Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การจัดอาหารสำหรับผู้สูงอายุโรค เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง/ไขมันในเลือดสูง/หัวใจขาดเลือด / ตับ ไต เก๊าท์

วิชา การจัดอาหารสำหรับผู้สูงอายุโรค เบาหวาน / ความดันโลหิตสูง/ไขมันในเลือดสูง/หัวใจขาดเลือด / ตับ ไต เก๊าท์

Description: อาหารสำหรับผู้สูงอายุที่มีโรค DM HT
วันที่ 21 พฤษภาคม 2565
โดย อาจารย์อ้อฤทัย ธนะคำมา

Search

Read the Text Version

อาหารสาหรับผู้สูงอายุทม่ี ภี าวะโรค

อาหารของผสู้ ูงอายอุ ยา่ งถูกหลกั โภชนาคือการ รับประทานอาหารท่ีมีสารอาหารครบถว้ นเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของร่างกาย สามารถรักษาน้าหนกั ใหอ้ ยไู่ ด้ ในเกณฑเ์ ฉล่ีย การรับประทานอาหารเพือ่ สุขภาพ ควรมี เป้าหมายและถูกตอ้ งตามหลกั โภชนาการ คือ อาหารหลกั 5 หมู่ ไดแ้ ก่

การสร้างและรักษากลา้ มเน้ือ เน้ือเยอ่ื ท่ีแขง็ แรงสมบูรณ์และ สร้างภูมิตา้ นทานโรค ทาใหร้ ่างกายแขง็ แรงสาหรับ ผสู้ ูงอายคุ วรเลือกรับประทานปลา เพราะปลาส่วนใหญ่มี ไขมนั ต่าและยอ่ ยง่าย เน้ือสตั วอ์ ื่นตอ้ งเลือกท่ีไม่ติดมนั สบั ละเอียดหรือตม้ เป่ื อย ไข่ รับประทานได้ 3-4 ฟองต่อ สปั ดาห์ ถา้ มีปัญหาไขมนั ในเลือดสูง ใหเ้ ลือกรับประทาน เฉพาะไข่ขาว

หมูท่ ่ี 2มคี วามสาคญั ตอ่ รา่ งกาย คือ ให้ พลงั งาน ทาใหส้ ามารถเดนิ วง่ิ ทางานตา่ งๆได้ ในเดก็ จะชว่ ยใหก้ ารเจรญิ เตบิ โตถา้ รบั ประทาน เกินความตอ้ งการก็จะเปล่ยี นไปสะสมในสภาพ ของไขมนั ทาใหเ้ กดิ โรคอว้ นได้ ผูส้ งู อายคุ วรลด ปรมิ าณการรบั ประทานอาหารหมนู่ ้ีเพราะความ ตอ้ งการกาลงั งานในผูส้ ูงอายลุ ดลง เชน่ ขา้ ว เคยรบั ประทาน 3 ทพั พี ลดเหลอื 2 ทพั พี ตอ่ ม้อื

หมทู่ ่ี 3 ประกอบดว้ ยสารอาหารหลกั คอื ไขมนั ความสาคญั ตอ่ รา่ งกายคอื ชว่ ยใหร้ า่ งกายเกิดความอบอนุ่ ใหพ้ ลงั งาน เชน่ เดยี วกบั คารโ์ บไฮเดรต แตเ่ ป็นพลงั งานทรี่ า่ งกายสะสมไวด้ ว้ ย สามารถนาออกมาใชใ้ นเวลาจาเป็น ทาใหเ้ กิดความอว้ น เป็น สาเหตขุ องโรคตา่ งๆ เชน่ ความดนั โลหติ สูง หลอดเลือดทไ่ี ป เล้ียงหวั ใจอดุ ตนั และทาใหท้ อ้ งอดื เฟ้ อ เพราะยอ่ ยยาก ในเดก็ ไขมนั ชว่ ยในการเจรญิ เตบิ โตสาหรบั ผสู้ ูงอายุ ควรใชน้ า้ มนั พืช เชน่ นา้ มนั ถว่ั เหลือง นา้ มนั ราขา้ ว หลีกเล่ยี งนา้ มนั จากสตั ว์ นา้ มนั ปาลม์ และนา้ มนั มะพรา้ ว

