Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา ความเครียดของผู้ดูแลและการผ่อนคลายความเครียด

วิชา ความเครียดของผู้ดูแลและการผ่อนคลายความเครียด

Description: วันที่ 7 พฤษภาคม 2566
โดย อาจารย์หทัยรัตน์ สายมาอินทร์

Search

Read the Text Version

หทยั รตั น์ สายมาอนิ ทร ์ ค.บ.,พย.ม. APN การพยาบาลจติ เวชและสุขภาพจติ



ความเครยี ด หมายถงึ ที่มา: กรมสขุ ภาพจติ กระทรวงสาธารณสขุ อาการท่ีสมองไมไ่ ด้ผ่อนคลายเพราะ คร่าเครง่ อยกู่ บั สิ่งหน่งึ สง่ิ ใดมาก เกินไป อาการที่จติ ใจเขม็งเกลยี ว เพราะถูกกดดันจากส่งิ ใดส่งิ หนง่ึ ทม่ี า: ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2546

ความเครยี ด >> เป็นพฤตกิ รรมตอบสนองทเ่ี กดิ ข้นึ เมอ่ื มคี วามวติ กกงั วล มคี วามคบั ขอ้ งใจ มี >> เป็นสภาวะทเ่ี กิดข้นึ เมอ่ื มสี ง่ิ เรา้ หรอื ส่ิงกระตนุ้ ซง่ึ อาจเป็น ความโกรธ ไม่สามารถ ปรบั ตวั ใหเ้ ขา้ กับ รูป รสกลน่ิ เสยี ง สง่ิ สมั ผสั ตลอดจนความรูส้ กึ นึกคิดเขา้ มากระทบ สถานการณ์หรือมีความลาบากในการ พจิ ารณาตดั สนิ ใจ Robert (1987) กบั ตา ล้ิน หู กาย และจิตใจของคนเราในสถานการณ์ท่ีบีบคั้น ทม่ี า: สถาบนั กลั ยาราชนครนิ ทร์ กระทรวงสาธารณสุข กดดนั หรือคุกคามใหเ้ กิดความทกุ ข์ ความไม่สบายใจ ทาใหม้ กี าร เ ป ล่ี ย น แ ป ล ง ข อ ง ส ภ า พ จิ ต ใ จ แ ล ะ ร่ า ง ก า ย Lazarus&Folkman,(1984)





รา่ งกายเกิดความเครียด >> ความเครียด กระต้นุ Hypothalamus ใหห้ ลงั่ corticotropin-releasing hormone (CRH) ทบ่ี รเิ วณ anterior pituitary CRH จะไปชกั นาใหม้ กี ารหลงั่ ของ adrenocorticotropic hormone (ACTH) ซง่ึ จะไปกระตนุ้ ต่อมหมวกไตใหม้ กี ารผลติ และหลงั่ คอรต์ ซิ อล คอรต์ ซิ อล >>> ทาหนา้ ท่สี าคญั ในการควบคมุ กระบวนการทางดา้ นสรรี วทิ ยา (physiological process) เช่นความดนั เลอื ด ระดบั น้าตาล และเมแทบอ ลซิ ึมของคารโ์ บไฮเดรต เป็นตน้ >>> ทาหนา้ ท่ใี นการรกั ษาสมดุลของระบบหลอดเลอื ดหวั ใจ ภมู คิ มุ้ กนั ไต กระดูกและตอ่ มไรท้ ่อ เป็นตน้ เม่อื ระดบั ของคอรซ์ ิ ตอลเพม่ิ มากข้ึนจะทาใหเ้ กดิ การยบั ยง้ั การอกั เสบ กดการทางานของระบบภมู คิ มุ้ กนั เพม่ิ ระดบั ของกรดไขมนั และกรดอะมโิ นในเลอื ด

ขอบคณุ ภาพ : พมิ พช์ นก หาคา

ชนิดของความเครยี ด Gallagher ไดแ้ บ่งชนิดของความเครียดเป็น 2 ชนิด คือ 1. ความเครยี ดทเ่ี กิดจากมคี วามทกุ ข์ “Distress”หมายถึง สิ่งตา่ ง ๆ ท่ี ก่อใหเ้ กิดความไม่สบายใจ และนาไปสู่ความรู้สึกคบั ขอ้ งใจ 2. ความเครียดที่เกดิ จากมีความสขุ “Eustress” เป็นความเครียดเนื่องจากมี ความสุขเพลิดเพลิน สนุกสนาน เตม็ ไปดว้ ยความยนิ ดี

ความเครยี ดเป็ น 2 ชนิด คอื 1. ความเครียดดา้ นร่างกาย (Physical Stress) 1.1 ความเครยี ดแบบเฉียบพลนั (Emergency Stress) เป็นสถานการณท์ ่ี คุกคามต่อชวี ติ อยา่ งรุนแรง และเกดิ ข้นึ โดยกระทนั หนั เช่น การไดร้ บั บาดเจบ็ หรอื ประสบ อบุ ตั เิ หตทุ ่ี รุนแรง เป็นตน้ 1.2 ความเครยี ดแบบต่อเน่อื ง (Continuing Stress) เป็นสถานการณท์ ค่ี ุม คามชวี ติ อย่างต่อเน่ือง เช่น การเจบ็ ป่วยดว้ ยโรคเร้อื รงั ความพกิ าร หรอื ทพุ พลภาพ เป็นตน้ 2. ความเครยี ดดา้ นจติ ใจ (Psychological Stress) เป็นการตอบสนอง ความเครยี ด ของร่างกายทนั ทเี มอ่ื มสี ง่ิ เรา้ มากระตนุ้ ใหด้ ลุ ยภาพของจติ ใจเสยี ไป จนทาใหบ้ ุคคล นน้ั เกดิ ความ วา้ วุน่ ใจ และกระทบกระเทอื นต่อการปฏบิ ตั หิ นา้ ทต่ี ่าง ๆ

สาเหตุของความเครียด มี 3 ทาง คอื 1. ความเครียดที่เกิดจากการสูญเสีย เป็นการสูญเสียสิ่งท่ีมีค่า สิ่งท่ีเป็นของรักหรือ มีความสาคัญต่อตน หรือ เป็นเพียงความรู้สึกหว่ันเกรงจะสูญเสียสิ่งท่ีมีค่า หรือทรัพย์สมบัติของ ตนก็ทาให้เกิดความรู้สึกเครียดขึ้นได้ ตัวอยา่ งการ สูญเสียหรือเกรงว่าจะสูญเสีย ที่ทาให้เกิด ความเครียด ได้แก่ การสูญเสียญาติมิตรสหาย การสูญเสียอวัยวะร่างกาย การ สญู เสยี หนา้ ท่ี การงาน และบทบาทในสงั คม เปน็ ต้น 2. ความเครยี ดทเ่ี กิดจากการได้รับอนั ตราย หรือเกรงว่าจะได้รับอันตราย เช่น การ ท่ีจะต้องอยู่ในภาวะสงคราม อยู่ในที่ซง่ึ ไม่คุ้นเคยหรือไม่ปลอดภัย การพบเหตุการณ์ท่ีน่าตกใจ โดยไม่คาดคิด การต้องสอบแข่งขัน การต้องรับผิดชอบ ในหนา้ ทที่ ไี่ มเ่ คยทามากอ่ น 3. ความเครียดท่ีเกิดจากความคับข้องใจอันเนื่องมาจากความต้องการของสัญชาตญาณไม่สมปรารถนา โดย ท่ีมนุษย์เรามีความต้องการทางร่างกาย จิตใจ และทางสังคมในการดารงชีวิต เมื่อความต้องการเหล่าน้ันไม่เป็นไปตาม ความต้องการหรือความคาดหวังก็จะเกิดความ คับข้องใจ แสดงออกในรูปความเครียด เช่น ความหิว ความต้องการทาง เพศ ความรัก ความ อยากมชี ื่อเสยี ง เปน็ ต้น

อาการของความเครยี ด อาการทางกายทีบ่ ่งบอกวา่ มคี วามเครียด 1. ปัสสาวะบอ่ ย 2. นอนไมห่ ลับ 3. ไม่สามารถควบคมุ การรบั ประทานอาหารได้ 4. เบอ่ื อาหาร 5. ถา่ ยท้อง 6. หวั ใจเตน้ แรง 7. รสู้ กึ อึดอัดท่ีหัวใจ 8. ความดันโลหติ สงู 9. มีอาการเวยี นศรี ษะ 10. กระวนกระวายใจ

อาการของความเครยี ด ทางด้านอารมณ์ คนท่ีมีความเครียดจะรู้สึกว่าปะติดปะต่ออะไรไม่ค่อยได้ จับต้น ชนปลายอะไรไม่ถูก และคับข้องใจ รู้สึกเศร้าอยา่ งแรง ตัดสินใจไม่ได้ ช่วยตนเองไม่ได้ ทาอะไร ไม่ได้ รู้สึกราคาญใจ จกุ จิก แยกตวั ไมอ่ ยากเกี่ยวขอ้ งสมั พนั ธก์ ับใคร ไมค่ อ่ ยสนใจกบั ส่งิ แวดลอ้ มรอบ ๆ ตัว

อาการของความเครยี ด ความเปล่ยี นแปลงทางพฤตกิ รรม  รบั ประทานอาหารมากข้นึ หรอื นอ้ ยลงกวา่ ปกติ  มกั โกรธและอาละวาดไดง้ า่ ย  สูบบหุ ร่ี หรอื ใชส้ ารเสพตดิ อน่ื ๆ  ไมเ่ ขา้ สงั คม ไม่พบปะผูค้ น รวมทงั้ ไมส่ นใจสง่ิ รอบตวั  ทากจิ กรรมต่าง ๆ หรอื ออกกาลงั กายเคลอ่ื นไหวร่างกายนอ้ ยลง



การรกั ษา •ปรกึ ษาแพทย์ การปรกึ ษาจติ แพทย์ ถอื เป็นวธิ รี กั ษาโรคเครยี ดทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพ •บาบดั ทางสงั คมจติ ใจ เช่น การปรบั ความคดิ และพฤตกิ รรม ความเครยี ดทเ่ี กดิ ความวติ กกงั วลและอาการไมด่ ขี ้นึ จะไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยวธิ บี าบดั ความคดิ และพฤตกิ รรม (Cognitive Behavioural Therapy: CBT) การบาบดั ความคดิ และพฤตกิ รรมเป็นวธิ จี ติ บาบดั ทม่ี แี นวคดิ วา่ ความคดิ บางอย่างของผูป้ ่วยส่งผลต่อปญั หา สุขภาพจติ ผูป้ ่วยโรคเครยี ดอาจไดร้ บั การบาบดั ระยะสนั้ ช่วยปรบั ความรูส้ กึ และความคดิ ของผูป้ ่วย รวมทงั้ ช่วยให้ ผูป้ ่วยเขา้ ใจวา่ ความคดิ บางอยา่ งนนั้ ไมถ่ กู ตอ้ ง และปรบั ทศั นคตขิ องผูป้ ่วยทม่ี ตี ่อสง่ิ ต่าง ๆ ใหม้ องทกุ อย่างไดถ้ กู ตอ้ งและ ตรงตามความเป็นจรงิ •ใชย้ ารกั ษา แพทยอ์ าจจ่ายยารกั ษาโรคเครยี ดใหแ้ ก่ผูป้ ่วยบางราย โดยผูป้ ่วยมกั จะไดร้ บั การรกั ษาดว้ ยยาเป็น ระยะเวลาสนั้ ๆ เพอ่ื บรรเทาอาการปวดของร่างกาย ปญั หาการนอนหลบั หรอื อาการซมึ เศรา้ โดยยาทใ่ี ชร้ กั ษาโรค เครยี ด เช่น ไดอะซีแพม (Diazepam) เป็นตน้

การประเมนิ ความเครยี ด แบง่ ระดบั ความเครยี ดไว้ 3 ระดบั ดงั น้ี 1. ความเครยี ดระดบั ตา่ (Mild Stress) คอื มคี วามเครยี ดเกดิ นอ้ ยมาก และหมดไปในระยะเวลาอนั สนั้ เพยี งวนิ าที หรอื ภายในชวั่ โมงเทา่ นน้ั มกั เก่ยี วขอ้ งกบั สาเหตเุ พยี งเลก็ นอ้ ย ไดแ้ ก่ เหตกุ ารณใ์ นชวี ติ ประจาวนั เช่น ไปทางานไม่ทนั เวลา ฯลฯ 2. ความเครยี ดระดบั กลาง (Moderate stress) ความเครยี ดระดบั น้รี ุนแรงกวา่ โดยมรี ะยะเวลานานเป็นชวั่ โมง หรอื หลาย ๆ ชวั่ โมง จนกระทงั่ นานเป็นวนั กไ็ ด้ เช่น การเจบ็ ป่วยทไ่ี ม่รุนแรง ความเครยี ดจากความกงั วลมากไป ความขดั แยง้ กบั เพอ่ื นร่วมงาน เป็นตน้ 3. ความเครยี ดระดบั สูง (Severe Stress) ความเครยี ดระดบั น้จี ะอยูน่ านเป็นสปั ดาห์ เป็นเดอื น เป็นปีก็ได้ เช่น การตาย จากการเจบ็ ป่วยทร่ี ุนแรง การเจบ็ ป่วยทเ่ี ร้อื รงั การสูญเสยี ของอวยั วะทม่ี คี วามสาคญั ต่อการ ดารงชวี ติ ต่อ

