเคราะห)์ ขอ้ ขอ้ ความ ใช่ ไมใ่ ช่23.1 เปน็ เด็กทม่ี คี วามคิดในทางที่ดตี อ่ คนอ่ืน และมีโอกาสประสบความสาํ เร็จมากกวา่ คนอ่นื /23.2 จะไดร้ ับความรัก ความเมตตา กรณุ า จากผอู้ นื่ /23.3 มกั จะรอ้ งขอการแบ่งปน๎ จากผอู้ ื่นรอบข้าง /23.4 เปน็ คนทีส่ ามารถอยรู่ ่วมกบั ผู้อ่นื ได้งา่ ยอย่างเปน็ ที่รกั ใครข่ องคนรอบขา้ ง และมกั จะไดร้ บั ความช่วยเหลือจากบุคคล / รอบข้างเมอื่ ตนเองเดือดรอ้ นตอนท่ี 1 ส่วนท่ี 3 แบบปรนัยเลือกตอบกลุ่มคาตอบสัมพันธ์ โดยคําถามชุดนี้มีคําถามมากกว่า 1 ข้อ ที่มีเง่ือนไขให้คิด และสมั พันธ์ตอ่ เนือ่ งกนัให้นักเรียนอ่านข้อความดังต่อไปนแี้ ลว้ ตอบคาถามขอ้ 24 พลเมือง คือ ประชาชน,ราษฎร ดังนั้น พลเมืองดี แปลตามคําอย่างตรงไม่ตรงมา คือ ประชาชนที่ดี สังเกตให้ดีจะเห็นได้ว่า คําว่าพลเมืองและพลเมืองดีน้ัน มีความแตกต่างกัน นั้นหมายความว่า ประชาชนทุกคนไม่ได้เป็นพลเมืองดีท้ังหมด แต่ประชาชนทุกคนสามารถเปลยี่ นแปลงตนเองได้ โดยปฏิบัติตนตามคุณลกั ษณะของพลเมอื งดี จากข้อความดังกล่าวข้างตน้ ใครปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมอื งดี (A) และปฏิบัติตนตามคุณลักษณะของพลเมืองดีอยา่ งไร (B) และข้อใดคือการทาํ ประโยชน์ต่อส่วนรวมโดยไมม่ ีผู้ใดบงั คับ (C) (ส 2.1 ม.4-6/3 : เขา้ ใจ)A คาตอบ B คาตอบ C คาตอบ1 ออมสินพาคุณยายข้ามถนนโดยทางม้า 1 เปน็ บุคคลทเ่ี คารพกฎหมาย 1 นิลาไปช่วยซักผ้าให้หน่วยซีลเพื่อจะได้ ลาย เพราะเหน็ คุณยายไมก่ ล้าข้ามถนน แอบถา่ ยรูปลงเฟสบ๊คุ2 ออมรักมองโลกในแงด่ ี แม้จะมคี นลอ้ ปม 2 เป็นบคุ คลท่มี ีเหตผุ ล และใจกวา้ ง 2 นิดาตามเพอื่ นๆไปชว่ ยแจกอาหารให้แก่ ดอ้ ย เธอก็ไมโ่ กรธ ปล่อยวาง เจ้าหนา้ ที่ท่ปี ฏบิ ัติหน้าทใ่ี นถาํ้ หลวง3 ออมเงินแอบปีนต้นมะขามของเพื่อน 3 เป็นบุคคลท่ีมีความรับผิดชอบต่อ 3 นินาขออนุญาตคุณแม่ไปช่วยเก็บขยะ บา้ น ขโมยเดด็ มะขามไปได้หลายกโิ ล ตนเอง บริเวณถํา้ หลวง24. จากตารางสามารถจัดกลมุ่ ความสมั พนั ธ์ทถี่ ูกต้องตามกลุ่ม A B และ C ไดต้ ามข้อใด ก. 1, 2, 1 ข. 2, 3, 2 ค. 3, 1, 3 ง. 1, 1, 3 จ. 2, 2, 1

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 หนา้ ที่ : 5ใหน้ กั เรียนอ่านขอ้ ความดังต่อไปนีแ้ ล้วตอบคาถามข้อ 25 วัฒนธรรมไทย เป็นแบบแผนของการดําเนินชีวิตของคนไทย มีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะอย่างหลากหลายตามแต่ละท้องถิ่นของตน ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพภูมศิ าสตรแ์ ละกลุ่มชาติพนั ธุท์ ีอ่ าศยั อยู่รวมกันเป็นชนชาติไทย จากข้อความข้างต้น วัฒนธรรมเกิดจากอะไรมากท่ีสุด (A) วัฒนธรรมมีส่วนเก่ียวข้องอย่างไรต่อสังคม (B) และใครปฏิบัติตนตามแบบอย่างของวฒั นธรรมไทยไดอ้ ย่างเหมาะสมทส่ี ดุ (C) (ส 2.1 ม.4-6/5 : วเิ คราะห)์A คาตอบ B คาตอบ C คาตอบ1 การดํารงชวี ิตของมนษุ ย์ 1 ส่ ง เ ส ริ ม ใ ห้ สั ง ค ม มี ก า ร รั บ แ ล ะ 1 ก้านกล้วยแต่งชุดราตรีสีขาวอมชมพูไป แลกเปลีย่ นเรียนรู้กันและกันอยู่เสมอ ร่วมงานฌาปนกจิ ของบิดาเพอ่ื น2 การแสดงความคิดของกล่มุ บคุ คล 2 หล่อหลอมบุคลกิ ภาพให้กบั สมาชิกของ 2 ลิลิซเดินผ่านพระสงฆ์โดยไม่ระมัดระวัง สงั คม ทาํ ใหช้ ายกระโปรงโดนจีวรพระสงฆ์3 การเรยี นรแู้ ละพฒั นาผลสัมฤทธิ์ 3 เปลี่ยนแปลงสภาพความเป็นอยู่ของ 3 มานสี วสั ดแี ละกลา่ วขอบคุณคุณพ่อของ สมาชกิ ในสงั คมอยา่ งต่อเนือ่ ง มานะทม่ี าเยย่ี มตนเองถึงโรงพยาบาล25. จากตารางสามารถจัดกลมุ่ ความสัมพนั ธ์ที่ถูกตอ้ งตามกลุ่ม A และ B ไดต้ ามขอ้ ใด ก. 1, 2, 3 ข. 2, 3, 2 ค. 3, 1, 3 ง. 1, 1, 2 จ. 1, 2, 1 ************************************************************** (นางสาวศริ ิมา เมฆป๎จฉาพิชิต) (นายนกิ ร ไชยบตุ ร) ผสู้ อน/ผู้แต่งข้อสอบ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ สังคมศึกษา (นายเสรี แซ่จาง) (นางสาวศิริมา เมฆป๎จฉาพชิ ิต) (นายวิเศษ ฟองตา) รองผูอ้ ํานวยการฝาุ ยวชิ าการงานวดั ผลระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย หวั หนา้ งานวดั และประเมนิ ผล กระดาษคาตอบ วิชาประวัติศาสตร์ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4รวมคะแนนสอบ........./20(เฉพาะครผู ู้สอนกรอก) ชอ่ื -สกุล ...................................................................... ช้ัน ม.4/...... เลขที่ ......ตอนที่ 1 ส่วนที่ 1 แบบปรนัยเลอื ก 1 คาํ ตอบ จาํ นวน 20 ขอ้ (ข้อละ 0.5 คะแนน)ข้อ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 19 20กX X XXข XX X X Xค XXง XX XXจ X X X XXตอนท่ี 1 ส่วนที่ 2 แบบปรนัยเลอื กตอบเชงิ ซ้อน จํานวน 3 ขอ้ (ข้อละ 1 คะแนน ต่อเม่อื ตอบถูกทัง้ 4 ข้อยอ่ ย)ข้อท่ี ใช่ ไม่ใช่ ข้อที่ ใช่ ไม่ใช่ ข้อที่ ใช่ ไม่ใช่21.1 / 22.1 / 23.1 /21.2 / 22.2 / 23.2 /21.3 / 22.3 / 23.3 /21.4 / 22.4 / 23.4 /

แบบทดสอบรายวิชาประวัตศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 หนา้ ท่ี : 6ตอนที่ 1 สว่ นที่ 3 แบบปรนัยเลอื กตอบกลุ่มสัมพนั ธ์ จํานวน 2 ขอ้ (ขอ้ ละ 1 คะแนน)ขอ้ ก ข ค ง จ ขอ้ ก ข ค ง จ24 X 25 Xตอนที่ 2 แบบอัตนัย (เขียนตอบ) จาํ นวน 2 ขอ้ (ขอ้ ละ 2.5 คะแนน)26. ให้นักเรียนบอกวัฒนธรรมไทยดั้งเดิมที่มีการเปลี่ยนแปลงโดยการหลอมรวมแลกเปลี่ยนกับวัฒนธรรมสากลมา 1 ชนิดโดยอธิบายดว้ ยว่าวฒั นธรรมด้ังเดมิ นั้นเป็นอย่างไร วัฒนธรรมท่ีผ่านการหล่อหลอมแล้วเป็นอย่างไร นักเรียนคิดว่าวัฒนธรรมท่ีผา่ นการหลอ่ หลอมแล้วน้ันดีหรือไม่ เพราะเหตุใด และหากนักเรียนคิดว่าไม่เหมาะสม นักเรียนจะมีแนวทางอย่างไรในการฟ้ืนฟูวัฒนธรรมดงั้ เดมิ (ส 2.1 ม.4-6/2 : วเิ คราะห์)คาตอบ วฒั นธรรมไทยมลี ักษณะและความสาํ คญั ท่สี ะท้อนคา่ นยิ ม ดงั นี้ 1. สร้างความรักและความผูกพันในครอบครัว ตัวอย่างเช่น วันสงกรานต์ซ่ึงเป็นวันข้ึนปีใหม่ของไทยในอดีตน้ันความรักและความผูกพันจะแสดงออกมาโดยบิดามารดาและญาติผู้ใหญ่จะจัดเส้ือผ้าชุดใหม่ให้แก่บุตรธิดา พร้อมเคร่อื งประดับตามฐานะเพื่อไปทําบุญ ขณะที่บุตรธิดาจะจัดเส้ือผ้าให้บิดามารดาและญาติผู้ใหญ่ได้สวมใส่หลังพิธีรดนํ้าดําหัวส่วนในป๎จจุบนั คนไทยจะกลับบ้านเพ่อื รดนํา้ และขอพรจากบดิ ามารดา และญาติผใู้ หญ่เพ่ือความเป็นสิริมงคลตอ่ ชวี ิต 2. ความเคารพกตัญํูต่อผู้ใหญ่ และผู้มีพระคุณ วิถีชีวิตไทยถือเอาความกตัญํูต่อผู้ใหญ่ และผู้มีพระคุณเป็นส่ิงสําคัญสูงสุด การตอบแทนพระคุณจะแสดงออกมาได้หลายรูปแบบ เช่น การบรรพชาอุปสมบทของชายไทยเพื่อตอบแทนพระคณุ บดิ ามารดาท่ไี ดเ้ ลี้ยงดูอมุ้ ชมู าแตเ่ ล็กจนโต หรือการระลึกถึงพระคุณของบรรพบุรุษในวันสารทไทย โดยจัดพิธีบังสุกุลเพอ่ื อทุ ิศส่วนกุศลให้แกผ่ ู้มีพระคุณที่ลว่ งลบั ไป 3. ความศรัทธาในการทําบุญให้ทาน ในวันสําคัญทางศาสนา เช่น วันมาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาสาฬหบูชาเป็นต้น คนไทยแต่ละครอบครัวจะเตรียมของสาํ หรับทําบุญตักบาตรดว้ ยจติ ใจศรทั ธา นอกจากนก้ี ารทําบุญยังเป็นสิ่งที่คนไทยถือปฏิบัตกิ ่อนการเร่ิมงานประเพณตี า่ งๆ เช่นวันสงกรานต์ วันลอยกระทง วันเข้าพรรษา ฯลฯ ความศรัทธาในการทําบุญ ยังจะเห็นได้จากการจัดให้มีการทอดกฐิน การทอดผ้าปุาเพ่ือให้พระสงฆ์ในพระพุทธศาสนาได้มีส่ิงของเครื่องใช้อันจําเป็นเพื่อการปฏบิ ตั ิธรรม ด้วยศรัทธาในการทาํ บุญนเี้ องท่ที ําใหส้ ามารถสืบตอ่ อายพุ ระพุทธศาสนามาจนถึงป๎จจุบนั 4. เอกลักษณ์ทางศิลปกรรม ซ่ึงจะแสดงออกมาทั้งในด้านสถาป๎ตยกรรม เช่น การสร้างวัด บ้านเรือนด้านจติ รกรรม เช่น การวาดภาพฝาผนงั ด้านวรรณกรรม เชน่ ไตรภูมพิ ระร่วง เป็นตน้ 5. การสรา้ งความสามัคคใี นชมุ ชน ตัวอยา่ งท่เี หน็ ได้ คอื ในวนั เขา้ พรรษา ชาวบ้านจะไปช่วยกันก่อเจดีย์ทราย ซ่ึงนอกจากเปน็ การทาํ บุญแลว้ ยงั แสดงใหเ้ ห็นถึงพลงั ของชมุ ชน ในการที่จะทํานุบาํ รงุ วัดในหม่บู า้ นของตนให้เจริญย่ิงข้ึนอีกด้วยหรอื ในวันสงกรานต์ สมาชิกในครอบครัวจะร่วมกนั ทําความสะอาดบ้านเรือนและสิ่งของเครอื่ งใช้เพ่ือต้อนรับวันปีใหม่ หรือในวันสําคัญทางศาสนา ชาวบ้านจะรว่ มมอื กนั จัดเตรยี มส่งิ ของสาํ หรับไปทาํ บญุ 6. เอกลักษณ์ทางภาษา ชาติไทยมีภาษาเป็นของตนเอง ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีเอกลักษณ์โดดเด่น การใช้ภาษาไทยของคนไทย มีเอกลักษณ์สําคัญคือ การเป็นคน เจ้าบทเจ้ากลอน ซึ่งจะพบได้ในการละเล่นท่ัวไป เช่น ลําตัดมโนราห์ เป็นต้น การใช้ภาษาในงานน้ี จะมีการใช้ถ้อยคําท่ีลึกซ้ึงกินใจ มีความหมาย และยังแฝงไปด้วยไหวพริบปฏิภาณในการคิดคําโต้ตอบอกี ด้วย 7. ความยับยั้งใจและความมีระเบียบวินัย ตัวอย่างเช่น การผิดผี หมายถึง การต้องปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ที่บรรพบุรุษได้ถ่ายทอดมา การละเมิดกฎเกณฑ์นั้นถือว่าผิดผี ซ่ึงต้องมีการขอขมาและมีการลงโทษโดยผู้สูงอายุที่เป็นตัวแทนของบรรพบรุ ุษเป็นผแู้ นะนํา ตกั เตอื นและดําเนินการ เช่น หน่มุ สาวทย่ี ังไม่ไดแ้ ต่งงานกนั อยา่ งถูกตอ้ ง ห้ามถูกเนื้อต้องตัวกัน ซึ่งส่ิง

แบบทดสอบรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 4 หนา้ ท่ี : 7นี้เป็นการสร้างวนิ ยั และการยับย้งั ชั่งใจเพ่ือปอู งกนั ไม่ให้มกี ารกระทําเกินกว่าสมควร ถ้าใครประพฤติผิดถือว่า ผิดผี ต้องมีการลงโทษโดยการ เสียผี คือมกี ารชดใชก้ ารกระทําความผิดนน้ั อย่างไรก็ตามวฒั นธรรมไทยดงั กลา่ วข้างต้น กําลงั จะถูกลบเลือนไปในสภาพป๎จจุบัน สุนทรียภาพอันเกิดจากภาษาและดนตรีที่ไพเราะเพราะพริ้งด้วยท่วงทํานองได้ถูกแทนท่ีด้วยบทเพลงสมัยใหม่จากต่างชาติในวันสงกรานต์ พฤติกรรมที่แสดงออกให้เห็นถึงความเอื้ออาทร ความห่วงใย และความปรารถนาดีท่ีจะมีให้แก่ผู้อ่ืน ความสุ๘จากการประพรมนํ้า ถูกแทนทด่ี ว้ ยบคุ คลบางกลมุ่ ไมส่ นใจในความเจบ็ ปวดและอบุ ตั เิ หตทุ ่เี กิดข้ึน ในวันไหว้ครกู จิ กรรมหลายอย่างได้ถูกยกเลิกไป พิธีอันเคยสง่างามถกู กระทาํ แบบง่ายๆใหเ้ สร็จสน้ิ โดยเรว็ ถึงแม้ว่าจะเป็นไปได้ยากที่เราจะเรียกร้องให้นําเอาวัฒนธรรมไทยอันดีงามทั้งหมดในอดีตกลับคืนมาสู่ยุคป๎จจุบันแตถ่ ้าคนไทยได้ตระหนักถึงคุณค่าและดัดแปลงให้เหมาะกับยุคสมัย ก็เท่ากับว่าเราเป็นผู้หนึ่งที่ได้จรรโลงวัฒนธรรมอันดีงามใหค้ งอยคู่ ู่กับสังคมไทยสบื ไปวัฒนธรรมไทยท่มี ีมาแต่อดีตของสังคมไทยทค่ี วรเปลี่ยนแปลง 1. การทํางาน คนไทยมกั ทํางานจับจด ชอบทาํ งานสบายทไี่ ด้เงินดโี ดยไมต่ ้องเปลืองแรง มักโทษโชคชะตาท่ีไม่เข้าข้างตน ไม่มีระเบยี บวนิ ัย สิ่งทีจ่ ะตอ้ งสรา้ งใหเ้ กิดขึ้น คือ a. ความขยันและอดทน ทํางานหนักและพง่ึ ตนเอง พื้นฐานของความสําเร็จของชีวิตและสังคมจะขึ้นอยู่กับ ความขยันและอดทนของแต่ละคนเป็นสําคัญ ในระบบการศึกษาของชาติท่ีพัฒนา เช่น ยุโรป สหรัฐอเมริกา และญี่ปุน ได้สอนให้คนในชาติขยัน อดทน ทํางานหนัก มาต้ังแต่เล็ก นักเรียนต้องศึกษา อย่างจริงจงั ต้องใช้เวลากับวิชาต่างๆอย่างมากพอ ต้องอดทนต่อการเรียนอย่างเต็มท่ี ดังนั้นความสําเร็จ ในการศึกษาของนกั เรียนของชาติที่พฒั นาจึงข้ึนอยู่กับความขยัน การอดทนและการทํางานหนักของเด็ก และส่งิ นจี้ ะถกู ปลูกฝง๎ และสะสมไปจนกระทง่ั เตบิ โตเป็นผ้ใู หญ่ เมื่อคนในชาติเหลา่ นี้มีคุณภาพสูงมาต้ังแต่ ต้น พวกเขาก็จะกลายเป็นกลไกสําคัญที่จะผลักดันให้ชาติของเขาเจริญก้าวหน้าและมีพัฒนาการดีขึ้น ตลอดเวลา b. การมีระเบียบวินัย ในสถาบันการศึกษาต้องสอนให้เด็กปฏิบัติตามระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด ตั้งใจ เรยี น แตง่ กายถกู ระเบยี บ ไมค่ ยุ กนั หรือใช้โทรศัพท์เคลือ่ นทีข่ ณะอยูใ่ นห้องเรียน ซึ่งผลที่เกิดขึ้นก็คือ เด็ก จะกลายเป็นผ้ใู หญ่ท่มี ีระเบียบวินัย ทาํ ตามกฎเกณฑ์และกตกิ าต่างๆของสังคมไดอ้ ย่างถูกตอ้ ง 2. ความเป็นระบบและบูรณาการ สังคมไทยจะสอนให้คนมองแบบแยกส่วน ไม่เชื่อมต่อกัน ไม่นิยมการทํางานร่วมกันเป็นกลมุ่ สงิ่ ที่ควรปรับเปลี่ยนคือ การมองส่ิงต่างๆ ให้มีความสัมพันธ์เชื่อมโยงกัน เช่น การเรียนรู้ของนักเรียนไม่ควรจาํ กดั อยเู่ พยี งแตว่ ิชาการในหอ้ งเรียนเท่านนั้ ส่ิงอ่ืนๆที่ไม่ใช่วิชาการโดยตรง เชน่ ศลิ ปะ ดนตรี พลศึกษา การทํางานบ้าน การบําเพญ็ ประโยชน์ การทํางานร่วมกบั ชาวบา้ น ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อม ฯลฯ ควรจะนํามาเชอื่ มโยงและช้ีให้เห็นถึงความสําคัญ ท่ีเท่าเทียมกันกับวิชาในชั้นเรียน กล่าวคือ ในกระบวนการเรียนการสอน นักเรียนจะต้องถูกเข้มงวดในเร่ืองวิชาการ แต่ในในขณะเดียวกัน นักเรียนจะต้องเคร่งครัดในเรื่องการทํากิจกรรมในโรงเรียน สอนให้รักธรรมชาติ สอนให้ช่วยพอ่ แมท่ ํางานบา้ น อบรมการเข้ากลุ่ม และการเปน็ เพอื่ นท่ีดตี อ่ กนั 3. ระบบอุปถัมภ์ ความสัมพันธ์ในลักษณะของการอุปถัมภ์คํ้าจุนกันระหว่างบุคคลในสังคมไทยถือเป็นวัฒนธ รรมท่ีหย่ังรากฝ๎งลึกกันมานาน การคัดเลือกบุคคลเข้าทํางานมักแต่งต้ังจากผู้ท่ีอยู่ใกล้ชิดหรือคนท่ีโปรดปรานเป็นพิเศษ โดยไม่คาํ นงึ ถึงความรู้ความสามารถของบคุ คลเป็นเกณฑ์ มกี ารแลกเปล่ียนผลประโยชนซ์ ึ่งกันและกันด้วยเหตุน้ีจึงทําให้มีการพัฒนาประเทศไทยไม่ก้าวไปข้างหน้าเท่าที่ควร ดังนั้นจึงควรมีการเปล่ียนแปลงวัฒนธรรมระบบอุปถัมภ์ให้เป็นระบบคุณธรรมดังเช่นที่มีการใช้กันอยู่ทั่วไปในประเทศพัฒนา ได้แก่ ยึดถือความรู้ความสามารถเป็นเกณฑ์ในการคัดเลือกบุคคล ปฏิบัติต่อบุคคลอย่างเสมอหน้ากันโดยใช้ระเบียบและมาตรฐานเดียวกัน เปิดโอกาสให้ทุกคนอย่างเท่าเทียมกัน ยึดม่ันในเส้นทางที่ถูกตอ้ งและเป็นประโยชนต์ อ่ สว่ นรวม

แบบทดสอบรายวิชาประวัตศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 หน้าท่ี : 8 4. การฉอ้ ราษฎรบ์ งั หลวง ในสังคมไทยการฉ้อราษฎร์บงั หลวงเปน็ ปญ๎ หาที่เร้ือรังมานาน ซ่ึงเป็นพฤติกรรมที่ทราบกันโดยทั่วไป เช่น การจ่ายสินบนเพ่ือให้ได้การผูกขาดกิจการบางประเภท การยักยอกเงินค่าธ รรมเนียมโดยไม่นําเงินส่งหน่วยงาน การรับเงินค่านายหน้า เมื่อมีการจัดซ้ือของในหน่วยงาน การสมยอมกันในการจัดซื้อจัดจ้าง หรือสิทธิในการดาํ เนินการเพอ่ื จัดหาสนิ คา้ และบริการสาธารณะ อันทําให้มิได้มีการแข่งขันกันเสนอประโยชน์สูงสุดแก่หน่วยงานของรัฐ และประเทศชาตอิ ยา่ งแทจ้ ริง ฯลฯ การฉ้อราษฎร์บังหลวงไม่เคยสร้างคุณค่าหรือประโยชน์ให้แก่สังคม แต่กลับทําลายศีลธรรมและจริยธรรมของชุมชน ทําให้การจัดสรรและการใช้งบประมาณขาดประสิทธิภาพ ทรัพยากรซึ่งควรจะนําไปใช้สร้างบริการสาธารณสุขที่ดีบริการการศกึ ษาทีด่ ี บรกิ ารสาธารณูปโภคทด่ี ี ฯลฯ กลับต้องไปตกอยู่ในมือของบุคคลจํานวนน้อย ซึ่งจะหมายถึงการสูญเสียโอกาสที่ดีสําหรับการพัฒนาประเทศ ดังนั้นสิ่งที่ควรสร้างขึ้นคือ การสร้างและปลูกฝ๎งจิตสํานึกท่ีดีให้เกิดข้ึนแก่คนไทยตั้งแต่เด็ก รณรงค์ให้ประชาชนไดต้ ระหนักถึงภัยของ การฉอ้ ราษฎรบ์ ังหลวง สรา้ งช่องทางการมสี ่วนร่วมของประชาชนเพื่อการแจ้งเบาะแสและร้องเรียนเกี่ยวกับ การฉ้อราษฎร์บังหลวง และมีมาตรการตรวจสอบและลงโทษผู้กระทําผิดอย่างเข้มงวด แม้ว่าจะเป็นนกั การเมอื งและขา้ ราชการระดับสูงกต็ ามแนวทางการอนรุ ักษว์ ฒั นธรรมไทย รัฐธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทยพทุ ธศกั ราช 2550 ได้ให้ความสัมพันธ์ในประเด็นของการอนุรักษ์วัฒนธรรมไว้เชน่ เดียวกนั คือ 1. บุคคลซึ่งรวมกันเป็นชุมชนท้องถิ่นด้ังเดิมย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิป๎ญญาท้องถิ่นศิลปะ หรือวัฒนธรรมอันดีของท้องถ่ินและของชาติ และมีส่วนร่วมในการจัดการ การบํารุงรักษา และการใช้ ประโยชนจ์ ากทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและย่งั ยืน 2. .บุคคลมหี น้าทป่ี ูองกันประเทศ รบั ราชการทหาร เสียภาษีอากร ช่วยเหลือราชการ รับการศึกษาอบรมพิทักษ์ ปกปูอง และสืบสานศิลปวัฒนธรรมของชาติและภูมิป๎ญญาท้องถิ่น อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ สง่ิ แวดลอ้ ม ทงั้ น้ี ตามท่กี ฎหมายบญั ญัติ 3. รัฐตอ้ งจัดการศกึ ษาอบรมและสนับสนนุ ให้เอกชนจัดการศึกษาอบรมใหเ้ กดิ ความรคู้ ู่คุณธรรม จัดให้มีกฎหมาย เก่ียวกับการศึกษาแห่งชาติ ปรับปรุงการศึกษาให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคม สร้างเสริมความรู้และปลูกฝ๎งจิตสํานึกท่ีถูกต้องเก่ียวกับการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข สนับสนุนการค้นคว้าวิจัยในศิลปะวิทยาการต่างๆเร่งรัดพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาประเทศ พัฒนาวิชาชีพครู และส่งเสริมภูมิป๎ญญาท้องถ่ิน ศิลปะ และ วฒั นธรรมของชาติ 4. องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินย่อมมีหน้าท่ีบํารุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิป๎ญญาท้องถ่ิน หรือวัฒนธรรม อันดีของท้องถิ่น องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินย่อมมีสิทธิท่ีจะจัดการศึกษาอบรม และการฝึกอาชีพตามความ เหมาะสมและความต้องการภายในท้องถ่ินและเข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาอบรมของรัฐ ซึ่งการจัด การศกึ ษาอบรมภายในท้องถ่ินน้ี องคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ต้องคาํ นึงถงึ การบาํ รงุ รักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูป๎ญญาท้องถ่นิ ด้วย 5. เผยแพร่วฒั นธรรมและภูมปิ ๎ญญาไทยของทกุ ท้องถิ่นไปให้ประชาชนไทยท้ังประเทศได้รับรู้กันอย่างกว้างขวาง ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนเข้าใจ เห็นคุณค่าและยอมรับวัฒนธรรมของท้องถิ่นซึ่งกันและกันอันจะนําไปสู่ความรัก และหวงแหนในวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขของกลุ่มชนทุกหมู่เหล่าภายใน ชาติ 6. สนับสนนุ ส่งเสรมิ ใหม้ ีการแลกเปล่ยี นวฒั นธรรมและภูมิป๎ญญาไทยกับต่างประเทศ เพ่ือเสริมสร้างความเข้าใจ อนั ดีระหว่างชาติ

