Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การใช้ยาในผู้สูงอายุ

วิชา การใช้ยาในผู้สูงอายุ

Description: การใช้ยาในผู้สูงอายุ
วันที่ 23 พฤษภาคม 2565
โดย อาจารย์นงนุช เชาวนศิลป์

Search

Read the Text Version

การใช้ยา ในผู้สูงอายุ อาจารย์นงนุช เชาวน์ศิลป์ กลุ่มวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ คณะพยาบาลศาสตร์

วัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถบอกความ สำคัญและหลักของการใช้ยาเบื้อง ต้นได้ . เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถบอกประเภท ของยาที่ใช้บ่อยในผู้สูงอายุได้ เพื่อให้ผู้ดูแลสามารถเตรียมยาหรือ จัดยาให้ผู้สูงอายุได้ถูกต้อง

เนื้ อหาวิชา ความสำคัญและหลักการ ยาที่ใช้บ่อยในผู้สูงอายุและ ใช้ยาเบื้องต้น ผลข้างเคียงจากการใช้ยา ปัญหาการใช้ยาในผู้สูง แนวทางปฏิบัติในการให้ยา อายุ ในผู้สูงอายุ

ความสำคัญของการใช้ยาในผู้สูงอายุ

หลักการให้ยา R1 Right Person คือ ให้ถูกต้องกับคน คือ ตัวผู้ป่วยที่สูงอายุ R2 Right Drug คือ ให้ถูกชนิดยา ซึ่งจะบ่งบอกถึงสรรพคุณยาใน การรักษาโรคแต่ละโรคที่แตกต่างกัน R3 Right Dose คือ ให้ถูกขนาดยา เช่น เป็นมิลลิกรัม, เม็ด แคปซูล หรือเป็นหยด R4 Right Route คือ ให้ถูกทาง เช่น ทางปาก ทางผิวหนัง หยอดตา หรือ เหน็บทวารหนัก R5 Right time คือ ให้ถูกเวลา เช่น ก่อนอาหารเช้า หรือ หลังอาหาร หรือให้เมื่อมีอาการและ ให้วันละกี่ครั้ง เป็นต้น

หลักการจำ ยาของใคร ชนิดไหน ขนาดเท่าไร ให้ทางใด เวลาใด

ประเภทยาใช้ภายใน ประเภทยาใช้ภายนอก ยาที่ให้เข้าไปในร่างกายโดย ยาที่ใช้ภายนอกร่างกายห้าม การรับประทานหรือ การฉีด รับประทาน เช่น ครีม ยา เช่น ยาเม็ด แคปซูล ยาน้ำ หยอดตา ยาเหน็บ ยาพ่น ยาผง หรือยาฉีด เป็นต้น (มักเขียนฉลากสีแดง ติดข้างกล่องว่า “ยาใช้ ภายนอก ห้ามรับประทาน”)

ตัวอย่างยาที่ใช้ภายนอก 1. ยาทางผิวหนังต่างๆ เป็นลักษณะครีม เช่น - ยาแก้ปวด เคล็ดขัดยอก (METHYL SALICYLATE), บาล์ม, - ยาแก้เชื้อรา เช่น CLOTRIMAZOLE CREAM - ยาทาแก้คัน เช่น (CALAMIND LOTION) 2. ยาหยอดตาต่างๆ เช่น มักใช้แก้ระคายเคือง, หรือทดแทนน้ำตาเทียม หรือ รักษาโรคตาบางชนิด 3. ยาทาแผลต่างๆ เช่น แอลกอฮอลส์70%, เบตาดีน เป็นต้น - เมื่อใช้แล้ว ควรปิดฝาให้สนิท ระวังการระเหยซึ่งจะทำให้ประสิทธิภาพของยาลดลง

ยาที่ใช้บ่อยในผู้สูงอายุ และผลข้างเคียง จากการใช้ยา

ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง ผลข้างเคียงที่อาจพบ จากการใช้ยา ลดความดันเลือดให้ต่ำลง โดยวิธีการขับปัสสาวะ หรือลดการทำงานของหัวใจ มักให้พร้อมกับคำ ระดับความดันเลือดต่ำ หน้ามืด แนะนำการปรับพฤติกรรมการรับประทานอาหาร คล้ายจะเป็นลม หรืออาจมีคลื่นไส้ เช่น ลดการกินเค็ม อาหารที่มีมันหรือกะทิของ อาเจียน หมักดอง ลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และงดสูบ ข้อควรปฏิบัติ บุหรี่ และลดความวิตกกังวล หมั่นออกกำลังกาย - ควรนอนพักและวัดระดับความ พักผ่อนให้เพียงพอ ดันเลือด หรือนำส่งแพทย์ ตัวอย่างชนิดยา - Enalapril (5 มิลลิกรัม หรือ 20 มิลลิกรัม) - Aldomet (50 มิลลิกรัม หรือ 100 มิลลิกรัม) - HCTZ หรือ DCT (50 มิลลิกรัม) หรือ - Moduratic มีฤทธิ์ขับปัสสาวะ - - Adalat CR (40 มิลลิกรัม) - -Atenelol (50 มิลลิกรัม) เป็นต้น