หมทู่ ี่ 4อาหารจาพวกผกั ประกอบดว้ ย เกลือแร่ วติ ามิน ชว่ ยใหร้ า่ งกายแข็งแรง มี ใยอาหารและนา้ ชว่ ยทาใหท้ อ้ งไมผ่ ูกและไม่ อว้ น หมูท่ ี่ 5 อาหารจาพวกผลไม้ ใหส้ ารอาหาร ทส่ี าคญั เชน่ เดยี วกบั ผกั คอื เกลือแร่ วติ ามนิ ใยอาหารและนา้ ผสู้ งู อายุ รบั ประทานไดท้ กุ ชนิด ยกเวน้ ผลไมท้ มี่ ีรส หวานจดั

ความตอ้ งการสารอาหารในผูส้ งู อายุ 1. พลังงาน ในวัยสงู อายุ กจิ กรรมต่าง ๆ ลดลง การใช้แรงงานหนกั ต่าง ๆ ก็ นอ้ ยลง ดังน้นั ความต้องการพลังงานของผสู้ งู อายุจะลดลง ร้อยละ 20 - 30- ผ้สู งู อายุ ชาย อายุ 60 - 69 ปี ตอ้ งการพลงั งานเฉล่ยี ประมาณ 2200 กโิ ลแคลอรี/วนั - ผูส้ งู อายุหญงิ อายุ 60 - 69 ปี ต้องการพลังงานเฉล่ยี ประมาณ 1850 กิโลแคลอรี/ วนั - อายุ 70 ปขี ้นึ ไป ต้องการพลงั งานโดยเฉลี่ยลดลง 10 - 12 % ของกลมุ่ อายุ 60 - 69 ปี พลังงานที่ผู้สงู อายไุ ดร้ บั ไมค่ วรน้อยกวา่ 1200 กโิ ลแคลอรตี ่อวัน เพราะจะ ทาใหไ้ ดร้ บั สารอาหารไม่เพยี งพอ นอกจากรายจาเป็นจะต้องลดนา้ หนักตัว ถ้าไดร้ ับ พลงั งานนอ้ ยกวา่ ที่กาหนด ควรได้รบั วติ ามินและเกลอื แร่ในรปู ของยาเมล็ดเสรมิ ใหด้ ้วย

2. โปรตีน ควรไดพ้ ลงั งานจากโปรตนี ประมาณ 12 - 15 เปอรเ์ ซน็ ต์ ของพลงั งาน และควรเป็นโปรตนี ทม่ี คี ณุ ภาพ ไดแ้ ก่ อาหารจาพวก เน้ือสตั ว์ ไข่ นม และถวั่ เมล็ดแหง้ ตอ้ งการโปรตนี นอ้ ยกวา่ บุคคลในวยั เจรญิ เตบิ โต และวยั ทางาน เน่ืองจาก ไมม่ กี ารเสรมิ สรา้ งการเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย ตอ้ งการเพียงเพอื่ ซอ่ มแซมสว่ นทสี่ กึ หรอ รกั ษาระดบั ความสมดุลของรา่ งกายและป้ องกนั การ เสอื่ มสภาพของรา่ งกายกอ่ นวยั อนั ควรเทา่ นนั้

3. ไขมนั ผสู้ งู อายุมคี วามตอ้ งการพลงั งานลดลง จงึ ควรลดการบริโภค ไขมนั ลงดว้ ย โดยการกนิ อาหารพวกไขมนั แตพ่ อสมควร คอื ไมค่ วรเกิน รอ้ ยละ 25 - 30 ของปรมิ าณพลงั งานทง้ั หมด ทไี่ ดร้ บั ตอ่ วนั นา้ มนั ทใ่ี ชค้ วรเลอื กใชน้ ามนั พืชแทนนา้ มนั สตั ว์ เพ่ือป้ องกนั ไขมนั ในเลือดสงู ปรมิ าณนา้ มนั พืชทผี่ สู้ งู อายุควรไดร้ บั ประมาณ 2 - 3 ชอ้ นโตะ๊ ตอ่ วนั ในการประกอบอาหารตา่ งๆ