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 4 หน้าที่ : 9 7. วางมาตรการให้หน่วยงานของรัฐและของเอกชน ท่ีดําเนินงานด้านวัฒนธรรมและภูมิป๎ญญาไทย ได้ ประสานงานกันอย่างใกล้ชิด โดยการระดมสรรพกําลังท้ังภาครัฐและภาคเอกชน เพ่ือรักษาและส่งเสริม วัฒนธรรมให้มั่นคงเป็นพ้ืนฐานของการดําเนินชีวิตของประชาชนตลอดจนร่วมกันแก้ไขป๎ญหาที่เกี่ยวกับ วัฒนธรรม เพือ่ ให้วฒั นธรรมมบี ทบาทสนับสนนุ การพฒั นาประเทศอยา่ งแท้จริงความแตกต่างระหว่างวฒั นธรรมไทยกับวัฒนธรรมสากล วฒั นธรรมในแต่ละสงั คมยอ่ มมีความแตกตา่ งกันออกไป ในที่นี้จะนําเสนอความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวฒั นธรรมสากล โดยเน้นไปทีว่ ัฒนธรรมของโลกตะวันออกซึ่งมีความใกล้ตัว และเป็นกระแสที่ถาโถมเข้ามายังวัฒนธรรมไทยอย่างมากในป๎จจุบนั วฒั นธรรมสากล คือวัฒนธรรมตา่ งชาติ ซ่ึงอาจเป็นโลกตะวันตกอันมีวัฒนธรรมยุโรปและอเมริกาเป็นจุดเด่น และโลกตะวันออกอันมวี ัฒนธรรมของเอเชียเปน็ จดุ เดน่ 1. วัฒนธรรมด้านอาหาร อาหารของโลกตะวันตกเน้นความสะดวกสบาย ทั้งขั้นตอนการทําและการเข้าถึงในการบริโภค เน้นแปูงและเน้ือสัตว์เพื่อให้ร่างกายมีไขมัน สร้างความอบอุ่นให้แก่ร่างกายที่มีอากาศหนาวเย็น ส่วนโลกตะวันออกจะรู้จักนําสมุนไพรมาปรุงแต่งเป็นอาหาร มีความพถิ ีพถิ นั ในการปรงุ แตง่ จดั วาง สร้างคณุ ค่าแกผ่ บู้ ริโภคทง้ั ร่างกายและจติ ใจ อาหารประจําชาติไทย ประเทศไทยมีท้ังอาหารคาวและอาหารหวาน สําหรับอาหารคาวของไทยนั้น จะมีทุกรส ท้ังเค็ม หวาน เปร้ียว และเผ็ด โดยปรุงข้ึนมาในหลายลักษณะดังนี้ แกง (แกงเผ็ด แกงค่ัว แกงส้ม แกงจืด ฯลฯ) ผัด (ผัดจืด ผัดเผ็ด ผัดเปรี้ยวหวาน ฯลฯ) ยํา (ยําถ่ัวพู ยําทวาย ยําหัวปลี ฯลฯ) ทอด เผา หรือย่าง (เน้ือสัตว์ท่ีนิยมใช้คือ กุ้ง หมู ปลา ไก่)เคร่ืองจิ้ม (นํ้าพริก กะปิค่ัว หลน ฯลฯ) และเคร่ืองเคียง (เช่น แกงเผ็ด จะมีไข่เค็ม ปลาเค็มหรือเน้ือเค็มเป็นเครื่องเคียง เป็นต้น) ส่วนอาหารหวานของไทยจะมีทั้งชนิดนํ้าและแห้ง (เช่น กล้วยบวชชี ขนมเปียกปูน ขนมสอดไส้ ทองหยิบ ทองหยอดฝอยทอง สังขยา และขนมหมอ้ แกง เปน็ ตน้ ) ขนมหวานชนิดแหง้ ปกตจิ ะทาํ เป็นขนมอบใสโ่ หลเพื่อให้เก็บไว้ได้นาน เช่น ขนมกลีบลําดวน ขนมโสมนัส ขนมหน้านวล ขนมทองม้วน ขนมผิง เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีการแกะสลักหรือป้๎นขนมให้เป็นรูปตา่ งๆอกี ด้วย อาหารประจําชาติเกาหลี อาหารท่ีสําคัญของเกาหลี ได้แก่ “กิมจิ” เป็นผักดองท่ีมีรสเปรี้ยว เค็ม และเผ็ด มีพริกแดงและกระเทียมเป็นส่วนประกอบ กิมจิเป็นอาหารที่มีชื่อเสียงท่ีสุดของเกาหลีในนานาชาติ พุลโกกิและคาลบิ “พุลโกกิ” เป็นเน้ือนุ่มที่ห่ันบางๆแล้วหมักในซอสที่ทําด้วยซอสถ่ัวเหลือง นํ้ามันงา กระเทียม และเครื่องปรุงรสอื่นๆ เวลารับประทานจะนํามาย่างบนเตาถ่านที่โต๊ะอาหาร ส่วน”คาลบิ” เป็นซี่โครงเน้ือหรือหมูแถบเล็กๆ คาลบิจะย่างบนเตาถ่านอาหารเหมือนกับพุลโกกิ “ชินซอโล” เปน็ สว่ นผสมของเน้ือปลาและเต้าหู้นํามาเคย่ี วกับน้ําซุปเน้อื บนหมอ้ ไฟบนโต๊ะอาหาร “พิบิมพัพ” ทําจากข้าวสวยผสมกับเนื้อห่ันเป็นชิ้นเล็กๆ มีผักปรุงรส และไข่ หรืออาจจะราดด้วยโคชูจัง(ซอสพริกรสเผ็ดก็ได้) “คูจอลพัน” เป็นเนอ้ื และผักซอยเป็นเสน้ เล็กๆ ตักวางเป็นไส้บนแปูงแพนเค้กซึ่งวางเป็นช้ันๆ อยู่ตรงกลางของภาชนะใส่ คูจอลพัน แล้วห่อใส่ปากรบั ประทาน “ซอลลองทงั ” เป็นบะหม่เี นอ้ื ปรงุ รสด้วยเมล็ดงา เกลือ พริกไทย หอมและนํ้ามัน “ซัมเกทัง” เป็นซุปไก่โสมปรงุ รสดว้ ยเกลือและพรกิ ไทยดํา “เน็งเมียน” เป็นบะหมี่ที่ทําจากแปงู สาลี ในนํ้าซุปเนื้อมีส่วนประกอบของหอมสับ หัวไช้เท้าซอยเปน็ เสน้ ๆและแตงกวา เมลด็ งา และเนื้อห่ันบางๆ เตมิ น้าํ สม้ สายชู มสั ตารด์ หรอื ซอสพรกิ อาหารประจําชาติญ่ีปุน อาหารญี่ปุนทั่วไปประกอบด้วย ข้าว ผัก ซุปปรุงรสเต้าเจ้ียวญ่ีปุน มิโซะ ผักดอง และปลาหรือเน้ือ เป็นข้าวมักรับประทานกับสาหร่ายทะเลตากแห้ง (โนริ) เคร่ืองปรุงรสท่ีนิยมใช้คือ ซอสถั่วเหลือง (โชยุ) สําหรับอ าหารญี่ปุนท่สี ําคัญ ได้แก่ “ซาชมิ ิ” เปน็ ปลาดิบช้ินบางๆ รับประทานพร้อมกับมัสตาร์ดเขียว “ซูชิ” เป็นการผสมผสานกันระหว่างปลากับข้าว โดยการวางช้ินปลาดิบที่แล่บางๆบนข้าวที่ป๎้นอย่างประณีต ซูชิ มี 3 ชนิด ได้แก่ “นิงิริ ซูชิ” เป็นข้าวที่ป๎้นเป็นก้อนรูปวงรีแล้ววางเนื้อปลาดิบไว้ข้างบนอาจจะเสริมรสด้วยสาหร่ายทะเลก็ได้ “มากิ ซูชิ” เป็นข้าวห่อสาหร่ายท่ีมีปลาดิบและผักอยดู่ า้ นในและ “เทมากิ ซูชิ” เปน็ ขา้ วที่มปี ลาดิบอยดู่ ้านในแล้วหอ่ เปน็ รปู กรวย “ชาบุ ชาบุ” เป็นอาหารประเภทหม้อ

แบบทดสอบรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ 4 หน้าที่ : 10ไฟที่รับประทานคล้าย “จ้ิมจุ่ม” ของไทย คือขั้นตอนแรก ต้มน้ําซุปด้วยเนื้อวัวหรือหมูให้เดือด แล้วเติมผักท่ีชอบลงไป เช่นเหด็ หอมสด เหด็ เข็มทอง ผักกาดขาว เป็นต้น ส่วนเน้อื หรือหมู จะใช้วิธีจุ่มลงไปในนํ้าเดือดๆ ให้พอสุก แล้วนํามารับประทานกับนํ้าจิ้มประกอบด้วยซีอ๊ิวญ่ีปุน น้ําส้มสายชูและนํ้ามะนาว“โซบะและอุดง” (โซบะเป็นก๋วยเตี๋ยวท่ีทํามาจากแปูงของบัควีตส่วนอุดงเป็นก๋วยเตีย๋ วท่ที าํ จากแปูงของข้าวสาลี โซบะและอดุ งจะรับประทานกับน้ําซุป โรยหน้าด้วยผัก เต้าหู้ทอดหรือเทมปุระ โดยปกตโิ ซบะและอุดงจะรับประทานแบบร้อน แต่ในชว่ งฤดูร้อนจะมีการทาํ เพอื่ รบั ประทานแบบเยน็ 2. วฒั นธรรมด้านทอี่ ยูอ่ าศัย มีความแตกตา่ งกนั ไปตามสภาพภมู ิประเทศและภมู ิอากาศ ท้ังในเร่ืองของการใช้วัสดุและรูปทรง เช่น คนไทยนิยมสร้างบ้านด้วยไม้ มีใต้ถุนสงู เพ่อื ให้บา้ นโปรง่ สบาย น้ําไม่ท่วม เน่ืองจากคนไทยส่วนใหญ่ ประกอบอาชีพเกษตรกรรมจึงนิยมปลูกบ้านริมแม่น้ํา ออกแบบให้เป็นหลังคาทรงสูง เพื่อให้อากาศถ่ายเทและให้ความร่มเย็นแก่ผู้อยู่อาศัย นอกจากน้ียังมีชายคาที่ย่นื ยาวออกมาปกคลมุ ตวั บา้ นมากกว่าบ้านทรงยโุ รป เพือ่ ปูองกันแดดและฝน เนือ่ งจากประเทศไทยอยู่ในภูมิประเทศเขตร้อนมฝี นตกชกุ ในขณะทค่ี นจนี นิยมสร้างบ้านด้วยดินเหนียวผสมหญ้าหรือหญ้าฟาง รูปทรงคล้ายตึก เพราะอยู่ในภูมิประเทศที่มีอากาศหนาว จึงต้องสรา้ งบา้ นใหก้ ันลมหนาวได้ ส่วนชาวยโุ รปมกั สรา้ งบ้านเรอื นเปน็ ตึกก่ออิฐหรอื เทคอนกรตี 3. วฒั นธรรมดา้ นการแต่งกาย แต่ละประเทศลว้ นมีการแต่งกายประจําชาติ ท่ีสะท้อนถึงภูมิป๎ญญาและความเป็นมาในทางประวัติศาสตร์ ซึ่งถือว่าเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งประจําชาติ เคร่ืองแต่งกายแต่ละแบบนั้นมีความละเอียดอ่อนในการทําตั้งแต่วัตถุดิบท่ีมีในท้องถิ่น