ยารักษาโรคเบาหวาน ผลข้างเคียงที่อาจพบ จากการใช้ยา ลดระดับน้ำตาลในเลือดโดยเพิ่มการ ดูดซึมน้ำตาล ไปใช้ให้เกิดพลังงาน ระดับน้ำตาลในเลือดต่ำเกินไป อาจมี ไม่สะสมในกระแสเลือดมากเกินไป มี อาการใจสั่น เหงื่อออก ตัวเย็น หน้า ทั้งชนิดฉีดและรับประทาน มืดคล้ายจะเป็นลม หมดสติ ตัวอย่างชนิดยา ชนิดรับประทาน ข้อควรปฏิบัติควรพกลูกอมหรือให้ เช่น Glipizide (5 มิลลิกรัม), ดื่มน้ำหวานสักแก้วถ้าไม่ดีขึ้นหรือ Minidiab (5 มิลลิกรัม), หมดสติควรพาไปพบแพทย์ โดย Glucophage (500 มิลลิกรัม) ด่วน (ถ้าหมดสติห้ามให้อาหารและ เป็นต้น ชนิดฉีด เช่น อินซูลิน น้ำทางปาก เพราะอาจสำลักได้)

ยารักษาโรคหัวใจ ผลข้างเคียงที่อาจพบ จากการใช้ยา เพิ่มประสิทธิภาพหรือช่วยลดการทำงาน ของหัวใจ ทำให้ หัวใจสามารถบีบตัว อาจเกิดการเต้นของหัวใจผิดปกติเช่น สูบฉีดเลือดไปเลี้ยงร่างกายได้ดีขึ้น เต้นช้าไปหรือเต้นเร็วไป ทำให้เกิดอาการ ตัวอย่างชนิดยา เช่น เหนื่อยหอบ, เจ็บแน่นหน้าอก อ่อนเพลีย - Propanolol (50 มิลลิกรัม) ไม่มีแรง - Isordil (10 มิลลิกรัม) ข้อควรปฏิบัติหากมียาอมใต้ลิ้นให้อมครั้ง - Herbessor (30 มิลลิกรัมหรือ 60 ละ 1 เม็ดถ้าไม่หายให้อมติดต่อกัน 3 ครั้ง มิลลิกรัม) เป็นต้น ห่างกัน ครั้งละ 5 นาทีถ้าไม่ดีขึ้นใน ระหว่างอมยาเม็ดที่ 2 ควรนำส่งแพทย์ ทันทีหากมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกควรนำ ส่ง ถึงมือแพทย์ภายในเวลาไม่เกิน 2 ชั่วโมง

ยารักษาการเจ็บป่วยทั่วไป ยาแก้ท้องเสีย เช่น ผงเกลือแร่ (ขนาดรับ ประทานตามที่ระบุข้างซอง) หรือถ้าไม่มีใช้ ยาลดไข้ปวดหัว ตัวร้อน เช่น น้ำต้มสุก 1 ขวดกลม (750 ซีซี) หรือ 3 พาราเซตามอล (500) ขนาดรับประทาน 1 แก้ว + เกลือ ½ ชช. น้ำตาลทราย 2 ชต. รับ เม็ด ทุก 4–6 ชั่วโมงหรือเมื่อมีอาการ ประทานภายใน 24 ชั่วโมง (ระวังการ ใช้ใน ยาแก้ปวดข้อ กระดูก กล้ามเนื้อ เช่น อินโด ผู้ที่เป็นโรคไต) ซิด บรูเฟน ไอบรูเฟน นาโพซิน ขนาดรับ ยาแก้ไข้หวัดลดน้ำมูก เช่น ทิฟฟี่ แอคติ ประทาน ตามขนาดที่กำหนดไว้ไม่ควรรับ เฟต (Actifed) (ปัจจุบันควรระวังการใช้ ประทานทาน ตอนท้องว่างเพราะจะทำให้ ในผู้สูงอายุ) นอกจากนี้ยังมียาแก้แพ้ยา เป็นแผลในกระเพาะอาหารได แก้ไอ ยาขับเสมหะ เป็นต้น ยาแก้คลื่นไส้อาเจียน เมารถ เช่น ดาบามิน หมายเหตุ ถ้ายาเป็นแคปซูลไม่ควรแกะออก (Dramamine) โมติเลียม (Motilium) เพราะจะทำให้การออกฤทธิ์ของยาไม่ดีเท่าที่ควร เป็นต้น รับประทานก่อนเดินทางประมาณ ครึ่งชั่วโมง

ปัญหาที่พบบ่อยจาก การใช้ยาในผู้สูงอายุ



ปัญหาการใช้ยาหลายขนาน

ใบงาน ปัญหาที่พบในการใช้ยาในผู้ สูงอายุมีอะไรบ้าง ให้ผู้เข้ารับการอบรม แบ่งออกเป็นกลุ่มๆ แนวทางแก้ปัญหาควรเป็น กลุ่มละไม่เกิน 10 คน ร่วมกันอภิปรายใน อย่างไร หัวข้อต่อไปนี้