4. คารโ์ บไฮเดรท ผูส้ งู อายุ ไดร้ บั คารโ์ บไฮเดรท รอ้ ยละ 55% ของปรมิ าณพลงั งาน ทงั้ หมดตอ่ วนั การกนิ ควรอยูใ่ นรูป ของคารโ์ บไฮเดรทเชงิ ซอ้ น แป้ งท่ี เชงิ ซอ้ น เชน่ กลว้ ย ถว่ั เมล็ดแหง้ มนั ขา้ ว และแป้ ง เพราะนอกจาก รา่ งกายจะไดร้ บั คารโ์ บไฮเดรท แลว้ ยงั ไดว้ ติ ามนิ และแรธ่ าตุ

5. วิตามิน ตามปกติ ผูส้ งู อายมุ คี วามตอ้ งการ วติ ามนิ เทา่ กบั วนั หนุ่มสาวแตจ่ ะลดปรมิ าณ วติ ามินบางตวั ซงึ่ จะสมั พนั ธก์ บั ความตอ้ งการ ของพลงั งานทลี่ ดลง การทผ่ี ูส้ งู อายุกินอาหาร ออ่ น ๆ เนื่องจากมปี ัญหาเรอ่ื งฟัน อาจทาใหก้ าร ไดร้ บั วติ ามนิ บางอยา่ งไมเ่ พียงพอ แหล่งของ วติ ามินสว่ นใหญอ่ ยใู่ นผกั ผลไมส้ ด ดงั นนั้ ผูส้ ูงอายคุ วรไดก้ ินผกั ผลไมเ้ พียงพอในแตล่ ะวนั

6. แร่ธาตุ ผสู้ ูงอายุมีความตอ้ งการแรธ่ าตเุ ทา่ เดมิ แตส่ ่วนมากปัญหาคอื การกนิ ทไี่ มเ่ พียงพอแรธ่ าตุทส่ี าคญั และเป็นปัญหาในผสู้ ูงอายุ ไดแ้ ก่ 1 แร่ธาตเุ หลก็ ผสู้ งู อายุตอ้ งการแรธ่ าตเุ หล็กประมาณ 10 มลิ ิกรมั ตอ่ วนั 2 แคลเซยี ม การขาดแคลเซยี มพบมากในผสู้ ูงอายุ ทง้ั น้ีสาเหตุมาจากการ กนิ แคลเซยี มนอ้ ย นอกจากน้ีการดดู ซมึ และการเก็บไวใ้ นรา่ งกาย ยงั มีนอ้ ย กวา่ ในวยั หนุ่มสาว จงึ ทาใหเ้ กดิ ปัญหาโรคกระดกู พรุน อาหารทเี่ ป็นแหลง่ ของแคลเซยี ม ไดแ้ ก่ นม ปลาเล็กปลานอ้ ย กุง้ แกง้ เป็นตน้