การออกแบบ กระบวนการทาํ เครอ่ื งแต่งกาย ความเหมาะสม การปรับตัวต่อสภาพพื้นท่ีการสะท้อนความเป็นตัวตนของประเทศตน เป็นต้น ชุดประจําชาติไทย เป็นสิ่งประดิษฐ์เพื่อการสวมใส่มีทั้งของบุรุษและสตรี เครื่องแต่งกายของบุรุษเรียกว่า ชุดพระราชทาน เสือ้ ชดุ พรราชทานใช้คู่กับกางเกงแบบสากลนิยมสีสุภาพ หรือสีเดียวกับเสื้อ ส่วนการแต่งการแบบไทยของสตรีเชน่ ชุดไทยเรือนต้น ชดุ ไทยจติ รลดา ชุดไทยอมรินทร์ ชดุ ไทยบรมพิมาน ชดุ ไทยจกั รี ชดุ ไทยดุสิต ชุดไทยประยุกต์ เปน็ ต้น “กโิ มโน” เป็นชดุ ประจาํ ชาติของญ่ปี นุ กิโมโนเปน็ ชดุ ทีพ่ นั รอบตวั ละผกู ดว้ ยผ้าคาด (โอบิ) ชุดของผูช้ ายค่อนข้างอนุรักษ์นิยม คือ มักจะใส่สีดํา นํ้าตาล เทา และขาว ชุดกิโมโนสําหรับหญิงรุ่นสาวมีสีสว่างสดใสและสีสันลวดลายสวยงามสําหรับหญงิ สูงวยั สขี องเสอื้ จะสุภาพและนมุ่ นวล สําหรบั กิโมโนของเด็กจะเหมือนกับของผใู้ หญ่ แตจ่ ะใชส้ สี ันและลวดลายท่ีสดใสกว่าชาวญ่ีปุนมักใส่กิโมโนในวันสําคัญ เช่น วันข้ึนปีใหม่ เป็นต้น ชาวญ่ีปุนดูแลชุดกิโมโนของตนอย่างดี และจะมอบต่อจากแม่สู่ลูกสาว และพ่อสลู่ ูกชาย “ฮันบก” เป็นชุดประจําชาติของเกาหลี ฮันบกเป็นชุดตัดเย็บในลักษณะหลวมๆ เพื่อปกปิดสรีระตามธรรมชาติของรา่ งกาย ผชู้ ายจะสวมชอโกรี (เสอื้ คอปดิ แขนยาว) กับพาจิ (กางเกงขายาวโปุงพอง) ขณะท่ีผู้หณิงจะสวมกระโปรงยาวถึงพ้ืนเอวสูงมาก เรียกว่า “ซมี ่า” และเส้ือแขนยาวหลวมๆ เสื้อตัวสัน้ มาก มรี บิ บิน้ ขนาดใหญ่และยาวผูกอยู่เหนืออก คอเสื้อเป็นรูปตวั วี ในปจ๎ จบุ นั ฮนั บกใชใ้ ส่เฉพาะโอกาสทมี่ กี ารเฉลมิ ฉลอง เชน่ วันแต่งงาน วนั ซอลลัล วันชซู ก เปน็ ตน้ 4. วฒั นธรรมด้านศลิ ปะการตอ่ สู้ปอู งกนั ตัว ศิลปะการต่อสู้ปูองกันตัว คือ ศาสตร์แขนงหนึ่งที่เน้นการเรียนและฝึกฝนด้านการต่อสู้และปูองกันตัว ซ่ึงมีหลายลกั ษณะดว้ ยกันแตกตา่ งกันไปในแตล่ ะชาติ ศิลปะการต่อสู้ปูองกันตัวประจําชาติของไทย มวยไทยเป็นศิลปะประจําชาติไทยท่ีคนไทยสามารถใช้ได้อย่างคล่องแคลว่ มวยไทยเปน็ ศลิ ปะช้นั สงู ของการใชอ้ วัยวะ 6 ประเภท ได้แก่ หมัด ศอก แขน เท้า แข้ง และเข่า มาใช้ในการต่อสู้ปอู งกันตวั ศลิ ปะการปูองกันตัวประจําชาติของญ่ีปุน คือ ยูโด เป็นศิลปะการต่อสู้ที่ใช้เมื่ออยู่ในจังหวะประชิดตัว โดยใช้หลักการยืมพลังของคู่ต่อสู้มาเป็นพลังของตน และคาราเต้ ซ่ึงเป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายอย่างเป็นจังหวะ เช่น การชก การเตะการกระแทก การผสมผสานระหวา่ งการปด๎ ปูองและการจโู่ จมในเวลาเดยี วกนั

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 หน้าที่ : 11 ศิลปะการต่อสู้ปูองกันตัวประจําชาติของเกาหลี คือ เทควันโด (เท แปลว่า มือ ควัน แปลว่า เท้า โด แปลว่า สติดังนนั้ เทควันโด จงึ หมายถึง ศิลปะการตอ่ สู้โดยใชม้ ือและเทา้ อยา่ งมีสติ) เปน็ ศิลปะการเคลอื่ นไหวทเ่ี น้นการใช้เท้าเตะสูงและรวดเรว็ ในกระบวนท่ารา่ ยรําของเทควนั โดประกอบไปดว้ ยกาป๎ด ปิด ปอู งกนั การชก ใชก้ ําปน๎้ สันมือ และน้ิวมือ การหัก การเตะ การขยับหมนุ เคลื่อนไหวอวยั วะตา่ งๆ ของร่างกาย เช่น การหมุนตวั เหวย่ี งเทา้ การเตะ การกระโดด เปน็ ต้น 5. วัฒนธรรมดา้ นศลิ ปะการแสดง ละคร เป็นมหรสพอย่างหนง่ึ ทเ่ี ล่นเป็นเรือ่ งราวต่างๆ มลี ักษณะแตกต่างกนั ในแต่ละชาติ ละครของไทย แบง่ ออกเป็น ละครรําแบบดงั้ เดมิ ไดแ้ กล่ ะครชาตรี (นิยมแสดงเรอ่ื งมโนราห์และรถเสน) ละครนอก (เรื่องทน่ี าํ มาแสดง เช่น หลวิชัยคาวี พกิ ุลทอง มโนราห์ มณีพชิ ยั สังข์ทอง ละครใน (เร่ืองที่แสดงคือ รามเกยี รติ์ อุณรุท และอิเหนา) ละครท่ปี ระยุกตข์ ึ้นใหม่ ไดแ้ ก่ ละครพนั ทาง (เรอ่ื งที่นํามาแสดง เช่น พระอภยั มณี พระลอ ราชาธริ าช) ละครเสภา (เรือ่ งท่ีนาํ มาแสดง เชน่ นิทราชาครติ ขนุ ช้างขุนแผน) ละครสงั คีต (เร่อื งทีน่ าํ มาแสดง เช่น หนามยอกเอาหนามบ่ง ววิ าหพ์ ระสมุทร) ละครรอ้ ง (เรอื่ งทน่ี ํามาแสดง เชน่ สาวิตรี สาวเครอื ฟาู กากี เปน็ ตน้ ) ละครพดู (เร่ืองทีน่ าํ มาแสดง เชน่ มัทนะพาธา ชงิ นาง เวนสิ วาณชิ ) ละครเพลง (เรื่องทนี่ าํ มาแสดง เช่น จันทรเ์ จ้าขา ฝนส่งั ฟูา) ละครของญี่ปุน มีการแสดงละคร 3 รูปแบบคือ ละครโน เป็นละครท่ีเก่าแก่ที่สุด ได้รับความนิยมในศตวรรษท่ี14ละครโนมีลักษณะเรียบง่าย ตัวละครจะสวมหน้ากากและแต่งกายแบบโบราณ การพูดและการเคลื่อนไหวของตัวละค รจะเป็นไปอยา่ งเชอื่ งชา้ ละครบุนระกุ เป็นละครหุ่นที่เริ่มแสดงในศตวรรษท่ี16 ตัวหุ่นจะมีการสร้างขนาดประมาณคร่ึงหน่ึงของมนษุ ย์ และคล้ายกบั มนุษยม์ ากการแสดงจะใชค้ นจริงเล่นร่วมกับหุ่นโดยคนเปูนผู้ชักหุ่นให้เคลื่อนไหวไปมาบนเวทีด้วยกันกับหุ่น ละครคาบูกิ เป็นละครที่พัฒนาข้ึนในศตวรรษที่17 การแสดงจะเน้นไปท่ีความตื่นเต้นเร้าใจ เช่น การต่อสู้ การร่ายรําอาวุธ รวมไปถึงการใช้เทคนิคพิเศษเข้ามาช่วยในการแสดง เช่น ฉากพายุหิมะ ฟูาร้อง เคร่ืองแต่งกายของตัวละครจะวิจิตรงดงามและสีสนั สดใสวิธกี ารเลือกรบั วัฒนธรรมสากล ความสัมพันธ์ทางวัฒนธรรมระหว่างไทยกับนานาชาติมีมาช้านาน เนื่องจากไทยมีการติดต่อสัมพันธ์กับนานาชาติตง้ั แตส่ มัยสุโขทยั โดยเฉพาะจีนและอนิ เดยี เปน็ สองชาติแรกท่ีมีการติดต่อค้าขายกับไทย จึงทําให้ไทยได้รับวัฒนธรรมทั้งด้านภาษา ศาสนา และความเชื่อ ต่อมาเม่ือมีการติดต่อกับชาติตะวันตก ไทยจึงได้รับวิทยาการทางเทคโนโลยีจากชนชาติตะวันตก วิธีการเลือกรับวัฒนธรรมสากลของไทย มีดงั นี้ 1. เลือกรับวัฒนธรรมท่ีเป็นประโยชน์ ช่วงที่มีการล่าอาณานิคมของชาติตะวันตก เพื่อมิให้ตนเองตกเป็นเมืองข้ึนของ ชาติตะวันตก ไทยจึงรับวัฒนธรรมจากชาติตะวันตก ท้ังอังกฤษและฝรั่งเศส หลายประการ เช่น การฝึกทหารแบบ ตะวันตก ระบบกฎหมายและการศาล ระบบการเงินการคลัง การชลประทาน การสาธารณูปโภคต่างๆ ซ่ึงล้วนเป็น รากฐานของการพฒั นาประเทศในเวลาตอ่ มา 2. เลอื กรบั โดยการผสมผสานของวัฒนธรรม โดยการนําวัฒนธรรมของต่างชาติมาปรับใช้ผสมผสานกับวัฒนธรรมไทย ให้เกิดความสมดุล เหมาะกับวิถีชีวิตของคนไทย ได้แก่ ศาสนาพราหมณ์ของอินเดีย ท่ีมีอิทธิพลในกานดําเนินชีวิต ของประชาชนตั้งแตเ่ กิดจนตาย โดยผสมผสานไปกับพิธกี รรมทางศาสนาพราหมณ์อย่างแยกกันไม่ออก จนกลายเป็น ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย เช่น ประเพณีการเกิด การข้ึนบ้านใหม่ การแต่งงาน การตาย เป็นต้น การรับ วฒั นธรรม ความเชอ่ื ทางศาสนาของจีน ซึง่ เป็นการผสมผสานความเชอ่ื ระหว่างศาสนาพุทธ การบูชาบรรพบุรุษ การ

แบบทดสอบรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 4 หนา้ ที่ : 12 นับถือเจ้า นอกจากนี้ยังมีเทศกาลสําคัญที่มีอิทธิพลต่อชาวไทยเช้ือสายจีน เช่น เทศกาลไหว้บรรพบุรุษ ไหว้ พระจันทร์ เทศกาลกนิ เจ เปน็ ต้น27. ให้นกั เรียนอธิบายเหตุการณ์ทีมฟุตบอลเยาวชนหมูปุา จังหวัดเชียงราย ติดอยู่ในถํ้าหลวงนาน 18 วัน จากเหตุการณ์นี้นักเรียนได้เห็นถึงส่ิงใดที่เกิดขึ้นบ้าง ในฐานะพลเมืองชาวไทย และพลเมืองโลก จงอธิบายมาพอสังเขป (ส 2.1 ม.4-6/3 :เข้าใจ)คาตอบ คุณลักษณะพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลกที่สําคัญคือ การเคารพกฎหมายและกติกาสังคม การเคารพสิทธิเสรีภาพของตนเองและบุคคลอ่ืน มีเหตุผล รับฟ๎งความคิดเห็นของผู้อื่น มีความรับผิดชอบต่อตนเอง และสิ่งแวดล้อมรวมถงึ การมีคณุ ธรรมจริยธรรมเป็นหลกั ในการดาํ เนินชวี ิต หากประเทศชาตแิ ละสังคมโลกของเรา มีพลเมืองที่ดีมีคุณลักษณะเช่นนี้ ก็จะก่อใหเ้ กิดความสงบสขุ· การเคารพกฎหมายและกตกิ าสงั คม ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้นิยามความหมายของกฎหมายไว้ว่า กฎหมายคือ กฎท่ีสถาบันหรือผู้มีอํานาจสูงสุดในรัฐตราข้ึนหรือเกิดขึ้นจากจารีตประเพณีอันเป็นท่ียอมรับนับถือ เพ่ือใช้ในการบริหารประเทศเพื่อใช้บงั คับบคุ คลให้ปฏบิ ัติตามหรือหรือเพือ่ กําหนดระเบียบแห่งความสัมพันธ์ระหวา่ งบคุ คลหรอื ระหว่างบุคคลกบั รฐั กฎหมายเปน็ ข้อบังคับทร่ี ฐั หน่ึงๆ ตราขึ้นมาเพอ่ื ใช้กําหนดความประพฤติและระเบียบแบบแผนของพลเมืองที่อยู่ร่วมกันภายในรัฐนั้นและรวมไปถึงบังคับที่รัฐแต่ละรัฐผูกพันต้องปฏิบัติตามพันธกรณีและความร่วมมือที่ให้ไว้ระหว่างกัน เน่ืองจากสังคมมีความซับซ้อนและมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วกว่าในอดีตมาก การควบคุมดูแลโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคลจึงไม่สามารถทาํ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ดังน้ันการมีกฎหมายขน้ึ มาเพื่อช่วยในการกาํ หนดการปฏิบัติจึงมีความจําเป็นสําหรับสังคมทุกระดับ กฎหมายจึงมีความสําคัญในการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลให้อยู่ในระเบียบแบบแผนท่ีดีงาม ช่วยคุ้มครองและรักษาชีวิตและทรพั ยส์ ินของประชาชน รวมถงึ สร้างความสงบเรยี บร้อยใหส้ ังคมดว้ ย· การเคารพสทิ ธิเสรภี าพของตนเองและบุคคลอนื่ สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ท่ีบุคคลหน่ึงๆ พึงได้รับตามกฎหมาย เช่น การได้รับการศึกษาขั้นพื้นฐาน การรักษาพยาบาลจากรัฐ เปน็ ต้น เสรีภาพ หมายถึง ความเป็นอิสระของบุคคลที่จะกระทําการใดๆภายในขอบเขตของกฎหมายท่ีกําหนดไว้ เช่น การแสดงออก การนบั ถอื ศาสนา การเดนิ ทาง เป็นต้น รฐั บาลไทยได้ใหค้ วามสมั พันธ์ในประเดน็ ท่เี กีย่ วข้องกับสิทธิเสรีภาพของประชาชน ท้ังน้ีพิจารณาได้จากรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ซ่ึงไดบ้ ญั ญตั ิกฎหมายทีเ่ กย่ี วขอ้ งไว้ใน หมวด 3 สิทธิและเสรภี าพของชนชาวไทย· การมีเหตุผล รับฟังความคิดเหน็ ของผ้อู ื่น ในสังคมจะมีป๎ญหาและความขัดแยง้ เกดิ ขนึ้ อยูเ่ สมอ ซึง่ ป๎ญหาและความขัดแย้งน้ีอาจเกิดมาจากบุคคล กลุ่มบุคคลหรือองคก์ ร และการแกไ้ ขปญ๎ หาหรอื หาขอ้ สรปุ ในประเด็นต่างๆ ย่อมจะมีความขัดแย้งเกิดข้ึนได้เช่นกัน เน่ืองจากบุคคลมีภูมิหลังของครอบครัว การศึกษา และวิธีคิดท่ีแตกต่างกันการใช้อารมณ์หรือยึดความคิดของตนเองเป็นหลัก จะทําให้เกิดความไร้ระเบียบและรุนแรงไดง้ า่ ย ดังนนั้ การแกไ้ ขป๎ญหาต่างๆ จึงจาํ เปน็ ตอ้ งใช้เหตผุ ลมากกว่าอารมณ์ ประชาชนในสงั คมจะต้องเคารพความแตกต่างของผู้อ่ืน ไม่ยึดตัวเองเป็นใหญ่ มีการหาข้อยุติในลักษณะของการร่วมกันคิด และร่วมกันอภิปรายโดยใช้ข้อมูลอย่างรอบด้าน มีการพิจารณาเหตุผลของแต่ละฝุายด้วยใจเป็นธรรม ข้อเสนอของฝุายใดที่มีเหตุผลและมีความเป็นไปได้มากกว่าก็จะถูกนําไปปฏิบตั ิตอ่ ไป· การมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเอง ชุมชน ประเทศชาตแิ ละสังคมโลก

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 4 หน้าท่ี : 13 ประเทศชาติหรือสังคมในระดับต่างๆ จะพัฒนาหรือมีความเจริญก้าวหน้าไปได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับคุณภาพของประชากร เนื่องจากการอยู่ร่วมกันในสังคมทุกระดับ ประชากรหรือพลเมืองในสังคมย่อมมีบทบาท หน้าที่และความรบั ผิดชอบทแี่ ตกต่างกันไปตามคุณวุฒิและวัยวุฒิ ทั้งน้ีหากพลเมืองสามารถปฏิบัติตนโดยมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชนประเทศชาติและสังคมโลกแล้ว สังคมในทุกระดบั กจ็ ะพัฒนาหรอื มีความเจริญกา้ วหนา้ ไปดว้ ย การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีนั้นจําเป็นต้องคํานึงความรับผิดชอบต่อตนเอง ชุมชน ประเทศชาติและสังคมโลกตามบทบาทและหนา้ ท่ขี องตนในสงั คมระดับตา่ งๆซงึ่ มีแนวทางปฏิบตั ติ นดงั น้ี 1. การปฏบิ ตั ติ นเปน็ พลเมืองดใี นครอบครัว 1.1 การปฏิบัติตนระหวา่ งบดิ ามารดากับบุตร 1.2 การปฏิบตั ติ นระหว่างสามีกับภรรยา 1) ยกยอ่ งให้เกียรติซ่ึงกันและกันท้ังต่อหนา้ และลบั หลงั 2) ช่วยเหลือญาติของแต่ละฝุายตามสมควร 3) เคารพใหเ้ กยี รตกิ นั ซื่อสัตยต์ ่อกัน ไมน่ อกใจกัน 4) ร้จู กั สงเคราะห์กันและกัน เห็นอกเห็นใจกัน 5) รจู้ กั ใชจ้ ่าย ไม่ฟุมเฟอื ยสุรุย่ สุร่าย รกั ษาทรัพยส์ ินทห่ี ามาได้ 6) ขยนั ไมเ่ กยี จคร้านในงานท้งั ปวง ตั้งใจทํางานเพ่อื สร้างหลักฐานให้แกค่ รอบครัว 7) รว่ มสขุ รว่ มทกุ ข์ดว้ ยกนั ไม่ละทิ้งกันในยามทุกขย์ าก 8) มีเหตุมผี ล มีความเข้าใจกนั ถนอมน้ําใจกนั ไม่ดูหมน่ิ กนั 