Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการเตรียมตัวและปฏิบัติตนเมื่อเกิดดินโคลนถล่ม

คู่มือการเตรียมตัวและปฏิบัติตนเมื่อเกิดดินโคลนถล่ม

Published by pischa.pc, 2021-07-05 08:01:11

Description: คู่มือการเตรียมตัวและปฏิบัติตนเมื่อเกิดดินโคลนถล่ม

Search

Read the Text Version

การเตรียมตัวและปฏิบัตติ นเมอื่ เกดิ ดนิ โคลนถลม่ กรมปอ้ งกันและบรรเทาสาธารณภยั กระทรวงมหาดไทย

ดินโคลนถลม่ Landslide หมายถึง การเล่ือนไถลของมวลดินผสมหินจากพื้นที่สูง ลงสู่พน้ื ท่ีต่ำ�ดว้ ยอทิ ธพิ ลจากแรงโนม้ ถว่ งของโลก และมี น�้ำ เปน็ ตวั กลาง ดินโคลนถล่มมกั เกิดข้นึ ตามมาหลงั จาก น�ำ้ ปา่ ไหลหลาก จากฝนตกหนกั รนุ แรง และตอ่ เนอ่ื งนาน หลายวนั 2 การเตรียมตวั และปฏบิ ตั ติ นเมื่อเกิดดินโคลนถล่ม

ดนิ โคลนถล่ม เลื่อนไถลช้าหรอื เร็ว ขึน้ อยูก่ ับ ประเภทของดนิ หรอื หิน ความลาดชัน สภาพสงิ่ แวดล้อม ปริมาณน�้ำ ฝน “ป้องกนั ภัยเชิงรุก บรรเทาทุกขเ์ ม่อื เกดิ ภยั ฟนื้ ฟูและกภู้ ัย คอื หวั ใจ กรม ปภ.” 3

ประเทศไทยมพี น้ื ทเี่ สี่ยงดนิ ถลม่ รวม 51 จังหวัด 323 อำ�เภอ 1,056 ต�ำ บล 6,450 หมูบ่ ้าน 4 การเตรียมตัวและปฏบิ ัติตนเม่ือเกิดดินโคลนถลม่

พ้นื ท่ีทมี่ ีโอกาสเกิดดนิ ถลม่ แบ่งออกเป็น 3 อันดบั ไดแ้ ก่ พน้ื ทส่ี ีแดง มโี อกาสเกดิ ดินถลม่ อันดบั 1 ดนิ มโี อกาสถลม่ เมอ่ื มปี ริมาณฝนมากกวา่ 100 มลิ ลเิ มตร ต่อ 24 ชวั่ โมง พ้ืนทส่ี ีเหลือง มีโอกาสเกดิ ดินถล่มอนั ดับ 2 ดนิ มโี อกาสถล่มเมื่อมปี รมิ าณฝนมากกวา่ 200 มลิ ลิเมตร ตอ่ 24 ชั่วโมง พืน้ ทส่ี เี ขยี ว มโี อกาสเกิดดินถลม่ อนั ดบั 3 ดินมีโอกาสถล่มเม่อื มปี รมิ าณฝนมากกวา่ 300 มิลลเิ มตร ตอ่ 24 ช่ัวโมง โดยเฉพาะในพนื้ ท่มี หี น้าดนิ หนา ขาดรากไมย้ ดึ เหนย่ี ว และความลาดเอียงของพืน้ ท่มี ากกว่า 30 องศา “ป้องกันภัยเชงิ รุก บรรเทาทกุ ขเ์ ม่ือเกดิ ภยั ฟืน้ ฟูและกภู้ ยั คอื หัวใจ กรม ปภ.” 5

สาเหตุ ทที่ �ำ ใหด้ ินโคลนถลม่ รนุ แรงมากขึ้น เกดิ จากปัจจัย 5 ด้าน ได้แก่ 1. สภาพธรณีวิทยา เป็นหินเน้ือแน่น เม่ือเกิดการ ผุกร่อน ทำ�ให้เกดิ ช้ันดนิ หนา รอยแตก ภเู ขามีความลาดชันมาก 6 การเตรยี มตัวและปฏบิ ัตติ นเม่อื เกิดดินโคลนถลม่

2. สภาพภูมิอากาศ เกดิ ฝนตกตดิ ตอ่ กนั เป็นเวลานาน 3. สภาพภูมปิ ระเทศ เปน็ ภูเขาและหนา้ ผาลาดชัน ฝ น ต ก ห นั ก ป ริ ม า ณ น้ำ � ฝ น ดิน หนิ แข็ง มากกวา่ 100 มม.ตอ่ วัน ระดบั นำ�้ หินที่ผุพังง่ายกลายเป็นช้ันดินร่วนหนา อยู่บริเวณหน้าผาและลาดเขา ช้นั หนิ ด้านล่างน้�ำ ซมึ ผา่ นได้ยาก 7 ท�ำ ให้เกิดการเลอ่ื นไหลของ ตะกอนดนิ มากับน�้ำ อย่างรวดเรว็ “ปอ้ งกนั ภัยเชิงรกุ บรรเทาทุกข์เมอ่ื เกิดภัย ฟ้ืนฟแู ละกู้ภัย คือหวั ใจ กรม ปภ.”

4. การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม โดยการ ตดั ถนนผ่านไหลเ่ ขาหรือภูเขาลาดชัน 8 การเตรยี มตวั และปฏบิ ตั ติ นเมื่อเกดิ ดินโคลนถลม่

5. การใช้ประโยชน์ที่ดินเพ่ือการเกษตร โดยปลูกพืชชนิด เดยี วบนท่ลี าดเชงิ เขา เช่น ยางพารา ข้าวโพด เป็นตน้ ซ่ึงพืชชนิดน้ีมีรากตื้นและเกาะช้ันดินที่มีความลึกระดับ เดียว ท�ำ ให้เสถียรภาพของชัน้ ดินลดลง “ป้องกันภยั เชิงรุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกดิ ภัย ฟืน้ ฟแู ละกู้ภยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 9

สิง่ บอกเหตุ ก่อนเกิดดินโคลนถล่ม มีฝนตกหนักอย่างต่อเน่ือง วัดปริมาณน้ำ�ฝนได้ มากกว่า 100 มิลลเิ มตรต่อวนั 10 การเตรยี มตวั และปฏิบัติตนเมอ่ื เกดิ ดินโคลนถลม่

น�้ำ ในแมน่ �ำ้ มสี ขี นุ่ ขน้ และระดบั น�้ำ เพมิ่ สงู ขนึ้ อยา่ งรวดเรว็ “ปอ้ งกันภัยเชงิ รกุ บรรเทาทกุ ขเ์ ม่อื เกิดภยั ฟ้ืนฟแู ละกู้ภยั คือหัวใจ กรม ปภ.” 11

มตี น้ ไม้ขนาดเลก็ ไหลปนมากบั นำ้� 12 การเตรยี มตัวและปฏบิ ัติตนเมือ่ เกดิ ดนิ โคลนถล่ม

มีเสียงดังผิดปกติบริเวณภูเขา ให้สันนิษฐานว่าอาจ เกดิ น�้ำ ปา่ ไหลหลากและดนิ โคลนถลม่ ขน้ึ ได้ ใหเ้ ตรยี ม อพยพไปยังพน้ื ท่ีปลอดภยั ในทันที “ป้องกันภัยเชงิ รุก บรรเทาทกุ ข์เมื่อเกิดภยั ฟื้นฟูและกู้ภัย คอื หัวใจ กรม ปภ.” 13

การอพยพหนภี ัย ดินโคลนถล่ม ให้อพยพไปตามเส้นทางที่พ้นจากแนวการไหลของ ดนิ โคลนถลม่ 14 การเตรยี มตวั และปฏิบตั ติ นเมอื่ เกดิ ดนิ โคลนถลม่