7. นา้ ความสาคญั ตอ่ รา่ งกายมาก ชว่ ยใหร้ ะบบยอ่ ยอาหาร และการขบั ถา่ ยของเสยี สว่ นมากผสู้ ูง อายจุ ะดมื่ นา้ ไมเ่ พียงพอ ดงั นนั้ ผสู้ งู อายุควรดม่ื นา้ ประมาณ 6 - 8 แกว้ เป็นประจาทกุ วนั 8. เสน้ ใยอาหารการกนิ เสน้ ใยอาหารทาใหถ้ ่ายอจุ จาระไดส้ ะดวก ทาใหร้ า่ งกายไม่หมกั หม่ สง่ิ บูดเนา่ และสารพิษบางอยา่ งไวใ้ นรา่ งกายนานเกนิ ควร จงึ ควรป้ องกนั การเกดิ มะเรง็ ในสา ไสใ้ หญไ่ ด้ คณุ สมบตั พิ ิเศษของเสน้ ใยอาหารทป่ี ้ องกนั โรคดงั กลา่ วได้ นอกจาจะไมถ่ กู ยอ่ ย ดว้ ยนา้ ยอ่ ย แตด่ ูดนา้ ทาใหอ้ จุ จาระนุม่ มนี า้ หนกั และถา่ ยง่ายแลว้ เสน้ ใยอาหารยงั มีไขมนั และ แคลอรตี า่ มาก

การประเมินภาวะโภชนาการใน ผูส้ งู อายุ

องคก์ ารอนามัยโลกแนะนาวา่ การคานวณหาค่าดัชนีมวลกาย สามารถนามาใชใ้ นการประเมนิ ผลภาวะโภชนาการ ในผู้สงู อายุไดด้ ี โดยเฉพาะผสู้ ูงอายรุ ะหว่าง 60 - 69 ปี ค่าดัชนีมวลกาย (BODY MASS INDEX) น้าหนกั ปกติ ค่าอย่รู ะหว่าง 18.5 - 24.9 กก./ม2 ภาวะโภชนาการเกิน คา่ อยูร่ ะหวา่ ง 25 - 29.9 กก./ม2 โรคอว้ น คา่ อย่รู ะหวา่ ง 30 กก./ม2 ข้ึนไป

ขอ้ พจิ ารณาในการกาหนดอาหารสาหรบั ผูส้ งู อายุ 1.ความตอ้ งการอาหาร และการเตรยี มอาหารในผูส้ งู อายุ เรอ่ื ง ความเปลย่ี นแปลงทง้ั ทางร่างกาย จติ ใจ อารมณแ์ ละสงั คม ตลอดจน ประสทิ ธิภาพในการทางานของอวยั วะ และระบบต่าง ๆ ซงึ่ มีผลต่อการไดร้ บั และการใชอ้ าหารของร่างกาย ซง่ึ สภาพการเปลย่ี นแปลงต่าง ๆ ในผูส้ งู อายุน้ี เป็ นการยากมาก ที่จะกาหนดการบรโิ ภคอาหาร เพราะจะตอ้ งใหเ้ หมาะสมกบั สภาพการณต์ ่าง ๆ ที่เปลยี่ นไป และความตอ้ งการของร่างกาย

2.การจดั อาหารบรโิ ภคประจาวนั และการจดั อาหารเฉพาะโรคใน กล่มุ ผูส้ งู อายุ มคี วามแตกตา่ งกนั ในแตล่ ะบุคคล ข้นึ อยกู่ บั สภาพแวดลอ้ ม เศรษฐานะ และสาขาวชิ าชพี เพราะ มีพฤตกิ รรมสะสม ดา้ นอาหารและโภชนาการแตกตา่ งกนั จงึ ตอ้ งมกี ารประยุกตก์ ารปฏิบตั ิ เกย่ี วกบั อาหาร ใหใ้ กลเ้ คยี งกบั พฤตกิ รรมสะสมของแตล่ ะคน ตลอดจน สภาพรา่ งกายทเ่ี ปลยี่ นไป และโรคประจาตวั ของแตล่ ะคน

3. การใหโ้ ภชนาศกึ ษา มผี ลตอ่ พฤตกิ รรมของผูส้ งู อายุนอ้ ย มาก เนื่องจากไดถ้ ูกปลกู ฝังมาตงั้ แตเ่ ดก็ และคนุ้ เคยมาชา้ นาน จงึ ยากตอ่ การเปลี่ยนแปลง เพราะฉะนน้ั การสง่ เสรมิ โภชนาการจงึ ควรพิจารณาพฤตกิ รรมการกิน ในอดตี แลว้ ปรบั ปรุงเพ่ือใหไ้ ด้ สารอาหารทเ่ี หมาะสมกบั สภาพรา่ งกายทเ่ี ปลยี่ นไปและโรค ประจาตวั ตา่ ง ๆ ทมี่ ผี ลตอ่ อาหารทบ่ี รโิ ภคและความตอ้ งการ อาหารของรา่ งกาย

หลกั สาคญั ในการจดั อาหารสาหรบั ผูส้ งู อายุ 1. อาหารควรมีปรมิ าณและคณุ ภาพเพยี งพอกบั ความตอ้ งการของร่างกาย 2. แบ่งอาหารออกเป็ น 4-5 ม้ือ โดยเพม่ิ ม้ือสายและม้ือบ่ายใหม้ ้ือกลางวนั เป็ นอาหาร หลกั เพอื่ ช่วยลดปัญหาแน่นทอ้ งหลงั อาหาร 3.ดดั แปลงอาหารใหเ้ ค้ยี วงา่ ย รสไม่จดั มาก จดั แต่งอาหารใหด้ นู ่ารบั ประทานและจดั เสริ ฟ์ อาหารในขณะรอ้ นจะช่วยกระตนุ้ ใหอ้ ยากอาหาร

สรุปไดว้ า่ อาหารสาหรบั วยั สูงอายุนน้ั นอกจากจะตอ้ งเหมาะสม ทงั้ ชนิดของอาหารและปรมิ าณของอาหารทไี่ ดร้ บั แลว้ ผจู้ ดั อาหารตอ้ ง คานึงถึงรสชาตขิ องอาหารดว้ ยผสู้ ูงอายุมีความอยากอาหารนอ้ ยกวา่ วยั อน่ื และตอ้ งคานึงถึงอาหารเฉพาะโรคดว้ ยการรบั ประทานอาหารที่ เหมาะสมกบั วยั และตอ้ งสง่ เสรมิ ใหผ้ สู้ ูงอายุมีสุขภาพดแี ละชะลอการเกิด พยาธิสภาพของรา่ งกายในผสู้ งู อายุ



กินอยา่ งไรเม่ือเป็นเบาหวาน การ หวั ใจสาคญั ของ ควบคุมเบาหวาน คือการกินอาหารใหพ้ อดีกบั ความ ตอ้ งการของร่างกายไม่มากหรือ นอ้ ยเกินไป การกินมากเกินไปจะทาให้ น้าตาลข้ึนสูงหรือ ข้ึนเร็วเกินไป ในขณะเดียวกนั ถา้ กินนอ้ ยเกินไปอาจทา ใหร้ ะดบั น้าตาลในเลือดต่าเกินไปจนเป็นอนั ตรายได้  * หลกั การกินอาหารสาหรับผทู้ ่ีเป็นเบาหวานกไ็ ม่แตกต่างจากหลกั การกิน เพือ่ ใหม้ ีสุขภาพท่ีดีของคนทวั่ ไป คือการกินอาหารใหค้ รบทกุ หมวดหมู่ให้ ถูกสัดส่วน ปริมาณพอเหมาะ และมีความหลากหลาย



อาหารสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวานแบ่งง่ายๆ ออกเป็น 3 ประเภท คือ  ประเภท 1. อาหารทห่ี า้ มกิน  * นา้ ตาล  * ผลไมท้ ม่ี รี สหวานจดั  * เครอ่ื งดม่ื  ควรดมื่ นา้ เปลา่ หรอื นา้ ชาไมใ่ สน่ า้ ตาล ถา้ ดม่ื กาแฟ ควรดมื่ กาแฟดาไมใ่ สน่ า้ ตาล หรอื ใชน้ า้ ตาลเทยี ม