9) ไม่นาํ เรื่องราวป๎ญหา ความร้อนใจต่างๆ ในครอบครัวไปเปิดเผยแก่คนท่ัวไปภายนอกรวมทัง้ ไม่นําเร่ืองราว ป๎ญหาต่างๆทรี่ ้อนใจจากภายนอกเขา้ มาในครอบครัว 2. การปฏบิ ตั ิเป็นพลเมืองดีในโรงเรยี น 2.1 การปฏิบตั ติ นต่อกันระหวา่ งครกู ับลูกศิษย์ 2.2 การปฏบิ ัตติ อ่ กนั ระหวา่ งเพื่อน 1) มีนา้ํ ใจเผ่อื แผแ่ บง่ ป๎น ไม่เหน็ แกต่ วั 2) มีความรักใคร่ ชว่ ยเหลือเก้ือกูลซ่งึ กนั และกัน 3) แนะนาํ และตักเตอื นเพือ่ นให้คบคนดี ไมค่ บคนพาลและคนทีท่ ําผิดกฎหมายและผดิ ศลี ธรรม 4) ยามเพื่อนมสี ุขกย็ นิ ดี ยามเพ่อื นมีทุกข์ก็ไม่สบายใจ 5) ในคราวมีภยั เปน็ ท่ีพงึ่ ได้ ไมล่ ะท้งิ กันในยามทุกข์ยาก 3. การปฏบิ ัตติ นเป็นพลเมืองดใี นทอ้ งถ่นิ 3.1 ตดิ ตามดแู ลและตรวจสอบการให้บริการสาธารณะขององค์ปกครองส่วนท้องถ่ินรวมท้ังการตรวจสอบ การจัดซื้อจัดจ้าง การก่อสร้างในโครงการต่างๆ และการใช้จ่ายงบประมาณขององค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินว่าถูกต้องโปร่งใส และเป็นประโยชน์ต่อประชาชนหรือไม่ 3.2 เสียภาษีให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน เช่น ภาษีปูาย ภาษีโรงเรือนและที่ดิน เป็นต้น เพื่อจะได้นําไปจัดทําบริการสาธารณะทีจ่ ําเป็นต่อความเจริญเตบิ โตของทอ้ งถนิ่ เช่นถนนหนทาง การศึกษา เปน็ ต้น 3.3 ร่วมมือกันรักษาความสะอาดและพัฒนาชุมชนให้น่าอยู่ เช่น ไม่ขีดเขียนตามกําแพง ทิ้งขยะในภาชนะที่จัดไว้ให้ ไม่ท้งิ ลงบนถนนหรือแม่นาํ้ ลําครอง เป็นต้น 3.4 ช่วยกันดูแลรักษาสาธารณูปโภคที่เปน็ ของส่วนรวมของท้องถิ่นเพ่ือให้สามารถใช้การได้ เช่น ไม่ใช้รถบรรทุกสิ่งของที่มีนาํ้ หนักเกนิ กวา่ ทถ่ี นนจะรบั ได้ ไมท่ ุบกระจกหรือทาํ ลายโทรศพั ท์ เป็นตน้ 3.5 ชว่ ยกันอนุรกั ษ์หรอื ฟืน้ ฟูจารีต ประเพณี ภูมิป๎ญญาท้องถน่ิ ศิลปะหรอื วฒั นธรรมอันดขี องท้องถนิ่ ให้คงอยู่ต่อไป

แบบทดสอบรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี 4 หนา้ ที่ : 14 3.6 เข้าไปมีส่วนร่วมในการจัดการ การบํารุงรักษาและการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดลุ และยง่ั ยืน เช่น การไม่ทําลายปาุ ไม้ ไม่ทาํ ลายแหลง่ ตน้ น้าํ ลําธาร เป็นตน้ 4. การปฏบิ ัติตนเป็นพลเมืองดขี องประเทศ 4.1 ไมก่ ล่าวหาหรอื ให้ข่าวแพรห่ ลายซ่ึงเป็นข้อความหรอื ภาพไม่ว่าด้วยวธิ ีใดไปยังสาธารณชน อันเป็นการละเมิดหรอืกระทบถงึ สทิ ธขิ องบุคคลในครอบครวั เกียรติยศ ชื่อเสียง หรือความเป็นอย่สู ่วนตัวของบคุ คลอ่นื 4.2 ในการชมุ นุมตา่ งๆ พลเมืองดคี วรชุมนมุ โดยสงบและปราศจากอาวุธ 4.3 ไมร่ วมตวั กันในทางที่ขัดต่อความสงบเรียบรอ้ ยหรอื ศลี ธรรมอนั ดีของประชาชน หรือรวมตัวกนั เพื่อการผูกขาดตดัตอนในทางเศรษฐกจิ 4.4 รกั ษาไวซ้ ึง่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์และการปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยอนั มีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเปน็ประมุข 4.5 ไปใชส้ ทิ ธิเลอื กตั้ง การเลือกตงั้ เป็นการคดั เลือกบคุ คลเข้าไปทําหนา้ ทบี่ รหิ ารประเทศ ทั้งในระดบั ชาตแิ ละระดบัท้องถ่นิ ถา้ เลือกคนผิดหรือคนไมด่ ีเข้าไปบริหารประเทศ จะส่งผลทําให้เกิดความเสียหายแก่ประเทศได้ ดงั นน้ั เม่ือมีการเลือกตงั้ คนไทยที่มีสทิ ธิต้องไปลงคะแนนเลือกตั้ง การเขา้ รว่ มกจิ กรรมทางการเมืองการปกครอง หัวใจสําคญั ของประชาธิปไตยคือ การเข้าไปมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองของประชาชน วิธีการแสดงเจตนารมณ์ของประชาชนอาจกระทําได้หลายประการ เช่น การติดตามดูแลและตรวจสอบการให้บริการสาธารณะการคัดค้านและการต่อต้านการทาํ งานของหน่วยงานของรัฐเก่ียวกับการให้บริการต่างๆ ที่ไม่โปร่งใสและไม่เป็นธรรม การร่วมกันลงช่ือเพื่อเสนอร่างกฎหมายหรือเพ่ือถอดถอนนักการเมืองเมื่อเห็นว่าบุคคลน้ันไม่สมควรดํารงตําแหน่งอีกต่อไป และการไปใช้สิทธิเลือกตั้งเป็นตน้· การมีสว่ นรว่ มในการปูองกัน แกไ้ ขป๎ญหาเศรษฐกจิ สงั คม การเมอื ง การปกครอง และส่ิงแวดล้อม ป๎ญหาต่างๆ ท่เี กิดข้ึนในสงั คมไม่ว่าจะเปน็ ป๎ญหาทางดา้ นเศรษฐกจิ สังคม การเมืองการปกครอง หรือป๎ญหาสิ่งแวดล้อมล้วนแล้วแต่เป็นส่วนท่ีสมาชิกในสังคมต้องเผชิญร่วมกัน ดังน้ันสมาชิกในสังคม จึงจําเป็นต้องมีส่วนร่วมในการปูองกัน และแก้ไขป๎ญหาตา่ งๆ รว่ มกนั เชน่ การมีส่วนร่วมในการปูองกันและแก้ไขป๎ญหาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในช่วงท่ีเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ สมาชิกของสังคมท่ีเป็นพลเมืองดีจะต้องให้ความร่วมมือกับรัฐบาลในการแก้ไขป๎ญหา ท้ังน้ีอาจทําได้โดยการติดตามข้อมูลข่าวสาร และใหค้ วามรว่ มมือตามนโยบายที่รฐั บาลกาํ หนด เช่นลดค่าใช้จ่ายท่ีไม่จาํ เป็น ประหยดั น้าํ ประหยดั ไฟ ประหยัดพลังงาน ช่วยกันอุดหนุนสินคา้ ภายในประเทศ สง่ เสรมิ การท่องเที่ยวภายในประเทศ หรือการดําเนินเศรษฐกิจตามแนวพระราชดําริเศรษฐกิจพอเพียง เป็นตน้ การอนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม การรณรงค์ อนุรักษ์และฟ้ืนฟูส่ิงแวดลอ้ มสามารถทําไดห้ ลายประการ ดังน้ี  ปราบวัชพืชในแหล่งนาํ้ เพ่ือปูองกันการตน้ื เขิน  กําหนดพืน้ ทอ่ี นุรักษป์ ุาชายเลนและเขตอนุรักษส์ ัตว์นํา้ ในปุาชายเลน  รณรงค์และต่อต้านการทิ้งขยะ และปล่อยนาํ้ เสยี ลงแมน่ า้ํ ลําคลอง  รณรงคก์ ารแยกขยะ กําจัดขยะและใช้ประโยชน์จากขยะ  เผยแพรค่ วามรู้ และสรา้ งจิตสํานกึ เกยี่ วกับสิ่งแวดลอ้ มให้แก่เยาวชน  ลดการใชร้ ถยนต์นง่ั สว่ นบคุ คล และหันมาใชร้ ะบบขนสง่ มวลชนใหม้ ากข้ึน  ลดการใชโ้ ฟมใหน้ ้อยลง โดยเฉพาะในหนา้ เทศกาลสําคัญ