การประเมนิ ความเครยี ดด้วยตนเอง (คาถาม 20 ข้อ) ในระยะเวลา 2 เดอื นท่ผี ่านมาน้ี ท่านมอี าการ พฤติกรรม หรือความรูส้ กึ ต่อไปน้ีมากนอ้ ยเพยี งใด โปรดทาเคร่ืองหมายลงใน ช่องทแ่ี สดงระดบั อาการทเ่ี กดิ ข้นึ กบั ตวั ทา่ น ตามความเป็นจรงิ มากทส่ี ุด https://www.programmerthailand.com/health/self-check/stress

การประเมนิ ความเครยี ดดว้ ยตนเอง (คาถาม 20 ขอ้ )

การประเมนิ ความเครยี ดดว้ ยตนเอง (คาถาม 5 ข้อ) http://www.jvkk.go.th:8080/web_jvkk_th/recaptcha/form_st

การประเมนิ ความเครยี ดดว้ ยตนเอง (คาถาม 5 ข้อ) http://www.jvkk.go.th:8080/web_jvkk_th/recaptcha/form_st

การประเมนิ ความเครียด ตรวจวัดคอรต์ ซิ อล การตรวจวัดคอรต์ ซิ อลสามารถวัดจากสารคดั หลง่ั ของรา่ งกายเชน่ ปสั สาวะ เลอื ด เหงื่อ และน้าลาย นอกจากนย้ี ังสามารถตรวจวดั ไดจ้ ากเส้นผมคอร์ตซิ อลในสารคดั หล่ังตา่ งชนิดกนั กจ็ ะมี ปรมิ าณท่แี ตกต่างกัน เชน่ ตัวอย่างปัสสาวะ มีระดับของคอรต์ ิซอลปกติอยู่ที่ 10-100 µg/24h แมว้ ่าคอรต์ ซิ อลในปัสสาวะจะอยูใ่ นรูป active form ซ่ึงเป็ นรูปท่อี ิสระไมจ่ บั กบั สารโมเลกุลอน่ื แต่การตรวจวดั ปริมาณคอรต์ ซิ อลในปัสสาวะไมเ่ ป็นท่นี ิยม เน่ืองจากจะตอ้ งเกบ็ ตวั อย่างตลอดในช่วงเวลา 24 ช่วั โมง สาหรบั ตวั อย่างเลอื ด ค่าปกตขิ องคอรต์ ิซอลจะมคี ่าประมาณ 25 mg/dL – 2 mg/dL

การประเมนิ ความเครียด ตรวจวัดคอรต์ ซิ อล การตรวจวัดคอรต์ ซิ อลสามารถวัดจากสารคดั หลง่ั ของรา่ งกายเชน่ ปสั สาวะ เลอื ด เหงื่อ และน้าลาย นอกจากนย้ี ังสามารถตรวจวดั ไดจ้ ากเส้นผมคอร์ตซิ อลในสารคดั หล่ังตา่ งชนิดกนั กจ็ ะมี ปรมิ าณท่แี ตกต่างกัน เชน่ ตัวอย่างปัสสาวะ มีระดับของคอรต์ ิซอลปกติอยู่ที่ 10-100 µg/24h แมว้ ่าคอรต์ ซิ อลในปัสสาวะจะอยูใ่ นรูป active form ซ่ึงเป็ นรูปท่อี ิสระไมจ่ บั กบั สารโมเลกุลอน่ื แต่การตรวจวดั ปริมาณคอรต์ ซิ อลในปัสสาวะไมเ่ ป็นท่นี ิยม เน่ืองจากจะตอ้ งเกบ็ ตวั อย่างตลอดในช่วงเวลา 24 ช่วั โมง สาหรบั ตวั อย่างเลอื ด ค่าปกตขิ องคอรต์ ิซอลจะมคี ่าประมาณ 25 mg/dL – 2 mg/dL

การประเมนิ ความเครยี ด

การประเมนิ ความเครยี ด ตวั อย่าง : ร่างเคร่อื งมอื วดั ระดบั คอรต์ ิ ซอล

การผ่อนคลายความเครยี ด เทคนิค การจดั การความเครยี ดดว้ ยตนเอง การผ่อนคลายกลา้ มเน้ือ https://www.youtube.com/watch?v=YaJlJ6MroNE

เทคนิค การจดั การความเครยี ดดว้ ยตนเอง การนวดคลายเครยี ด https://www.youtube.com/watch?v=ZSVAVP nsU9Y

ถาม-ตอบ