ประเภทที่ 2 อาหารท่ีกินไดไ้ ม่จากดั จานวน ไดแ้ ก่ ผกั ใบเขียวทุกชนิด เช่น ผกั กาด ผกั คะนา้ ผกั กวางตุง้ ถวั่ ฝักยาว ผกั บุง้ ฯลฯ นามาทาเป็นอาหารชนิดต่างๆ ตวั อยา่ งเช่น ตม้ จืด ยา สลดั ผดั ผกั เป็นตน้ อาหารเหล่าน้ีมีพลงั งานต่า นอกจากน้นั ยงั มีกากใยอาหารท่ีเรียกวา่ ไฟเบอร์ ซ่ึงทาใหก้ ารดูด ซึมน้าตาลชา้ ลง

แต่ประเภทท่ี 3 อาหารที่กินได้ ตอ้ งเลือกชนิด หรือจากดั จานวน ผปู้ ่ วยควรเลือกกินอาหารหลากหลายชนิด เพอ่ื ใหไ้ ดส้ ารอาหารครบถว้ นท่ีร่างกายตอ้ งการ โดยเลือกกินอาหารตามกลุ่มต่างๆ ซ่ึงหมายถึง อาหารแลกเปลี่ยนสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวาน

อาหารแลกเปล่ียนสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวาน อาหารแลกเปลี่ยน หมายถึง การแบ่งอาหารออกเป็ นหมวดหมู่ ในแต่ละหมวดใหพ้ ลงั งานและสารอาหารใกลเ้ คียงกนั เพื่อใชใ้ นการคานวณและกาหนดอาหาร จดั สดั ส่วนอาหารใหเ้ หมาะสมในแต่ละบุคคล สามารถควบคุมปริมาณอาหารใหไ้ ดต้ ามกาหนด ช่วยใหผ้ ปู้ ่ วยสามารถควบคุมระดบั น้าตาลไดด้ ี เลือก รับประทานอาหารไดห้ ลากหลายชนิดและเขา้ ใจคุณค่าทาง โภชนาการของอาหารไดง้ ่ายข้ึน



ปริมาณอาหารในแต่ละหมวดใชห้ น่วยนบั เป็น ” ส่วน” หรือ ” Exchange” เป็นอาหารท่ีสุกแลว้ ในแต่ ละหมวดมีอาหารหลากหลายใหแ้ ลกเปลี่ยนกนั ได้  ถา้ ไม่กินขา้ วสามารถเปลี่ยนเป็นขนมปังหรือ ก๋วยเตี๋ยวหรือขนมจีนในปริมาณท่ีกาหนดซ่ึงจะให้ พลงั งานและสารอาหารในปริมาณใกลเ้ คียงกนั ดงั รายละเอียดของอาหารแลกเปลี่ยนในแต่ละหมวด ดงั น้ี

1. หมวดนม

ข้อควรระวงั นมและผลิตภณั ทข์ องนมไขมนั เตม็ ส่วน จะมไี ขมันอม่ิ ตวั และโคเรสเตอรอล ดงั น้นั ผทู้ ี่มีระดบั โคเรสเตอรอลในเลือดสูงควรเลือกชนิดพร่องมนั เนย หรือขาดมนั เนย นมท่ีมีการปรุงแต่งทุกชนิด เช่น ชนิดหวาน นมรสสตรอเบอร่ี หรือรสช็อคโกแลต รวมท้งั นมเสริมน้าผลไมท้ ุกชนิด มปี ริมาณ น้าตาลสูง ควรหลีกเล่ียง ควรหลีกเล่ียงผลิตภณั ทน์ ม เช่น เนยแขง็ หรือ ชีส (Cheese) เพราะ จดั อยใู่ นหมวดเน้ือสตั ว์

2. หมวดผกั ประเภท ก. เป็นผกั ท่ีใหพ้ ลงั งานต่ามากถา้ รับประทานไม่ถึงม้ือละ 1-2 ส่วน ไม่ตอ้ งนามาคิดเป็นพลงั งาน มกั จะใชเ้ ป็นสมุนไพรแต่งกลิ่นหรือรสอาหาร

ประเภท ข. เป็นผกั ท่ีรับประทานไดใ้ นปริมาณที่ให้ พลงั งาน

3. หมวดผลไม้

4. หมวดขา้ ว-แป้ง

5. หมวดเน้ือสตั ว์  แบ่งเป็นหลายหมวดตามปริมาณไขมนั ที่แทรกอยใู่ นเน้ือสตั วน์ ้นั  เน้ือสตั วป์ ระเภท ก.ไขมนั ต่ามาก

เน้ือสตั วป์ ระเภท ข.ไขมนั ต่า

เน้ือสตั วป์ ระเภท ค ไขมนั ปานกลาง

เน้ือสตั วป์ ระเภท ง ไขมนั สงู

6. หมวดไขมนั  ประเภทที่ 1 กลุม่ ไขมนั ทม่ี ีกรดไขมนั ไมอ่ ม่ิ ตวั ตาแหน่งเดยี ว (MUFA)

ประเภทที่ 2 กลุม่ ไขมนั ทมี่ ีกรดไขมนั ไม่อม่ิ ตวั หลายตาแหน่ง(PUFA)

ประเภทท่ี 3 กลุม่ ไขมนั ทม่ี ีกรดไขมนั อม่ิ ตวั (SAT)

หน่วยตวงท่ีควรทราบ 3 ชอ้ นชา = 1 ชอ้ นโตะ๊ = 15 มล. 4 ชอ้ นโตะ๊ = 1/4 ถว้ ยตวง = 60 มล. 1/2 ถว้ ยตวง = 1 ทพั พี

ปริมาณและสดั ส่วนอาหารสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวานต่อวนั

 แบบฟอรม์ บนั ทึกสาหรบั ผูป้ ่ วยเบาหวาน  ปรมิ าณและสดั สว่ นอาหารสาหรบั ชอ่ื .........................................................................  นา้ หนกั ตวั ปัจจบุ นั ....................กิโลกรมั  นา้ หนกั ตวั ทค่ี วรจะเป็น....................กิโลกรมั  พลงั งานทคี่ วรไดร้ บั ใน 1 วนั .............................กิโลแคลอรี

สรุปการกินอาหารเพื่อควบคุมระดบั น้าตาลในเลือด กนิ อาหารให้หลากหลาย ครบทุกหมวดหมู่ เพราะจะไดร้ ับสารอาหารที่ ครบถว้ น  กนิ ในปริมาณทส่ี มา่ เสมอ และคงท่ี ไม่ควรกินมากเกินไป หรือนอ้ ยเกินไป ในบางม้ือ จะทาใหร้ ะดบั น้าตาลในเลือดควบคุมไดย้ าก  ผู้ทม่ี นี า้ หนักเกนิ ต้องลดปริมาณลง อาจจะเหลือเพียงคร่ึงหน่ึงของท่ีเคยกิน  หลกี เลยี่ งการกนิ จุกจกิ และกนิ อาหารไม่ตรงเวลา อาจเกิดน้าตาลในเลือดต่า เกินไป  กนิ ข้าว ก๋วยเตย๋ี ว ขนมปัง ได้ตามปกติ ไม่ตอ้ งลดลงมาก นอกจากผทู้ ี่อว้ น ใหล้ ดลงคร่ึงหน่ึง  กนิ โปรตนี พอควรโดยเลือกเนื้อสัตว์ไม่ตดิ มนั และหนัง เลือกโปรตีนจากเน้ือ ปลา เน้ือไก่ไม่ติดหนงั และโปรตีนที่มีจากถว่ั ตา่ งๆ และเตา้ หู้