แบบทดสอบรายวชิ าประวัตศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 หนา้ ท่ี : 15  ใชเ้ ครือ่ งใชไ้ ฟฟาู อย่างมีประสิทธิภาพเพ่ือลดค่าไฟฟูาภายในบ้านลง และลดป๎ญหาในเร่ืองการใช้พลังงานโดยเฉพาะ เครอ่ื งใชไ้ ฟฟูาทีใ่ ชพ้ ลังงานสงู เชน่ โทรทัศน์ พดั ลม ตเู้ ย็น เตารดี เป็นต้น  การรณรงค์ให้ตระหนักเก่ียวกับอาหารดัดแปลงพันธุกรรมจากพืชและสัตว์ (GMO) การดัดแปลงพันธุกรรมเป็นการ นําพันธกุ รรมจากเซลลส์ ่งิ มีชีวติ ชนิดหน่งึ (พชื สตั วจ์ ุลนิ ทรีย์ หรือส่ิงมีชีวิตอ่ืนๆ) ไปใส่ในส่ิงมีชีวิตอีกชนิดหน่ึง โดยใช้ กระบวนการตัดแต่งทางพันธุกรรม เพื่อสร้างสิ่งมีชีวิตชนิดใหม่ขึ้นมาโดยไม่เป็นไปตามธรรมชาติ ในป๎จจุบันได้มีการ คน้ พบผลเสียท่ีเกิดจากการบริโภคอาหารดัดแปลงพันธุกรรมมากมาย เช่น ผลเสียต่อสุขภาพ ผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ผลเสยี ทางจรยิ ธรรม เปน็ ต้น การตอ่ ต้านสารเสพตดิ สารเสพติดเป็นอันตรายท้ังต่อบุคคลและความม่ันคงของประเทศ สารเสพติดสร้างความเสียหายท้ังด้านเศรษฐกิจสงั คม และวัฒนธรรม และนําไปส่ปู ๎ญหาอาชญากรรม ซง่ึ เปน็ ภัยอยา่ งสําคญั ต่อความสงบเรยี บร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ไม่เพยี งแตป่ ระเทศไทยทีก่ าํ ลังเผชิญกบั มหันตภัยร้ายจากสารเสพติด ประเทศอ่ืนๆ ท่ัวโลกต่างก็ประสบป๎ญหานี้เชน่ กนั สารเสพตดิ จงึ เปน็ ป๎ญหาระดับโลกทีท่ ุกคนต้องช่วยกนั แก้ไข พลเมืองดสี ามารถท่ีจะช่วยลดปัญหาสารเสพตดิ ให้น้อยลงได้โดยการปฏิบัติ ดังน้ี 1. ในกรณที ี่เปน็ เจา้ ของหรอื ผดู้ ําเนนิ กิจการสถานประกอบการ โดยเฉพาะสถานท่เี สยี่ งต่อการระบาดของสารเสพ 6 ประเภท ได้แก่ สถานบี ริการนาํ้ มันเชื้อเพลงิ สถานบี ริการแกส๊ แก่ยานพาหนะ สถานบริการตามกฎหมายวา่ ดว้ ย สถานบริการ โรงงาน สถานที่จดั ใหม้ ีการเล่นบิลเลยี ดและสนกุ เกอร์ และอาคารท่พี ักอาศัยในเชิงพาณชิ ย์ประเภท หอพัก อาคารชดุ หรอื เกสตเ์ ฮาส์ 1.1 ตดิ ปาู ยหรือประกาศเตือน 1.2 ควบคมุ สอดสอ่ ง ดูแล 1.3 พจิ ารณาคดั เลือกบุคลากร 1.4 อบรมพนกั งานใหม้ ีความเข้าใจ 1.5 จัดทําประวตั พิ นกั งานไว้ประจําสถานประกอบการ 1.6 ให้ความร่วมมอื กับภาครัฐ 2. ในกรณีของเจา้ หน้าท่ขี องรัฐ ต้องไม่กระทาํ การอย่างใดอย่างหน่ึง ดงั ตอ่ ไปนี้ 2.1 สนบั สนนุ หรอื ชว่ ยเหลอื ผ้ทู ่เี ก่ยี วข้องกับสารเสพติด 2.2 จัดหาหรอื ใหใ้ หเ้ งินหรอื ทรพั ยส์ นิ 2.3 รบั เงนิ ทรัพยส์ นิ หรือประโยชน์อ่ืนใดจากผู้ทเี่ ก่ียวข้องกับสารเสพตดิ 2.4 คบค้าสมาคมเปน็ อาจณิ กบั ผ้ทู ่ีเก่ยี วข้องกับสารเสพตดิ 2.5 เป็นผู้ประกันผู้ต้องหาหรือจําเลยในความผิดตามกฎหมายเกย่ี วกับสารเสพติด 2.6 ตรวจสอบการปฏบิ ตั ิตามกฎหมายของสถาบนั ประกอบการอย่างเคร่งครัด 3. ในกรณีของประชาชนท่ัวไป 3.1 ประชาชนท่ัวไปจะตอ้ งไม่เสพสารเสพตดิ ทุกประเภท 3.2 ไมก่ ระทาํ การใดๆตามข้อ 2.1-2.4 เช่นเดยี วกบั เจ้าหนา้ ที่ของรัฐ 3.3 สอดสอ่ งและแจง้ เบาะแสการกระทาํ ทเ่ี กย่ี วข้องกับสารเสพตดิ แก่เจ้าหนา้ ทร่ี ัฐ 3.4 ชว่ ยเหลือและสนับสนนุ หน่วยงานของรัฐ 3.5 ชว่ ยกันรณรงคเ์ พ่ือต่อต้านสารเสพตดิ การตอ่ ต้านการสูบบหุ รี่

แบบทดสอบรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 หน้าที่ : 16 การปฏิบตั ติ นเปน็ พลเมืองดีมีส่วนชว่ ยลดการสูบบุหรใี่ ห้มีนอ้ ยลง ดงั น้ี 1) ไม่จําหน่าย ขาย แลกเปลี่ยนหรือให้ผลิตภัณฑ์ยาสูบแก่บุคคลซ่ึงตนรู้อยู่ว่าผู้ซื้อ หรือผู้รับ เป็นผู้มีอายุไม่ครบ สิบแปดปีบริบรู ณ์ 2) ไมข่ ายสนิ ค้าหรอื ใหบ้ รกิ ารโดยมกี ารแจก แถม หรอื แลกเปลี่ยนกบั บุหรี่ และในทางกลบั กนั คือ ไม่ขายบุหร่ีโดย แจก แถม หรือให้แลกเปล่ยี นกับสินค้าอ่นื หรอื การให้บริการอย่างอ่ืนประกอบ 3) ไม่ให้หรือไม่เสนอให้สิทธิในการเข้าชมการแข่งขันการแสดง การให้บริการหรือสิทธิประโยชน์อื่นๆเป็นการ ตอบแทนแกผ่ ้ซู ือ้ บุหร่ี 4) ไม่แจกจ่ายบุหร่ีในลักษณะเป็นตัวอย่าง เพื่อการหวังผลให้มีการใช้บุหรี่น้ันอย่างแพร่หลาย หรือเป็นการจูงใจ ใหป้ ระชาชนเสพบหุ รน่ี ั้น 5) ไม่โฆษณาบุหรี่หรือแสดงช่ือหรือเครื่องหมายของบุหร่ีในสิ่งพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์และส่ือต่างๆ หรือใช้ช่ือหรือ เคร่ืองหมายของบหุ รใ่ี นการแสดง การแข่งขัน การใหบ้ รกิ ารหรอื การกระทาํ กจิ กรรมตา่ งๆ 6) ไม่ผลิต นาํ เขา้ เพ่ือขาย หรือเพื่อแจกจ่ายเป็นการทั่วไป หรือโฆษณาสินค้าอ่ืนใดท่ีมีรูปลักษณะ ทําให้เข้าใจได้ ว่าเปน็ ส่ิงเลียนแบบบุหร่ี การมีคุณธรรมจริยธรรมเป็นหลักในการดาเนินชีวติ 1) ความมนี ํ้าใจ จะทาํ ใหเ้ ข้าถงึ จิตใจคนอนื่ ทําให้คนอน่ื รูจ้ ักสนทิ สนม ทําใหส้ งั คมน่าอยู่ยิ่งขึน้ 2) ความน่าเคารพ จะทาํ ให้บุคคลอ่ืนรู้สกึ อบอ่นุ ใจ มองเห็นว่าเราเป็นทพี่ งึ่ ไดร้ สู้ ึกปลอดภยั เมื่ออยใู่ กล้ 3) ความนอบน้อมถอ่ มตน จะทาํ ให้บุคคลอนื่ ยกย่องนบั ถือ และจะเอย่ ถึงดว้ ยความภาคภูมิใจ 4) ความรจู้ กั กาลเทศะ จะทําให้เข้าใจวา่ ควรจะกลา่ วถึงเร่อื งใด เวลาใดท่เี หมาะสมและควรใชถ้ ้อยอยา่ งไร 5) การเปน็ ผู้รบั ฟ๎งที่ดี ฝึกใหม้ ีความใจเยน็ และเปน็ ท่ปี รึกษาท่ีดีพร้อมท่จี ะรบั ฟ๎งในประเด็นต่างๆ 6) การยอมรับผดิ และการให้อภัย บคุ คลทกุ คนมมี ิทธิที่จะทําความผดิ ได้ เพราะคนที่จะไม่ทําผิดก็คือคนที่ไม่ทาํ อะไรเลย ดงั นัน้ เมื่อเราทาํ ความผดิ เราก็ควรขอโทษและสญั ญาวา่ จะไมท่ าํ สิง่ นน้ั อกี ต่อไป ขณะเดยี วกนั บคุ คล อน่ื ก็ควรให้อภยั แก่คนที่ทําความผิด 7) การใหเ้ กียรตผิ ู้อน่ื เม่ืออยู่ในสังคมหรือมีผ้อู ่นื อย่ดู ว้ ย ควรแสดงกิรยิ ามารยาททีด่ ี 8) ความกตญั ํู เป็นสงิ่ ที่คนไทยให้ความสําคัญอย่างมาก คนที่กตัญํูอยทู่ ่ใี ดก็มีแตค่ นยกย่องสรรเสริญ 9) เห็นแกป่ ระโยชนส์ ่วนรวม เพื่อความสมานฉันท์ในสังคม 10) มีความรบั ผิดชอบต่อหน้าท่ตี นเอง เพื่อความเป็นระเบยี บในสังคม 11) ซ่ือสัตยส์ ุจรติ ซึง่ เป็นคุณธรรมพื้นฐานหนง่ึ ของมนษุ ย์ 12) มคี วามสามคั คี เพื่อลดป๎ญหาข้อขัดแยง้ ในสังคมเกณฑ์การใหค้ ะแนน ข้อสอบอตั นยัขอ้ เกณฑก์ ารให้คะแนน คะแนน 2.5 2 1.5 1 0.5 026 ตอบตรงประเดน็ ทถี่ าม มีการยกตวั อยา่ งตามคําส่งั สะกดคาํ สาํ คญั ทางประวตั ิศาสตรถ์ ูกต้อง รวมคะแนน ................ (หารดว้ ย 3)27 ตอบตรงประเด็นทถ่ี าม มีการยกตัวอยา่ งตามคาํ สัง่ สะกดคาํ สาํ คญั ทางประวตั ศิ าสตรถ์ กู ต้อง รวมคะแนน ................ (หารด้วย 3)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook