Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงร่างวิจัย64

โครงร่างวิจัย64

Published by ja-o, 2021-08-14 09:53:53

Description: โครงร่างวิจัย64

Search

Read the Text Version

โครงรา่ งวจิ ัย เรอ่ื ง การพฒั นาการเรยี นการสอนรายวชิ าวทิ ยาศาสตรข์ องนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โดยการใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ เรอื่ ง สารที่ใชใ้ นชวี ติ ประจำวนั รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์ รหสั วชิ า ว21101 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา 2564 กลุม่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี จดั ทำโดย นางสาวจิรนนั ท์ เกตทุ หาร ตำแหน่ง ครผู ชู้ ่วย โรงเรียนราขประชานเุ คราะห์ 24 อำเภอจนุ จงั หวดั พะเยา สำนกั งานบรหิ ารงานการศกึ ษาพเิ ศษ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

ชอ่ื เรอื่ ง การพัฒนาการเรยี นการสอนรายวชิ าวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สารท่ใี ชใ้ นชีวติ ประจำวัน ชอ่ื ผวู้ จิ ยั นางสาวจริ นันท์ เกตุทหาร กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ คำนำ เอกสารท่จี ดั ทำเป็นส่วนหน่ึงในการรายงานการวิจยั ในช้นั เรียนดว้ ยการเรยี นการสอนวิชา วิทยาศาสตร์ รหสั ว 21101 ของนักเรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 พบปญั หาดา้ นผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนต่ำ ผสู้ อนจงึ สร้างแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ ทางวทิ ยาศาสตรใ์ นการแก้ปญั หา ดงั กล่าว หวงั เปน็ อย่างย่งิ ว่าจะเปน็ เอกสารที่ ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อท่านผู้อ่านทุกคน ผ้วู ิจัย นางสาวจิรนนั ท์ เกตทุ หาร ตำแหนง่ ครผู ู้ช่วย

สารบญั หน้า เรื่อง บทท่ี 1 บทนำ บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกย่ี วขอ้ ง บทที่ 3 การดำเนนิ งาน บทท่ี 4 ผลการดำเนินงาน บทท่ี 5 สรปุ ผลการดำเนิน บรรณานุกรม ภาคผนวก

บทท่ี 1 บทนำ ภมู หิ ลงั ในปีการศึกษา 2563 ภาคเรียนที่ 2 จากการทดสอบความรู้พื้นฐานโดยใช้ข้อสอบที่ผู้วิจัยจัดทำขึ้นท้ัง ภาคปฏิบัติและภาคทฤษฎี พบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 24 สำนักงาน บรหิ ารงานการศึกษาพิเศษ จงั หวดั พะเยา มนี กั เรียนจำนวน 38 คน ซึ่งยังเป็นผลทไี่ ม่น่าพอใจ นักเรียนยังมีปัญหา ในด้านการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ซึ่งผลที่ตามมา ก็คือนักเรียนมีความรู้ในวิชาวิทยาศาสตร์ไม่เหมาะสมกับ ระดับชัน้ ผู้เรียนมีทศั นคตทิ ีไ่ มด่ ีตอ่ วิชาวทิ ยาศาสตร์ ทำใหเ้ กิดปัญหาในการเรียนในระดบั ท่สี งู ขน้ึ ซ่ึงเป็นการล้มเหลว ในกระบวนการจัดการเรียนรู้เป็นอย่างมากเพราะวิชาวิทยาศาสตร์ถือว่าเป็นเป็นเครื่องมือส ำคัญในการดำรงชีวิต ประจำวนั ของคนเรามาก ด้วยเหตนุ ้ีผวู้ จิ ัยจงึ มีพยายามมุ่งมนั่ ทีจ่ ะแกป้ ัญหาการเรียนการสอนวิชาวทิ ยาศาสตรด์ ้วยการสร้างแบบฝึก เสริมทักษะ เพื่อเสริมทักษะการตั้งคำถามการค้นหาคำตอบจากการทดลอง การแก้ปัญหาเพื่อฝึกให้ผู้เรียนเป็น บุคคลที่มีคุณภาพของสังคมต่อไปและเพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการแก้ปัญหาของนักเรียนทั้ง 38 คน เปลีย่ นแปลงทศั นคติของผเู้ รยี นเก่ียวกับวิทยาศาสตร์เน้นใหเ้ ห็นความสำคัญของวิชานี้และเพิ่มศักยภาพการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตรใ์ หก้ ับผู้เรียนเพอื่ ใชเ้ ป็นหนึ่งในยุทธศาสตร์การพฒั นาการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ใหม้ ปี ระสิทธิภาพ ย่ิงขึ้น ความมงุ่ หมายของการวจิ ยั เพื่อการพัฒนาการเรียนการสอนรายวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการใช้แบบ ฝกึ เสรมิ ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ เรือ่ ง สารท่ใี ชใ้ นชวี ติ ประจำวัน ปกี ารศกึ ษา 2564 ความสำคญั ของการวจิ ยั 1. เพ่ือสร้างและพัฒนาแบบฝึกเสรมิ ทักษะพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์เพื่อแกป้ ญั หาการเรียนวิทยาศาสตร์ ใหก้ บั นักเรียน 2. เพือ่ พฒั นาความสามารถในการทดลอง การหาสมมตุ ิฐาน การแกป้ ญั หา ของผู้เรียน 3. เพอื่ ใชเ้ ป็นสื่อเผยแพรก่ ารจดั กิจกรรมการเรยี นรรู้ ายวชิ าวิทยาศาสตรใ์ นระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 1

ขอบเขตของการวจิ ยั 1. ผู้ศกึ ษาและให้ขอ้ มลู 1.1 ผศู้ กึ ษาวจิ ยั ในฐานะ ครูผสู้ อนกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์ 1.2 กลมุ่ ผู้ให้ขอ้ มูล นักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 38 คน 2. กรอบการศึกษาค้นคว้า 2.1 กรอบเนือ้ หา การวจิ ัยครง้ั น้เี ปน็ การสรา้ งแบบฝกึ เสรมิ ทักษะ เพอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธ์ิ ในเนอ้ื หาสาระต่อไปน้ี 2.1.1 การจำแนกสารตามลกั ษณะของเนื้อสาร 2.1.2 การแยกสารเนอ้ื ผสม 2.1.3 การแยกสารเนือ้ เดยี ว 2.1.4 องค์ประกอบของสารเน้ือเดียว 2.1.5 การแยกสารโดยวิธโี ครมาโทรกราฟี 2.1.6 การแยกสารเนื้อเดียวโดยใช้แทง่ ชอลก์ 2.1.7 สารละลาย สารคอลลอยด์ สารแขวนลอย และสมบัติ 2.1.8 สมบตั ิของสารท่ีใชใ้ นบา้ นเม่ือทำปฏกิ ิริยากับกระดาษลิตมสั 2.1.9 สารที่ใชท้ ำความสะอาด 2.1.10 พษิ และอันตรายท่เี กิดจากสารบางชนดิ 2.2 กรอบการพัฒนาในการวิจยั ในครงั้ นี้ กรอบการพฒั นาในครง้ั นี้ ใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทกั ษะพ้ืนฐานวิทยาศาสตร์ ให้เนือ้ หา ให้ครอบคลุม พร้อมแบบทดสอบ ท่เี รา้ ความสนใจ 2.3 กรอบกลยุทธใ์ นการศึกษาวิจยั ในครั้งนใี้ ช้กลยทุ ธ์ ใชก้ ระบวนการสอนโดยใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ที่ผลิตขน้ึ 2.4 วธิ ีดำเนนิ การวจิ ัย 2.4.1 วางแผนการจดั ทำแบบฝึกเสริมทกั ษะพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ 2.4.2 ศกึ ษาหลกั สตู รและวเิ คราะห์เนื้อหารายวชิ าวิทยาศาสตร์ ในระดับชัน้ มัธยมศึกษา ปีที่ 1 เรื่อง สารทใ่ี ช้ในชวี ติ ประจำวัน จากหลักสตู รสถานศึกษา หลักสตู รกลุ่มสาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรค์ มู่ ือครู หนังสื่อตำราตา่ ง ๆ 2.4.3 รวบรวมขอ้ มลู การจัดท าแบบฝึกเสริมทักษะพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ 2.4.4 วางแบบขั้นตอนการทำงาน 2.4.5 จดั ทำแบบฝึกเสริมทักษะพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์