สรุปการกินอาหารเพื่อควบคุมระดบั น้าตาลในเลือด กนิ ไข่สัปดาห์ละ 2-3 ฟอง ถา้ ไขมนั ในเลือดสูงใหง้ ดไขแ่ ดง กนิ ผลไม้ตามจานวนทก่ี าหนด วนั ละ 2-3 คร้ังแทนขนม กนิ ผกั ให้มากขึน้ ทุกมื้อ โดยเฉพาะผกั ใบชนิดต่างๆ ใหห้ ลากหลายสี กนิ อาหารทมี่ เี ส้นใยมาก เช่น ขา้ วกลอ้ ง ถวั่ ฝักยาว ถวั่ แขก ผกั ทุกชนิด ใชน้ ้ามนั พืชจาพวกน้ามนั ถวั่ เหลืองในการผดั น้ามนั ราขา้ วในการทอด หรือผดั อาหารแต่พอควร กนิ อาหารทมี่ ไี ขมันน้อย เช่น ตม้ น่ึง ยา่ ง ผดั ท่ีใชน้ ้ามนั นอ้ ยแทนการทอด หลกี เลยี่ งอาหารใส่กะทิ อาหารทอด รวมท้งั ขนมอบ เช่น พาย พฟ๊ั เพสตร้ี ฯลฯ

สรุปการกินอาหารเพ่อื ควบคุมระดบั น้าตาลในเลือด  หลกี เลยี่ งนา้ หวาน นา้ อดั ลม ลกู อม ช็อกโกแลตและขนมหวานชนิดต่าง ๆ ใชน้ ้าตาลเทียมใส่เคร่ืองด่ืมและอาหารแทนการใชน้ ้าตาลทราย  เลือกดื่มนา้ นมไม่มไี ขมนั น้านมพร่องมนั เนยแทนน้านมปรุงแต่งรส  ผทู้ ี่เป็นความดนั เลือดสูง หรือโรคไตร่วมดว้ ย ไม่ควรกนิ อาหารรสเคม็ จัด ควรจะลดอาหารเคม็  ผ้ปู ่ วยทร่ี ักษาด้วยยาฉีดอนิ ซูลนิ ทฤี่ ทธ์ิยาอย่ไู ด้นาน 24 ช่ัวโมง และออก ฤทธ์ิสูงสุดในตอนเยน็ หรือกลางคืน อาจตอ้ งจดั แบ่งอาหารออกเป็น 4-6 ม้ือ โดยเพมิ่ อาหารวา่ งตอนบ่ายและม้ือกลางคืน เพือ่ ป้องกนั ภาวะน้าตาลต่า เกินไป ควรจดั แบ่งปริมาณใหเ้ หมาะสม ไม่ใหบ้ างม้ือมากเกินไป หรือบาง ม้ือนอ้ ยเกินไป

 ผปู้ ่ วยโรคเบาหวานในปัจจุบนั มีอิสระในการเลือกอาหารมากข้ึน และ อาหารเบาหวานกม็ ิไดแ้ ตกต่างจากอาหารคนปกติ แต่จะเป็น  ลกั ษณะของอาหารทมี่ ีนา้ ตาลน้อย ไขมนั ตา่ รสอ่อนเคม็ ซ่ึงเป็ นอาหารที่ เหมาะสมสาหรับทุกคน มิใช่เฉพาะผปู้ ่ วยเบาหวานเท่าน้นั  ผปู้ ่ วยเบาหวานจาเป็ นต้องเรียนรู้วธิ ีการเลือกชนิดอาหาร ปริมาณท่ี กนิ การแลกเปลย่ี นและการทดแทนอาหาร เพื่อจะสามารถควบคุมระดบั น้าตาลในเลือดไดอ้ ยา่ งสม่าเสมอ. ถึงแมร้ ะดบั น้าตาลในเลือดปกติแลว้ ผปู้ ่ วยกต็ อ้ งคุมอาหารตลอดไปขอใหฝ้ ึ กปฏิบตั ิจนเป็นนิสยั แลว้ จะรู้สึกวา่ ไม่ใช่เป็ นเร่ื องยากในการควบคุมอาหาร

ตวั อยา่ งรายการอาหารสาหรับผปู้ ่ วยเบาหวาน 1 สปั ดาห์ หมายเหตุ:ผปู้ ่ วยทเ่ี ป็นเบาหวานเครอื่ งดม่ื ไมต่ อ้ งใสน่ า้ ตาลหรอื ใชน้ า้ ตาลเทยี มแทน