ข้ึนท่ีสูงหรือสถานท่ีปลอดภัย หลีกเลี่ยงเส้นทางท่ี มีแนวการไหลของดิน และเส้นทางท่ีกระแสนำ้�ไหล เช่ียวกราก “ป้องกันภัยเชงิ รุก บรรเทาทุกขเ์ ม่อื เกิดภัย ฟน้ื ฟูและก้ภู ยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 15

หากจำ�เป็นต้องใช้เส้นทางดังกล่าว ให้ใช้เชือกผูก ลำ�ตัวแล้วยึดติดไว้กับต้นไม้หรือส่ิงปลูกสร้างท่ีม่ันคง แขง็ แรง เพอ่ื ปอ้ งกนั กระแสน�้ำ ท่ีไหลเชยี่ วกรากพดั จมน�ำ้ 16 การเตรียมตัวและปฏบิ ตั ติ นเม่ือเกดิ ดนิ โคลนถลม่

ห้ามว่ายนำ้�หนีโดยเด็ดขาด เพราะอาจกระแทกกับ ซากตน้ ไมห้ รอื หนิ ท่ีไหลมาตามน�ำ้ จนจมน�ำ้ เสยี ชวี ติ ได้ “ป้องกนั ภัยเชงิ รุก บรรเทาทกุ ข์เม่ือเกดิ ภยั ฟ้ืนฟแู ละกู้ภัย คอื หัวใจ กรม ปภ.” 17

หลังเกดิ ดินโคลนถลม่ หา้ มเขา้ ใกลบ้ รเิ วณทเ่ี กดิ ดนิ โคลนถลม่ หรอื บา้ นเรอื นที่ ได้รบั ความเสยี หาย เน่ืองจากอาจเกดิ การพงั ทลายซ�้ำ กำ�หนดเขตปลอดภัย โดยติดต้ังป้ายเตือนว่าพื้นท่ีใด ปลอดภัยและพ้ืนท่ีใดเสยี่ งต่อการเกิดดนิ โคลนถลม่ ซ�้ำ 18 การเตรยี มตัวและปฏบิ ัตติ นเม่ือเกดิ ดินโคลนถล่ม

เร่งระบายน้ำ�ออกจากบริเวณท่ีดินถล่มให้มากท่ีสุด โดยทำ�ทางเบ่ียง เพ่ือไม่ให้นำ้�ไหลลงมารวมกับ มวลดินเดมิ ท่ีมคี วามเสย่ี งอยแู่ ลว้ “ป้องกนั ภยั เชงิ รุก บรรเทาทุกขเ์ มอื่ เกดิ ภยั ฟ้ืนฟูและกภู้ ยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 19

ข้อควรปฏบิ ตั ิ หลีกเลย่ี งการสรา้ งที่อยอู่ าศยั อยู่ในบริเวณดังตอ่ ไปนี้ - บริเวณที่เคยมเี หตกุ ารณ์ดินถล่ม บรเิ วณหบุ เขา - บรเิ วณพน้ื ที่มคี วามลาดชันสูง พ้ืนทีล่ าบลุม่ แอง่ กระทะ พนื้ ท่ีร่องน�้ำ - บรเิ วณพน้ื ที่ถมดินใหม่ทม่ี คี วามลาดชัน 20 การเตรยี มตัวและปฏิบตั ิตนเม่อื เกิดดนิ โคลนถล่ม

อยา่ ปลกู สร้างอาคารบา้ นเรือน ขวางทางน้�ำ หรอื ใกล้ ลำ�หว้ ยมากเกนิ ไป อย่าตัดไม้ทำ�ลายป่า ควรปลูกพชื ยดึ หน้าดนิ บรเิ วณ เชิงเขา และพนื้ ที่ลาดชันเพื่อลดความเสยี่ งของดิน โคลนถล่ม “ปอ้ งกันภัยเชิงรกุ บรรเทาทกุ ขเ์ ม่อื เกิดภัย ฟืน้ ฟูและกู้ภยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 21

สงั เกตอากาศหากฝนตกหนกั ควรอพยพไปสพู่ น้ื ท่ี ปลอดภัยโดยเร็ว ตดิ ตามสถานการณ์และขา่ วการพยากรณอ์ ากาศ ทางสถานวี ทิ ยกุ ระจายเสยี งทอ้ งถิ่น เสียงตามสาย หอกระจายขา่ วประจ�ำ หมบู่ า้ น อย่างใกลช้ ดิ จดั เวรยามเพ่ือเดินตรวจตราดสู ถานการณ์รอบๆ หมู่บา้ น เพือ่ สงั เกตส่งิ ผดิ ปกติยามคำ�่ คืน 22 การเตรียมตวั และปฏบิ ตั ิตนเม่ือเกิดดินโคลนถลม่

หากท่านอยู่ในพ้นื ที่บรเิ วณอันตราย ให้ส�ำ รวจพื้นท่ี โดยรอบ เพ่ือเตรียมการหนภี ยั สังเกตพื้นทีร่ อบท่อี ยอู่ าศยั หากพบสง่ิ บอกเหตุทีม่ ีโอกาส เกดิ ดนิ ถล่มใหแ้ จ้งหนว่ ยงานรับผดิ ชอบดำ�เนินการ แก้ไขโดยเรว็ สำ�รองอาหาร น�้ำ ด่มื ยารกั ษาโรค และอุปกรณฉ์ กุ เฉิน “ป้องกนั ภยั เชิงรุก บรรเทาทกุ ข์เมอ่ื เกดิ ภยั ฟน้ื ฟูและกภู้ ัย คอื หวั ใจ กรม ปภ.” 23

รู้จัก “มสิ เตอร์เตือนภัย” มสิ เตอรเ์ ตอื นภยั คือ ผู้ทค่ี อยท�ำ หนา้ ที่เฝา้ ระวงั และ แจ้งเตือนภัยในพื้นท่ีเส่ียงอุทกภัย น้ำ�ป่าไหลหลาก และดนิ โคลนถลม่ ซงึ่ มีหนา้ ทที่ ีต่ ้องปฏิบตั ิ แบง่ เปน็ 4 ชว่ ง คอื ภาวะปกติ ก่อนเกดิ ภยั ขณะเกิดภยั และ หลงั เกิดภยั 24 การเตรยี มตัวและปฏบิ ัติตนเมือ่ เกิดดินโคลนถล่ม

ประเทศไทยได้รบั อทิ ธิพลลมมรสมุ 2 ทศิ คือ มรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ และมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ ซ่ึงมีผลต่อปริมาณฝนในประเทศ แต่ละภูมิภาคควร เตรียมการจดบันทกึ ปริมาณน�้ำ ฝนไว้ ดงั นี้ ภาค ช่วงเดือนเส่ยี งภัย ภาคเหนือ พฤษภาคม - กนั ยายน ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ สิงหาคม - ตุลาคม ภาคตะวนั ออก พฤษภาคม - ตลุ าคม ภาคใตฝ้ ง่ั ตะวันออก ตุลาคม - ธันวาคม ภาคใตฝ้ ่ังตะวันตก พฤษภาคม - ตุลาคม “ป้องกนั ภัยเชิงรกุ บรรเทาทกุ ขเ์ มื่อเกิดภยั ฟ้นื ฟูและกู้ภยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 25

เคร่อื งวดั ปรมิ าณน้ำ�ฝน การอ่านค่าปริมาณนำ้�ฝน ค่าระดับนำ้�ฝนที่วัดให้ อ่านจากสเกลตรงตำ�แหน่งผิวบนสุดของระดับน้ำ� ในกระบอกรองน้ำ�ฝน หนว่ ยท่วี ัดได้คอื มลิ ลเิ มตร 26 การเตรียมตัวและปฏิบัติตนเมอ่ื เกดิ ดินโคลนถลม่

ภาวะปกติมิสเตอร์เตือนภัย ตรวจกระบอกวัดนำ้�ฝน เวลา 07.00 น. หากมีน้ำ�ฝนค้างอยู่เม่ือบันทึกแล้ว ให้เทนำ้�ออกและจดบันทึกปริมาณน้ำ�ฝนไว้ในสมุด จดบนั ทกึ ปริมาณน้ำ�ฝนทกุ วนั (ทกุ 24 ชวั่ โมง) แจง้ ให้กำ�นนั ผู้ใหญบ่ า้ น และอบต.ทราบ “ปอ้ งกนั ภยั เชงิ รกุ บรรเทาทุกข์เมอื่ เกิดภัย ฟืน้ ฟูและกู้ภยั คอื หัวใจ กรม ปภ.” 27

ปริมาณน้ำ�ฝน ที่มสิ เตอรเ์ ตือนภัยควรเฝา้ ระวัง ถ้าสถานการณ์ในพื้นที่มีฝนตกหนักมาก มีการแจ้ง เตือนจากกรมอุตุนิยมวิทยา มิสเตอร์เตือนภัยควร จดบันทึกปริมาณนำ้�ฝนถ่ีทุกช่ัวโมงในตารางบันทึก (ภาวะเฝ้าระวัง) เพื่อเป็นข้อมูลสำ�หรับการตัดสินใจ การแจง้ เตอื นภยั ได้ และควรบนั ทกึ ระดบั น�ำ้ ในล�ำ ธาร ในหม่บู ้าน เพ่ือเปน็ ข้อมูลสถานการณน์ ำ�้ 28 การเตรียมตวั และปฏบิ ัตติ นเมอื่ เกดิ ดินโคลนถลม่

ปริมาณนำ้�ฝนท่ีมิสเตอร์เตือนภัยควรเฝ้าระวัง และแจ้ง ให้กำ�นันผู้ใหญ่บ้าน และอบต.ทราบด่วน เพื่อพิจารณา สถานการณ์ ในการแจง้ เตือนภัยนนั้ ควรสงั เกตดงั นี้ น�ำ้ ฝนมีปรมิ าณ การปฏิบตั ิ มากกว่า ใหผ้ ู้ใหญบ่ า้ นตดั สนิ ใจ 150 มม. ในการส่ังการอพยพ จดั เวรยามเฝ้าระวงั เหนือนำ้� 100 มม. แจ้ง อบต. ใหเ้ ฝา้ ระวงั และแจง้ หนว่ ยปฏิบัติการ ก้ชู ีพกู้ภัย 90 มม. เตรยี มพรอ้ มเผชญิ เหตุ 60 มม. แจ้งผูอ้ าศยั อยู่บรเิ วณริมแมน่ ำ้� เตรยี มตัวรบั สถานการณ์ นำ้�ปา่ ไหลหลากดินโคลนถลม่ ใหแ้ จง้ คณะกรรมการหม่บู ้านทราบ เพอ่ื เตอื นประชาชนล่วงหนา้ “ปอ้ งกนั ภัยเชิงรุก บรรเทาทกุ ข์เม่อื เกดิ ภยั ฟ้นื ฟูและก้ภู ยั คอื หัวใจ กรม ปภ.” 29

30 การเตรยี มตวั และปฏบิ ัติตนเมอ่ื เกดิ ดนิ โคลนถลม่

ขณะเกดิ ภัย เม่ือพบว่านำ้�ฝนมปี รมิ าณมาก ดินบางจดุ และนำ�้ ใน แมน่ ้ำ� ลำ�ธาร ล�ำ ห้วยขุน่ และไหลแรงมากกว่าปกติ หรอื ฝนตกมาหลายวนั ดนิ โคลนเรม่ิ หลน่ ลงมาจ�ำ นวน มากในบางแห่ง ซ่ึงเป็นสัญญาณให้เห็นว่าอาจเกิด น�ำ้ ทว่ มใหญห่ รอื ดนิ โคลนถลม่ ขนึ้ หรอื ไดร้ บั การแจง้ ให้อพยพจากทางราชการ ใหด้ ำ�เนนิ การดังน้ี “มสิ เตอรเ์ ตอื นภยั คนท่ี 1” ไปแจง้ ผใู้ หญบ่ า้ น หวั หนา้ คุ้ม หัวหน้าป๊อก และชาวบ้านให้ตัดสินใจในการ อพยพไปทป่ี ลอดภยั ในทันที “มสิ เตอรเ์ ตือนภัยคนที่ 2” แจ้งให้ประชาชนหนีภัย โดย หมุนไซเรน ตีกลอง ตเี กราะ เปา่ นกหวีดต่อๆ กนั ไปตามที่ตกลงกันไว้ในวิธีเตือนภัย เม่ืออพยพไปยังจุดรวมพลแล้ว มิสเตอร์เตือนภัย คนที่ 1 และคนที่ 2 เป็นผู้ช่วยกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้าป๊อก หัวหน้าคุ้ม และกรรมการหมู่บ้าน ในการตรวจนบั ผอู้ พยพ อำ�นวยความสะดวกระหว่าง การอพยพ รวมทง้ั การดูแลผูอ้ พยพในศนู ย์ฯ “ปอ้ งกนั ภัยเชงิ รุก บรรเทาทกุ ข์เมอื่ เกดิ ภัย ฟื้นฟแู ละกภู้ ยั คือหวั ใจ กรม ปภ.” 31

หลงั เกดิ ภัย ให้มิสเตอร์เตือนภัยช่วยเหลือกำ�นัน ผู้ใหญ่บ้าน อบต. และหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง ในการดำ�เนนิ การ ดงั นี้ ประสานผเู้ กย่ี วขอ้ งในการอพยพประชาชนกลบั ภมู ลิ �ำ เนา 32 การเตรยี มตวั และปฏิบัติตนเมือ่ เกดิ ดินโคลนถล่ม

ช่วยเหลอื ผู้บาดเจ็บทย่ี งั คงตกคา้ งอยสู่ ่งสถานพยาบาล ประสานหน่วยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ใหค้ วามชว่ ยเหลอื ดา้ นการ แพทย์และสาธารณสุข “ป้องกนั ภยั เชงิ รุก บรรเทาทุกข์เมอื่ เกิดภัย ฟน้ื ฟแู ละกู้ภัย คอื หัวใจ กรม ปภ.” 33

การประสานหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ ง ซอ่ มแซมสาธารณปู โภค ที่จำ�เป็นให้สามารถใช้ได้ตามปกติ เช่น สถานพยาบาล ถนน โรงเรยี น วดั สาธารณปู โภคดา้ นไฟฟา้ หรอื น�้ำ ประปา เปน็ ตน้ 34 การเตรียมตวั และปฏบิ ตั ิตนเมอื่ เกดิ ดนิ โคลนถลม่

หากประสบเหตุ ตดิ ตอ่ ขอรบั ความชว่ ยเหลือได้ท่ี สายด่วนนิรภัย 1784 และ ในเขตต่างจงั หวดั ตดิ ตอ่ ที่ สำ�นกั งานปอ้ งกนั และบรรเทาสาธารณภยั จังหวดั ทุกจงั หวัด หมายเลขโทรศพั ท์สำ�คญั แจง้ เหตุดว่ นเหตรุ ้าย 191 ศนู ย์เตอื นภยั พบิ ตั ิแห่งชาติ 192 ศูนย์ปฏบิ ัติการธรณพี ิบตั ภิ ัย 0-2621-9701 ถึง 5 “ป้องกันภัยเชงิ รุก บรรเทาทุกข์เมื่อเกดิ ภัย ฟ้ืนฟูและกภู้ ัย คือหวั ใจ กรม ปภ.” 35

“ปอ้ งกนั ภยั เชิงรกุ บรรเทาทกุ ขเ์ มื่อเกดิ ภยั ฟน้ื ฟูและกูภ้ ยั คอื หวั ใจ กรม ปภ.” กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กระทรวงมหาดไทย โwทwรw. .0d-i2sa6s3t7e-r3.g4o5.8th-6ส1าโยทดร่วสนานริร0ภ-ัย2214738-64622