2.4.6 จัดท าแบบทดสอบ และทดสอบ 2.4.7 ใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ 2.4.8 ประเมินผลโดยแบบทดสอบเพื่อหาผลสัมฤทธิ์ สมมตุ ฐิ านสำหรบั การวจิ ยั เม่อื นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 ทดลองใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะพน้ื ฐานวิทยาศาสตร์ เร่ือง สารทีใ่ ชใ้ น ชีวิตประจำวัน จะมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั การใช้สงู กว่ากอ่ นใช้อย่างมีนยั สำคัญทางสถติ ทิ ี่ระดับ .05 นยิ ามศพั ทใ์ นการวจิ ยั 1. แบบฝึกเสริมทักษะพ้นื ฐานวทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ สื่อการสอน เรอื่ ง สารทีใ่ ชใ้ นชีวติ ประจำวัน ชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 2. กระบวนการสอนโดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตรห์ มายถึง กระบวนการจัด กจิ กรรมการ เรียนการสอนทปี่ ระกอบด้วย ข้นั ทดสอบก่อนเรยี น การใช้แบบฝกึ เสรมิ ทักษะพนื้ ฐานวิทยาศาสตร์ ท่ผี ลติ ขึน้ ใน กระบวนการเรียนการสอน การทดสอบหลงั เรยี น การวเิ คราะหผ์ ล

บทท่ี 2 เอกสารและทฤษฎที เ่ี กยี่ วขอ้ ง เอกสารและทฤษฎีท่ีเก่ยี วข้องกบั การวจิ ัยการทดลองใช้แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะวทิ ยาศาสตร์ เร่อื ง สารทีใ่ ชใ้ น ชวี ิตประจำวนั ในการพัฒนาการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์ ของนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ประกอบดว้ ย 1. การจัดการเรียนรทู้ เี่ นน้ ผูเ้ รียนเป็นสำคญั 2. การวิจัยกับการปฏิรูปการศกึ ษา 3. การวจิ ยั ในชน้ั เรยี น 4. กลยทุ ธ์ท่ีใชใ้ นการพฒั นา การจดั การเรียนรทู้ ่ีเนน้ นักเรยี นเปน็ สำคญั : ยทุ ธศาสตรส์ ำคัญของการปฏริ ปู การศึกษา ความสำคัญของแนวคดิ การจัดการเรียนรู้ทีเ่ น้นนักเรยี นเป็นสำคัญได้ปรากฏเปน็ รปู ธรรมชัดเจน เมอ่ื กระทรวงศึกษาธิการได้ก าหนดใหเ้ ป็นยุทธศาสตรห์ ลกั ของการปฏริ ปู การศึกษาอีกทั้งแนวคิดนยี้ งั สนองตอบ และ สอดคลอ้ งกบั พระราชบญั ญตั ิการศกึ ษาแหง่ ชาติพุทธศักราช 2542 ดังสาระที่ กำหนดไวใ้ นหมวด 1 หมวด 1 ความมงุ่ หมายและหลกั การของการศกึ ษาทวี่ า่ การศึกษามีความสำคญั สูงสดุ และมีบทบาทต่อการพัฒนาท่ียงั่ ยืนของประเทศ ฉะน้นั ต้องจัดการศึกษา เพ่ือพฒั นาคนให้เปน็ มนษุ ย์ที่สมบูรณ์ท้งั ทางร่างกายและจิตใจ สติปัญญาความรแู้ ละคุณธรรม มจี รยิ ธรรมและ วฒั นธรรมในการดำรงชวี ิต สามารถอยู่ร่วมกบั ผูอ้ น่ื อย่างมีความสุข (มาตรา 5) และสาระในหมวด 4 แนวการจดั การศึกษา ซงึ่ แสดงใหเ้ ห็นถงึ ความสำคัญของการพฒั นาผู้เรียนว่า ผเู้ รียนทุกคนมีความสามารถในการเรยี นรู้ และพัฒนาตนเองได้ ผู้เรียนมคี วามสำคัญทส่ี ดุ กระบวนการจัดการศึกษา ตอ้ งส่งเสริมให้ผเู้ รยี นสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ และเต็มศกั ยภาพ (มาตรา 22) สถานศึกษาตอ้ งพัฒนากระบวนการเรียนการสอนทม่ี ีประสิทธิภาพ (มาตรา21) และ จัดกระบวนการ เรียนรู้ โดยจดั เนอื้ หาสาระและกจิ กรรมใหส้ อดคลอ้ งกับความสนใจและความถนดั ของผเู้ รียนโดยคำนึงถงึ ความ แตกต่างระหว่างบคุ คลฝึกทักษะกระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และการประยุกต์ ความรมู้ าใช้เพ่ือป้องกนั และแกไ้ ขปญั หาโดยจัดกจิ กรรมให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้ จากประสบการณจ์ รงิ ฝกึ การปฏิบัติ ใหท้ ำ ไดท้ ำเปน็ รกั การอา่ น และเกดิ การใฝร่ อู้ ยา่ งต่อเน่อื ง (มาตรา 24)