แนวทางปฏิบัติในการ ให้ยาในผู้สูงอายุ



แนวทางปฏิบัติในการให้ยาในผู้สูงอายุ 1. ผู้ดูแลควรศึกษาถึง รูปร่าง ลักษณะและสรรพคุณของยาแต่ละ ชนิดที่รับประทานอยู่ เป็นประจำ และแนะนำผู้สูงอายุทราบด้วย 2. เขียนขนาดและวิธีรับประทานตัวโต ๆ ติดบนฉลากยา 3.อาจใส่กล่องแยกชั้นยา เช่น เช้า – กลางวัน – เย็น – ก่อนนอน (ก่อนหรือหลังอาหาร) 4.สถานที่เก็บยา ควรให้ปลอดภัยและเก็บไว้ห่างจากมือเด็กบางชนิดต้องเก็บให้พ้นแสง (มักมีขวดสีชาหรือห่อฟอย) ยาฉีดเบาหวานและ ยาหยอดตาจะเก็บไว้บริเวณฝาตู้เย็น 5.ถ้าเป็นไปได้ผู้ดูแลผู้สูงอายุควรหยิบยาให้รับประทานเองกับมือ วิธีนี้จะปลอดภัยที่สุด 6. ผู้ดูแลควรหมั่นพาผู้สูงอายุไปพบแพทย์เป็นประจำตามกำหนดนัด หรือไปก่อน กำหนดนัดเมื่อ มีอาการผิดปกติขึ้น

ข้อควรระวังในการใช้ยาในผู้สูงอายุ 1. ยามีปฏิกิริยาต่อกัน คือ การเกิดปฏิกิริยาระหว่างการใช้ยาตั้งแต่ 2 ชนิดขึ้นไป ซึ่งบางครั้งสามารถใช้ยาร่วมกันได้ แต่ควรเพิ่มระยะเวลาให้ห่างกันประมาณ 1-2 ชม. เพื่อป้องกันการลดการดูดซึมของยาอีกตัวหนึ่ง เช่น ยาแก้ปวดหลายชนิด จะ ใช้ควบคู่กับยาลดกรดหรือยาเคลือบกระเพาะ เช่น Losec หรือ Alum milk ยาเม็ดบำรุงเลือดไม่ควรรับประทานร่วมกับนมเพราะจะทำให้ประสิทธิภาพ ของยาลดลงควร รับประทานเว้นช่วงห่างจากการดื่มนม 2 ชั่วโมง 2. การหยิบยาผิด ลืมกินยาหรือกินยาเกินขนาดจากการหลงลืม เช่น คนไข้รับ ประทานยาลดความดัน โลหิต 2 ครั้ง (เพราะคิดว่ายังไม่ได้กิน) ทำให้เกิดอาการ หน้ามืด เวียนศีรษะเนื่องจากระดับความดันโลหิตลดลง ต่ำเกินไป ซึ่งข้อนี้จะเป็น อันตรายต่อผู้สูงอายุมากอาจทำให้สมองขาดเลือดไปเลี้ยงได้

ข้อควรระวังในการใช้ยาในผู้สูงอายุ 3. การชอบรับประทานยาสมุนไพรบางชนิดที่ไม่ได้รับการรับรองมาตรฐาน หรือการ รับประทานยา ชุดที่ซื้อรับประทานเองตามคำแนะนำของเพื่อนบ้านหรือหมอตี๋ซึ่งส่วน ใหญ่จะมีสารสเตียรอยด์ (steroid) จะมี อาการดีขึ้นในช่วงแรกๆต่อเมื่อรับประทาน ไปนาน ๆ จะเกิดผลเสียต่อไตและสุขภาพอย่างมาก 4. หากเกิดอาการแพ้ยา เช่น มีผื่นขึ้น คัน บวม แน่นหน้าอกหายใจไม่ออกให้หยุดยา ทันทีและรีบมา พบแพทย์และจำยาชนิดที่แพ้ไว้เพื่อให้ประวัติต่อการรักษาทุกครั้ง 5. ผลข้างเคียงของยาบางชนิด เช่น ยาลดความดันบางกลุ่มทำให้ไอมาก ยาบางกลุ่ม ทำให้ท้องเสีย ปากแห้ง เป็นต้น ต่างๆ เหล่านี้ควรปรึกษาแพทย์ 6. การใช้ยาสมุนไพรหรือยาแพทย์แผนโบราณ ยาผีบอก ควรใช้การพิจารณาและ ควรระมัดระวัง ศึกษาจากผู้ที่ผ่านการอบรมมาเท่านั้น เพราะอาจเกิดอันตรายต่อไต และตับได้ภายหลัง

Thanlikstyeonuinfogr! Don't hesitate to ask any questions!