การวจิ ยั กบั การปฏริ ปู การศกึ ษา การวจิ ัยจะเปน็ เสน้ ทางสู่ความสำเร็จของการปฏริ ปู ของการศกึ ษา ในปจั จุบนั ไดเ้ กดิ กระแสปฏิรูป การศกึ ษาท่ีมกี ารกล่าวถงึ กันอย่างกวา้ งขวาง โดยมกี ารระบุถงึ ส่ิงทตี่ ้อง ปฏิรปู กนั หลายประการด้วยกนั เช่น การปฏิรูปเพ่ือการบรหิ ารและการจัดการ การปฏริ ูปครู คณาจารย์และบุคลากร ทางการศึกษา การปฏิรูป ทรพั ยากรและการลงทุนเพ่อื การศึกษาการปฏิรปู เพ่ือเทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นตน้ แตก่ ารปฏริ ูปทง้ั หลายที่กลา่ วมานจี้ ะมเี ป้าหมายเดยี วกนั กค็ ือเพ่ือการปฏริ ปู การเรียนรขู้ องผู้เรียน ซึง่ ผทู้ ่ีจะทำการปฏริ ูปทางการศึกษาโดยเฉพาะในส่วนของการปฏิรปู การเรยี นรูข้ องผ้เู รียนใหป้ ระสบความสำเร็จก็ คอื ครู ยุทธศาสตร์ท่ีจะทำให้ครทู เี่ ป็นผนู้ ำในการปฏริ ูปการเรียนรูน้ อกจากจะใช้การอบรมครใู นรปู แบบต่างๆ ยังสามารถท่จี ะใชก้ ารวิจยั ในการจดั การเรียนการสอน หรือทเ่ี รียกว่า การวจิ ยั ในช้ันเรียน ซง่ึ ในพระราชบัญญตั ิ การศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตราที่ 24 (5) ไดร้ ะบไุ วว้ ่า “ใหส้ ถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทเี่ ก่ียวข้องส่งเสริม และสนบั สนุนให้ผ้สู อนจัดบรรยากาศ สภาพแวดล้อม สอ่ื การเรยี น และเคร่ืองอ านวยความสะดวก เพื่อให้ ผู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมทง้ั สามารถทจี่ ะใช้การวิจัยเป็นสว่ นหนึ่งของกระบวนการเรียนรู้ ท้ังน้ผี สู้ อนและผูเ้ รียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากสื่อการเรียนการสอนและแหลง่ วทิ ยาการประเภทต่างๆ” การที่ผู้สอนจะกระทำในสง่ิ ที่ระบุไว้ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพนั้นผสู้ อนจะตอ้ งมีการใชง้ านวิจยั เพอื่ คน้ คำตอบ ต่อไปน้ี 1. การจดั บรรยากาศและส่ิงแวดล้อมอยา่ งไรเพ่ือจะใหเ้ อือ้ ตอ่ การเรยี นรูข้ องผเู้ รียนในวิชาที่ตนเอง รับผดิ ชอบ 2. จะเลือกใชส้ อ่ื การสอนอย่างไรจงึ จะทำให้ผู้เรียนเกดิ ความสนใจในการพัฒนาการเรยี นร้แู ละรอบรู้ อย่างทีร่ ะบุไวใ้ นพระราชบัญญัติการศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 มาตราท่ี 24 (5) 3. การใชเ้ ทคนิคการจัดการเรียนการสอนอยา่ งไร จึงจะทำให้ผู้เรยี นเกิดการเรียนรู้ทดี่ ี และมีความรอบรู้ 4. จะสง่ เสรมิ นักเรยี นอยา่ งไรใหน้ ักเรยี นเกดิ ความคดิ สร้างสรรค์ในการประยกุ ต์การเรียนร้ใู นช้นั เรียนกบั การดำเนนิ ชวี ิตในสังคม การวจิ ยั ในชน้ั เรยี น ลสั ดา กองค า (2544 : 22) ได้กล่าวว่า การวิจัยในชน้ั เรียนเป็นการวิจยั ทางการศกึ ษา หมายถึง การหา ความรู้ หรอื วธิ กี ารใหม่ ๆ เพ่ือน ามาประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับสภาพการเรียนการสอนในชัน้ เรียน ซ่งึ จะชว่ ย พฒั นาคณุ ภาพการเรยี นการสอน หรือเพื่อแกป้ ญั หาท่เี ป็นอุปสรรคตอ่ การเรยี นการสอนโดยอาศยั วธิ กี ารทาง วทิ ยาศาสตร์

วีรพล ฉลาดแยม้ (2544 : 8) กลา่ ววา่ การวิจยั ในชัน้ เรยี น หมายถึง การศึกษาค้นควา้ เพอ่ื แสวงหา วธิ กี ารแก้ปญั หา ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและการเรียนร้ขู องผเู้ รียนในบริบท ของชน้ั เรียน โดยมคี รเู ปน็ ผวู้ ิจัยและใช้ผลงานวิจัยเพือ่ จะส่งผลใหก้ ารจัดการเรยี นการสอนมีประสทิ ธภิ าพ และมี คณุ ภาพยิ่งขึ้น ประกอบ มณโี รจน์ (2544 : 4) การวจิ ยั ในชัน้ เรียน คือ กระบวนการแสวงหา ความรู้ความจริงด้วย วธิ ีการทเี่ ช่ือถือได้ ในเน้ือหาที่เกยี่ วกบั การจดั การเรียน การสอน เพื่อน าไปสกู่ ารแก้ปัญหา และพฒั นา ความสามารถของผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบ สรปุ ไดว้ า่ การวิจยั ในชน้ั เรียน คือ การแสวงหาความรู้ วธิ ีการ อยา่ งเปน็ ระบบ มาแกป้ ญั หาใน การจัดการเรียน การสอน ทงั้ ในและนอกห้องเรียน วจิ ยั โดยครผู ู้สอนและนำผลการวจิ ัยมาปรับปรุงพฒั นาการเรยี น การสอน เพื่อให้เกดิ ประโยชน์สงู สุดแกผ่ เู้ รียน กลยทุ ธท์ ใ่ี ชใ้ นการพฒั นา สอนโดยใชแ้ บบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ โดยมีกระบวนการ ดงั นี้ 1. ทดสอบก่อนเรยี น เป็นการวเิ คราะห์นักเรยี นเพื่อหาความสามารถ สภาพปญั หาเพ่ือหาจุด พฒั นา 2. จดั กิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 3. ทดสอบหลังเรียน เปน็ การวเิ คราะหน์ กั เรยี นเพื่อเปรียบเทยี บกบั การวเิ คราะห์ครั้งแรก 4. วิเคราะห์ ประเมนิ โดยใช้สถติ ิ

บทท่ี 3 วธิ กี ารดำเนนิ การ กลมุ่ เปา้ หมาย นกั เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 24 จำนวน 38 คน ในภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2564 ขั้นตอนดำเนนิ การวจิ ยั 1. ข้ันการวิจยั (มิถนุ ายน – กันยายน 2563) 1.1 วางแผนการจัดทำแบบฝึกเสริมทกั ษะวิทยาศาสตร์ 1.2 ศึกษาหลักสตู รและวิเคราะหเ์ นือ้ หารายวิชาวทิ ยาศาสตร์ ในระดับชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 เรือ่ ง สารทีใ่ ช้ในชวี ติ ประจำวัน จากหลักสตู รสถานศึกษา หลักสูตรกลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตร์ คู่มือครู หนงั สือ่ ตำราต่าง ๆ 1.3 รวบรวมข้อมลู การจดั ทำส่อื การเรยี นการสอน 1.4 วางแบบข้ันตอนการทำงาน 1.5 จัดทำแบบฝกึ เสรมิ ทักษะวทิ ยาศาสตร์ 1.6 จดั ทำแบบทดสอบ 2. ข้นั การใชส้ ่ือการสอน ( สงิ หาคม 2564 ) 3. ขน้ั ประเมนิ ผลโดยแบบทดสอบ (กนั ยายน 2564) เครอ่ื งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และสถติ ทิ ใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ 1. แบบทดสอบ 2. วเิ คราะหข์ อ้ มลู โดยใช้ โปรแกรม SPSS 17.0 โดยใช้ t – test ประเภท Dependent Samples ทน่ี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ี่ .05 เพ่ือเปรียบเทยี บความแตกต่างของค่าเฉลี่ย ของ คะแนนสอบก่อนและหลัง การใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะวทิ ยาศาสตร์


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook